SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน หลักการทรงงาน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นายตนุภัทร ธงนาราษฎร์ เลขที่ 7 ชั้น ม.6 ห้อง 14
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
2
สมาชิกในกลุ่ม 1
1 นายตนุภัทร ธงนาราษฎร์ เลขที่ 7
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) หลักการทรงงาน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) organization applies to the principles of King Bhumibol
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภททฤษฎี
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายตนุภัทร ธงนาราษฎร์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและท่านทรงดูแลผู้คนในประเทศเป็นอย่างดีมาตลอดซึ่งมี
พระองค์ท่านหนึ่งที่ได้คิดหลักการในการทางานและการใช้ชีวิตให้กับประเทศไทยซึ่งได้ผลอย่างชัดเจนนั้นก็คือหลักการ
ทรงงาน 23 ประการ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ซึ่งเป็นหลักการที่พระองค์ท่าน
ทรงใช้และทรงปฏิบัติอยู่เป็นประจาในการทรงงาน โดยเฉพาะในการดาเนินการโครงการในพระราชดาริต่าง ๆ ของ
พระองค์ ผู้เขียนจะขอน้อมนามาเขียนเพื่อเป็นแนวทางให้ท่านทั้งหลายนาวิธีการนี้ไประยุกต์ใช้การบริหารงานให้
ประสบความสาเร็จ หลักการทรงงานทั้ง 23 ประการขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 นั้นถือได้ว่า
เป็นสิ่งที่มีคุณค่า เป็นแนวทางที่ท่านทั้งหลายสามารถนาไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับงานหรือธุรกิจของท่านเองเพื่อสร้าง
ความสาเร็จขององค์กร ซึ่งจะส่งผลให้ประเทศเจริญเติบโตมั่งคั่งสืบไปด้วยเหตุนี้ หลักการทรงงานของในหลวงรัชกาล
ที่ 9 จึงถือเป็นหลักการที่องค์กรต่าง ๆ นามาประยุกต์ใช้กับการบริหารองค์กร และบริหารทรัพยากรบุคคล อันเป็น
การเดินตามรอยเบื้องพระยุคลบาทที่นาหลักการทรงงานของพระองค์ไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อดูว่านาหลักการไปใช้ในชีวิตจริงจะเป็นอย่างไร
2.เพื่อเกิดการเรียนรู้ต่อทฤษฎี23หลักการทรงงานอย่างเข้าใจ
3.เพื่อนาหลักการทรงงานไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับชีวิตให้มากที่สุด
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
การนาหลักการทรงงานที่สามารถทาได้ในชีวิตประจาวันดูว่าคนในสังคมได้มีการนามาใช้กันหรือไม่เป็นอย่างไร
เริ่มจากแหล่งใกล้ตัว เช่น บุคคลในโรงเรียน บุคคลในครอบครัว เป็นต้น
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การนาองค์ความรู้จากสิ่งที่คิดว่าไม่ดีมาปรับใช้ให้เข้ากับสิ่งที่ดีเพื่อให้ได้ผลประโยชน์ในการทางานได้มากที่สุด
รวมถึงการใช้ชีวิตประจาวันตามหลักการทั้ง23ข้อ ของรัชกาลที่9 ดังนี้ 1. จะทาอะไรต้องศึกษาข้อมูลให้เป็นระบบทรง
ศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบจากข้อมูลเบื้องต้น ทั้งเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าที่ นักวิชาการและ
3
ราษฎรในพื้นที่ให้ได้รายละเอียดที่ถูกต้อง เพื่อนาข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ได้จริงอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และตรง
ตามเป้าหมาย
2. ระเบิดจากภายในจะทาการใดๆ ต้องเริ่มจากคนที่เกี่ยวข้องเสียก่อน ต้องสร้างความเข้มแข็งจากภายในให้เกิดความ
เข้าใจและอยากทา ไม่ใช่การสั่งให้ทา คนไม่เข้าใจก็อาจจะไม่ทาก็เป็นได้ ในการทางานนั้นอาจจะต้องคุยหรือประชุม
กับลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน หรือคนในทีมเสียก่อน เพื่อให้ทราบถึงเป้าหมายและวิธีการต่อไป
