SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
การแก้ปัญหาอย่างมีระบบจะมีการแก้ปัญหาอยู่4ขั้นตอนได้แก่
1.การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา เป็น
ขั้นตอนแรกก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหาซึ่งผู้แก้ปัญหามักจะไม่ให้
ความสาคัญ เพราะเป็นขั้นตอนที่ต้องใช้เวลา การวิเคราะห์นี้ถือ
ว่าเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด ก่อนที่จะมีการวางแผนอย่าง
ครอบคลุม
2.การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหา
เป็นขั้นตอนการนาข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์และการกาหนด
รายละเอียดเกี่ยวกับปัญหามาทาความเข้าใจ ขั้นตอนนี้
จาเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลัก
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีการในการ
แก้ปัญหามีขั้นตอนย่อยๆดังนี้
2.1การเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการ
แก้ปัญหาโดยพิจารณาความ
เหมาะสมระหว่างเครื่องมือกับ
เงื่อนไขต่างๆของปัญหา
2.2การออกแบบวิธีในการแก้ปัญหา
ผู้แก้ปัญหาควรใช้แผนภาพหรือ
เครื่องมือในการแสดงขั้นตอนการ
ทางานเพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจ
การใช้เครื่องมือเพื่อออกแบบวิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม
เช่น การใช้ผังงาน หรือรหัสจาลอง
3.การดาเนินการแก้ไขปัญหา เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้
เครื่องมือที่เลือกไว้โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปหรือการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์
เขียนโรมแกรมแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้ต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่
เลือกใช้ซึ่งผู้แก้ปัญหาต้องศึกษาให้เข้าใจและเชี่ยวชาญ ในขณะ
ดาเนินการก็จะมีการประเมินผลในระหว่างการดาเนินการด้วย
4.การตรวจสอบและปรับปรุงวิธีการ หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหา
แล้วผู้แก้ปัญหาจะต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการนี้ให้ผลลัพธ์ที่
ถูกต้องโดยตรวจสอบความสอดคล้องของขั้นตอนวิธีกับ
รายละเอียดของปัญหา
การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา เป็น
ขั้นตอนแรกสุดของการทางานสุดของการทางาน ซึ่งเป็นขั้นตอนที่
ไม่ควรมองข้ามไปอย่างเด็ดขาด
ในการวิเคราะห์งาน มีแนวทางหลายรูปแบบซึ่งมีขั้นตอน
และวิธีการที่คล้ายๆกัน โดยรูปแบบหนึ่งที่ผู้วิเคราะห์นิยมใช้
แก้ปัญหามี5ขั้นตอน
1.สิ่งที่ต้องการ เป็นการบอกเกี่ยวกับงานที่ต้องการใช้
คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผลและแสดงรูปแบบผลลัพธ์
ออกมาให้ผู้ใช้ในลักษณะใดต้องการให้การแสดงผลกี่รูปแบบ
ให้มีการแสดงผลทางหน้าจอภาพ และการแสดงผลออกมา
ทางเครื่องพิมพ์
2.รูปแบบผลลัพธ์ เป็นการวิเคราะห์ถึงการแสดงผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแสดงผลได้อย่างหลากหลาย
การวิเคราะห์รูปแบบผลลัพธ์เป็นการแสดงผลที่ต้องติดต่อสื่อ
ความหมายกับผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ ดังตัวอย่าง