3. แก้ปัญหาจากจุดเล็กควรมองปัญหาภาพรวมก่อนเสมอ แต่เมื่อจะลงมือแก้ปัญหานั้น ควรมองในสิ่งที่คนมักจะ
มองข้าม แล้วเริ่มแก้ปัญหาจากจุดเล็กๆ เสียก่อน เมื่อสาเร็จแล้วจึงค่อยๆ ขยับขยายแก้ไปเรื่อยๆ ทีละจุด เราสามารถ
เอามาประยุกต์ใช้กับการทางานได้ โดยมองไปที่เป้าหมายใหญ่ของงานแต่ละชิ้น แล้วเริ่มลงมือทาจากจุดเล็กๆ ก่อน
ค่อยๆ ทา ค่อยๆ แก้ไปทีละจุด งานแต่ละชิ้นก็จะลุลวงไปได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ “ถ้าปวดหัวคิดอะไรไม่ออก ก็ต้อง
แก้ไขการปวดหัวนี้ก่อน มันไม่ได้แก้อาการจริง แต่ต้องแก้ปัญหาที่ทาให้เราปวดหัวให้ได้เสียก่อน เพื่อจะให้อยู่ในสภาพ
ที่ดีได้…”
4. ทาตามลาดับขั้นเริ่มต้นจากการลงมือทาในสิ่งที่จาเป็นก่อน เมื่อสาเร็จแล้วก็เริ่มลงมือสิ่งที่จาเป็นลาดับต่อไป ด้วย
ความรอบคอบและระมัดระวัง ถ้าทาตามหลักนี้ได้ งานทุกสิ่งก็จะสาเร็จได้โดยง่าย… ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงเริ่มต้น
จากสิ่งที่จาเป็นที่สุดของประชาชนเสียก่อน ได้แก่ สุขภาพสาธารณสุข จากนั้นจึงเป็นเรื่องสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน
และสิ่งจาเป็นในการประกอบอาชีพ อาทิ ถนน แหล่งน้าเพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภค เน้นการปรับใช้ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นที่ราษฎรสามารถนาไปปฏิบัติได้ และเกิดประโยชน์สูงสุด “การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น ต้อง
สร้างพื้นฐาน คือความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด
แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานที่มั่นคงพร้อมพอสมควร สามารถปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริมความเจริญและ
ฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป…” พระบรมราโชวาทของในหลวงรัชกาลที่ 9 เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2517
5. ภูมิสังคม ภูมิศาสตร์ สังคมศาสตร์การพัฒนาใดๆ ต้องคานึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นว่าเป็นอย่างไร และ
สังคมวิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกัน “การ
พัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ ในสังคมวิทยา คือนิสัยใจคอของ
คนเรา จะไปบังคับให้คนอื่นคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะนา เข้าไปดูว่าเขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบายให้เขา
เข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง”
6. ทางานแบบองค์รวมใช้วิธีคิดเพื่อการทางาน โดยวิธีคิดอย่างองค์รวม คือการมองสิ่งต่างๆ ที่เกิดอย่างเป็นระบบครบ
วงจร ทุกสิ่งทุกอย่างมีมิติเชื่อมต่อกัน มองสิ่งที่เกิดขึ้นและแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยง
7. ไม่ติดตาราเมื่อเราจะทาการใดนั้น ควรทางานอย่างยืดหยุ่นกับสภาพและสถานการณ์นั้นๆ ไม่ใช่การยึดติดอยู่กับแค่
ในตาราวิชาการ เพราะบางที่ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด บางครั้งเรายึดติดทฤษฎีมากจนเกินไปจนทาอะไรไม่ได้เลย
สิ่งที่เราทาบางครั้งต้องโอบอ้อมต่อสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม สังคม และจิตวิทยาด้วย
8. รู้จักประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุดในการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎร ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงใช้หลักใน