3.ข้อมูลนาเข้า เมื่อผู้วิเคราะห์ได้ออกแบบของรายงาน ไม่ว่าจะเป็น
การแสดงผลทางจอแสดงผล การพิมพ์รายงานออกทางเครื่องพิมพ์
หรือการแสดงผลผ่านทางลาโพงต่างๆ เสร็จสิ้นแล้วสิ่งที่ต้อง
พิจารณาต่อก็คือ ข้อมูลที่ใช้ในการนาเข้า ว่าต้องการใช้ข้อมูลนาเข้า
อะไร
4.ตัวแปรที่ใช้ เป็นการแผนเพื่อกาหนดตัวแปรสาหรับใช้แทนข้อมูล
นาเข้าแต่ละตัวและการกาหนดตัวแปรเพื่อใช้เก็บข้อมูลที่เกิดจาก
การประมวลผลของข้อมูลนาเข้า
การตั้งชื่อตัวแปรที่ใช้เก็บข้อมูลต่างๆ มีหลักเกณฑ์การตั้ง
ชื่อดังนี้
4.1 ตัวแปรต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษหรือสัญลักษณ์ ”_”
Underscore ไม่ควรใช้ภาษาท้องถิ่นในการตั้งตัวแปร
4.2 ต้องคานึงถึงตัวอักษรพิมพ์ใหญ่และพิมพ์เล็ก ในซอฟต์แวร์ตัวแปล
ภาษาบางตัวจะไม่คานึงตัวอักษรพิมพ์เล็กหรือพิมพ์ใหญ่ โดยมองเห็นว่า
เป็นอักษรตัวเดียวกัน
4.3ชื่อของตัวแปรให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของตัวแปลภาษาที่ใช้ใน
การเขียนโปรแกรมไม่ซ้ากับคาสงวน
4.4 งดใช้เครื่องหมายต่อไปนี้ในการตั้งชื่อตัวแปร
!,@,#,$,%,^,&,*,(,),-,=,+, ถึงแม้ว่าตัวแปรภาษาบางตัวจะ
สามารถยอมรับได้ แต่การงดเว้นเครื่องหมายที่สงวนไว้ก็จะเกิดวินัยใน
การตั้งชื่อตัวแปร
4.5 ชื่อของตัวแปรควรสื่อความหมายของข้อมูลนาเข้า เช่น ตัวแปร
score ใช้แทนคะแนนนักเรียน ตัวแปร idใช้แทนเลขประจาตัวนักเรียน
การตั้งชื่อตัวแปรในการวางแผนแก้ปัญหา อาจตั้งชื่อโดยต้องคานึงถึง
หลักเกณฑ์ก็ได้ เพราะยังไม่ได้นาตัวแปรที่ตั้งชื่อนี้ไปใช้ประมวลผลใน
คอมพิวเตอร์
ชื่อตัวแปร ใช้เก็บข้อมูล
Sch ชื่อโรงเรียน
Subj_c รหัสวิชา
Subj_n ชื่อวิชา
tch ชื่อครู
semt ภาคเรียน
y ปีการศึกษา
Id_std เลขประจาตัว
ตาราง ตัวอย่างการตั้งชื่อตัวแปรสาหรับรายงานผลการเรียน
5 วิธีการประมวลผล เป็นการวิเคราะห์วิธีดาเนินการหลังจากได้สิ่งที่ต้องการ
รูปแบบข้อมูลนาเข้า จนถึงตัวแปรที่ใช้มาแล้ว ซึ่งขั้นตอนนี้จะวิเคราะห์ความ
เป็นไปได้ที่จะต้องให้ได้ผลลัพธ์ของการแก้ปัญหาตามต้องการ
5.1 วิธีการรับข้อมูลเพื่อประมวลผล อาจมีแนวทางในการ
ประมวลผลได้ 2 แนวทาง ดังนี้
แนวทางที่ 1 รับข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ทีละรายการ โดยเก็บค่ากาหนด
ไว้ทีละรายการ หลังจากนั้นก็ประมวลผลในรายการนั้นๆ จึงเริ่มต้นวนรับ
ค่ารายการในการประมวลที่ง่าย
แนวทางที่ 2ใช้วิธีการรับข้อมูลทั้งหมด โดยการป้อนข้อนามูลเข้าทุก
รายการของนักเรียนทุกคนใส่ในตัวแปรจนครบ เมื่อครบแล้วจึงทาการ
ประมวลผลเพียงครั้งเดียว วิธีการนี้จะมีการประมวลผลที่ซับซ้อน ใช้
ความจาค่อนข้างมาก
5.2 การทดสอบข้อมูลสุดท้าย จาเป็นต้องสร้างเหตุการณ์สาหรับกระตุ้น
ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ได้รับรู้ข้อมูลนาเข้านั้นสิ้นสุดแล้ว ให้เริ่มทาการ
ประมวลผลลัพธ์ โดยมีแนวทางดังนี้
1 การใช้ค่าของข้อมูลใดข้อมูลหนึ่งที่ไม่ใช่ค่าที่เป็นไปได้เพื่อกระตุ้นหรือสั่ง
การให้คอมพิวเตอร์เข้าสู่ขั้นตอนการประมวล เช่น การทางานแบบโครงสร้าง
การนาข้อมูล
2 การใช้วิธีการกาหนดตัวแปรเพิ่มอีกตัวหนึ่งเพื่อใช้สาหรับการนับเพิ่มค่า
เพื่อทดสอบข้อมูลสุดท้ายเช่นการสร้างตัวแปรรับข้อมูลนาเข้าที่และรายการ
เมื่อครบ 20 รายการก็ถึงว่าข้อมูลเข้ามาหมดแล้วเมื่อค่าตัวแปรมีค่าครบ
ตามจานวนที่กาหนดไว้ก็ถือว่าเสร็จสิ้นการนาเข้าข้อมูล ให้ทาการ
ประมวลผลต่อไปจนเสร็จสิ้น
เป็นขั้นตอนของการวางแผนในการแก้ปัญหาด้วยความ
รอบคอบและสมเหตุสมผลซึ่งเกิดจากการวิเคราะห์ปัญหาอย่างถ่องแท้
ทาความเข้าใจกับปัญหาโดยศึกษาข้อมูลและเงื่อนไขที่มีข้อมูลที่ได้ถูก
กาหนดไว้ให้ในสิ่งที่โจทย์ต้องการ
จึงควรจดบันทึกการแก้ปัญหาไว้ใน
รูปแบบของแผนผังหรือรหัสจาลอง
เพื่อกระตุ้นเตือนความเข้าใจในภายหลัง
เพื่อสื่อความหมายและวิธีการไปสู่บุคคล
อื่นที่พบปัญหาในลักษณะเดียวกันให้
สามารถเข้าใจตรงกัน
1ผังงานเป็นการอธิบายลาดับวิธีการทางานโดยใช้สัญลักษณ์
ที่มีรูปร่างต่างๆโดยมีความหมายตามที่ตกลงกันควบคู่ไปกับการกาหนด
ทิศทางด้วยเส้นที่มีลูกศรเพื่อแสดงการไหลของข้อมูลหรือลาดับการ
ทางานโดยมีตาแหน่งของวิธีการทางานเพียงตาแหน่งเดียวและตาแหน่ง
สิ้นสุดการทางานเพียงจุดเดียวเช่นกัน
ประเภทของผังงานจาแนกได้ 2
ประเภท
2 ผังงานโปรแกรมเรียกสั้นๆว่าผังงานผังงานประเภทนี้จะ
แสดงถึงขั้นตอนของคาสั่งที่ใช้ในโปรแกรมซึ่งอาจสร้างจากผังงาน
ระบบโดยผู้เขียนผังงานจะดึงเอาแต่ละจุดที่เกี่ยวข้องกับการทางาน
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏในผังงานระบบไม้เขียนเพื่อให้ทราบ
ว่าถ้าจะใช้คอมพิวเตอร์ทางานในจุดนั้นและได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ
ควรที่จะมีขั้นตอนคาสั่งอย่างไรจึงจะนามาเขียนโปรแกรมใน
คอมพิวเตอร์ทางานต่อไป
1 ถังงานระบบเป็นผังงานที่แสดงถึงขอบเขตขั้นตอนการทางาน
ภายในระบบหนึ่งๆ โดยรวมซึ่งจะแสดงถึงความเกี่ยวข้องของส่วนที่สาคัญ
ต่างๆการนาข้อมูลเข้าวิธีการประมวลผลและการแสดงผลลัพธ์ว่ามาจากที่ใด
อย่างกว้างกว้างโดยไม่บอกรายละเอียดของการปฏิบัติมากนัก
ประโยชน์และข้อจากัดของผังงาน
ประโยชน์ของผังงาน
สามารถเรียนรู้และสื่อความหมายเข้าใจผังงานได้ง่ายเพราะผังงาน
ไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งโดยเฉพาะ
ผังงานเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพทาให้ง่ายและสะดวกต่อการ
พิจารณาถึงลาดับขั้นตอนในการทางานซึ่งสามารถเข้าใจได้ชัดเจนเข้าใจ
รวดเร็วกว่าบรรยายด้วยข้อความการใช้ข้อความหรือคาพูดอาจจะสื่อ
ความหมายผิดไปได้
ในงานโปรแกรมที่ไม่สลับซับซ้อนสามารถใช้พลังงานทดสอบความ
ถูกต้องของลาดับขั้นตอนได้ง่ายถ้ามีที่ผิดในโปรแกรมจะแก้ไขได้สะดวกและ
รวดเร็วขึ้น
การบารุงรักษาโปรแกรมและการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแก้ไข
โปรแกรมให้มีประสิทธิภาพโดยพิจารณาจากผังงานจะช่วยให้สามารถทบทวน
งานในโปรแกรมก็ปรับปรุงได้ง่ายขึ้น
ข้อจากัดของผังงาน
ผังงานเป็นการสื่อความหมายระหว่างบุคคลต่อบุคคล
มากกว่าที่จะสื่อความหมายระหว่างบุคคลกับเครื่องพลังงานไม่ขึ้นอยู่
กับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งทาให้การประยุกต์และ
ทางานเขียนโปรแกรมต้องปรับเปลี่ยนจากงานเพิ่มขึ้นเพื่อให้สามารถ
สื่อสารให้เข้าใจว่าผังงานนั้นต้องการให้ทาอะไร
บางครั้งเมื่อพิจารณาจากฝั่งงานจะไม่สามารถทราบได้ว่า
ขั้นตอนการทางานใดสาคัญกว่ากันเพราะทุกๆขั้นตอนจะ ใช้รูปภาพ
หรือสัญลักษณ์ในลักษณะเดียวกันและมีขนาดที่เท่ากันหรือแม้จะมี
ขนาดรูปภาพที่ใหญ่กว่ามีข้อความหรือจานวนบรรทัดในการบรรยาย
มากกว่าก็ไม่ได้สื่อความหมายว่าสาคัญกว่าแต่อย่างใด
ในภาษาคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นใช้กันในปัจจุบันผังงานไม่
สามารถแทนสัญลักษณ์คาสั่งของภาษาคอมพิวเตอร์บางโปรแกรมได้
เนื่องจากสัญลักษณ์ผังงานนั้นถูกออกแบบและกาหนดความหมาย
มานานก่อน ที่ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบันจะพัฒนา
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
หลักการจัดสัญลักษณ์และทิศทางของผังงาน
1 ผังงานต้องชัดเจนและดูง่าย
2 ต้องมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดเพียงจุดเดียวเท่านั้น
3 ของการทางานต้องมีทิศทางจากด้านบนลงสู่ด้านล่างหรือจากด้านซ้ายไปยัง
ขวาเท่านั้น
4 สัญลักษณ์ที่ต้องการมีการทดสอบในเชิงตรรกะต้องมีคาตอบที่ถูกต้องที่
สามารถทาให้โปรแกรมดาเนินต่อไปได้
5 ลูกศรแต่ละเส้นที่บ่งบอกทิศทางต้องไม่ติดหรือ ทับเส้นทางกัน
6 ผังงานที่มีขั้นตอนการคานวณประมวลผลควรให้อยู่หน้าเดียวกันจนจบการ
คานวณดังนั้นหากหลีกเลี่ยงไม่ได้เพราะผังงานมีความซับซ้อนมากหรือมีขั้นตอน
การทางานที่อยู่ในตาแหน่งที่ห่างกันมากควรใช้สัญลักษณ์เพื่อเชื่อมโยงให้เข้าใจ
ได้ง่ายขึ้น
7 คาอธิบายในกรอบภาพควรเขียนเชิงสัญลักษณ์ที่สั้นและเข้าใจง่าย
8ผังงานที่ดีควรใช้เป็นระเบียบสะอาดและเขียนเลขกากับที่ผู้เขียนวันที่เขียนเพื่อ
จะไม่ขับฝนหากเกิดการสลับหน้าของผังงานแบบการปรับปรุงผังงานในภายภาค
หน้า
2แผนภาพการออกแบบโครงสร้าง
เนื่องจากผังงานนั้นเป็นการถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหา
โดย ใช้สารสนเทศที่มีมานานแล้วจึงทาให้สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผัง
งานและรูปแบบของผังงานไม่สามารถสนองตอบต่อขั้นตอนของการ
แก้ปัญหาด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาในปัจจุบัน เพื่อให้การสื่อสาร
ถ่ายทอดความคิดขั้นตอนการแก้ปัญหานั้นเข้ากันได้กับ
ภาษาคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จึงมีการพัฒนาแผนภาพใหม่ซึ่งแผ่นภาพ
แบบนี้เรียกว่า ดีเอสดี (DSD:Design structure Diagram)
สัญลักษณ์ภายใต้ dsd เจ้าคล้ายคลึงกับผังงานแต่จะมีการ
เพิ่มเติมและแสดงให้เหมาะสมกับภาษาคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันให้มากขึ้น
3 รหัสจาลองและพีดีแอล (PDL)
รหัสจาลอง(pseudocode) และพีดีแอล(program Design
language) เป็นการอธิบายขั้นตอนการทางานของโปรแกรมที่ได้
วิเคราะห์และออกแบบมาแล้วโดยใช้ถ้อยคาบรรยายที่เป็นภาษา
ท้องถิ่นคือสามารถใช้ได้ทั้ง ภาษาไทย ภาษาอังกฤษทโดยที่ซูโดโค้ด
และพีดีแอล จะมีลักษณะที่คล้ายกับผังงานคือการอธิบายที่จะไม่
ขึ้นอยู่กับโปรแกรมภาษาใดภาษาหนึ่งผู้ที่อ่านสามารถนาซูโดโค้ดและ
พีดีแอล ไปใช้สาหรับเขียนโปรแกรมได้จริง โดยใช้ตัวแปลภาษาชี
ภาษาเบสิกภาษาจาวา ก็ได้ทั้งสิ้น
การอธิบายซูโดโค้ดและพีดีแอลจะต้องใช้ภาษาที่สามารถ
สื่อสารเข้าใจได้ง่ายและสั้นกะทัดรัดสื่อความหมายได้ทันทีและที่อ่าน
โดยซูโดโค้ดและพีดีแอล มีการใช้งานเพื่อสื่อสารแบบกว้างๆ แบบผัง
งานระบบและการใช้งานเพื่ออธิบายแบบละเอียดเหมือนกับผังงาน
โปรแกรม

More Related Content

What's hot

Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solutionaumaiaiai
 
หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศKitti Santiparaphop
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศGokudera Gokutsu
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศเอ็ม พุฒิพงษ์
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศThitikorn Prakrongyad
 
กระบวนการสารสนเทศ5.2
กระบวนการสารสนเทศ5.2กระบวนการสารสนเทศ5.2
กระบวนการสารสนเทศ5.2Pim Untika
 
การแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศPhen Ngamsawatkun
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์prang00
 

What's hot (12)

Week2-1
Week2-1Week2-1
Week2-1
 
Week2-1
Week2-1Week2-1
Week2-1
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กระบวนการสารสนเทศ5.2
กระบวนการสารสนเทศ5.2กระบวนการสารสนเทศ5.2
กระบวนการสารสนเทศ5.2
 
การแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

ชุดการเรียนรู้ชุดที่6
ชุดการเรียนรู้ชุดที่6ชุดการเรียนรู้ชุดที่6
ชุดการเรียนรู้ชุดที่6sopa sangsuy
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศParn Nichakorn
 
006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)
006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)
006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)sopa sangsuy
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่5
ชุดการเรียนรู้ชุดที่5ชุดการเรียนรู้ชุดที่5
ชุดการเรียนรู้ชุดที่5sopa sangsuy
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3(1)
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3(1)003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3(1)
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3(1)sopa sangsuy
 
กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1patchu0625
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)sopa sangsuy
 
004ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4(1)
004ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4(1)004ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4(1)
004ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4(1)sopa sangsuy
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4sopa sangsuy
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 1
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 1ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 1
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 1sopa sangsuy
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่7
ชุดการเรียนรู้ชุดที่7ชุดการเรียนรู้ชุดที่7
ชุดการเรียนรู้ชุดที่7sopa sangsuy
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี lukhamhan school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีlukhamhan school
 
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2Por Oraya
 
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยีสาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยีJintana Thipun
 

Viewers also liked (15)

ชุดการเรียนรู้ชุดที่6
ชุดการเรียนรู้ชุดที่6ชุดการเรียนรู้ชุดที่6
ชุดการเรียนรู้ชุดที่6
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)
006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)
006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่5
ชุดการเรียนรู้ชุดที่5ชุดการเรียนรู้ชุดที่5
ชุดการเรียนรู้ชุดที่5
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3(1)
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3(1)003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3(1)
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3(1)
 
กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
 
004ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4(1)
004ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4(1)004ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4(1)
004ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4(1)
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 1
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 1ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 1
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 1
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่7
ชุดการเรียนรู้ชุดที่7ชุดการเรียนรู้ชุดที่7
ชุดการเรียนรู้ชุดที่7
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยีหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยีสาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
 

Similar to การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศbenz18
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศKantida SilverSoul
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศLatcha MaMiew
 
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6yosawat1089
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศณัฐพล บัวพันธ์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2Ja Phenpitcha
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมJa Phenpitcha
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ Hiz Hi
 
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานDuangsuwun Lasadang
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจBmBam Bm
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศPim Untika
 
กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2
กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2
กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2Pim Untika
 
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์Tcnk Pond
 

Similar to การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Lesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-programLesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-program
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1
 
4
44
4
 
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2
กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2
กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2
 
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 

การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