การแก้ปัญหาด้วยความเรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถทาได้เอง หาได้ในท้องถิ่นและประยุกต์ใช้สิ่งที่มีอยู่ใน
ภูมิภาคนั้นมาแก้ไข ปรับปรุง โดยไม่ต้องลงทุนสูงหรือใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากมากนัก ดังพระราชดารัสตอนหนึ่งว่า “…
ให้ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูกโดยปล่อยให้ขึ้นเองตามธรรมชาติจะได้ประหยัดงบประมาณ…”
4
9. ทาให้ง่ายทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงาน การพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดาริไปได้โดยง่าย ไม่
ยุ่งยากซับซ้อนและที่สาคัญอย่างยิ่งคือ สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนและระบบนิเวศโดยรวม “ทาให้
ง่าย”
10. การมีส่วนร่วมทรงเป็นนักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับได้มาร่วม
แสดงความคิดเห็น “สาคัญที่สุดจะต้องหัดทาใจให้กว้างขวาง หนักแน่น รู้จักรับฟังความคิดเห็น แม้กระทั่งความ
วิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่นอย่างฉลาดนั้น แท้จริงคือ การระดมสติปัญญาละประสบการณ์อันหลากหลายมาอานวยการ
ปฏิบัติบริหารงานให้ประสบผลสาเร็จที่สมบูรณ์นั่นเอง”
11. ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวมในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงระลึกถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสาคัญ ดังพระราชดารัสตอน
หนึ่งว่า “…ใครต่อใครบอกว่า ขอให้เสียสละส่วนตัวเพื่อส่วนรวม อันนี้ฟังจนเบื่อ อาจราคาญด้วยซ้าว่า ใครต่อใครมาก็
บอกว่าขอให้คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม อาจมานึกในใจว่า ให้ๆ อยู่เรื่อยแล้วส่วนตัวจะได้อะไร ขอให้คิดว่าคนที่ให้เป็น
เพื่อส่วนรวมนั้น มิได้ให้ส่วนรวมแต่อย่างเดียว เป็นการให้เพื่อตัวเองสามารถที่จะมีส่วนรวมที่จะอาศัยได้…”
12. บริการที่จุดเดียวทรงมีพระราชดาริมากว่า 20 ปีแล้ว ให้บริหารศูนย์ศึกษาการพัฒนาหลายแห่งทั่วประเทศโดยใช้
หลักการ “การบริการรวมที่จุดเดียว : One Stop Service” โดยทรงเน้นเรื่องรู้รักสามัคคีและการร่วมมือร่วมแรงร่วม
ใจกันด้วยการปรับลดช่องว่างระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
13. ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและต้องการให้
ประชาชนใกล้ชิดกับทรัพยากรธรรมชาติ ทรงมองปัญหาธรรมชาติอย่างละเอียด โดยหากเราต้องการแก้ไขธรรมชาติ
จะต้องใช้ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือเราด้วย
14. ใช้อธรรมปราบอธรรมทรงนาความจริงในเรื่องธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาเป็นหลักการแนวทาง
ปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงสภาวะที่ไม่ปกติเข้าสู่ระบบที่ปกติ เช่น การบาบัดน้าเน่าเสียโดยให้ผักตบชวา
ซึ่งมีตามธรรมชาติให้ดูดซึมสิ่งสกปรกปนเปื้อนในน้า
15. ปลูกป่าในใจคนการจะทาการใดสาเร็จต้องปลูกจิตสานึกของคนเสียก่อน ต้องให้เห็นคุณค่า เห็นประโยชน์กับสิ่งที่
จะทา…. “เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านั้นก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดิน
และจะรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง”
16. ขาดทุนคือกาไรหลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่มีต่อพสกนิกรไทย “การให้” และ “การ
เสียสละ” เป็นการกระทาอันมีผลเป็นกาไร คือความอยู่ดีมีสุขของราษฎร
17. การพึ่งพาตนเองการพัฒนาตามแนวพระราชดาริ เพื่อการแก้ไขปัญหาในเบื้องต้นด้วยการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
เพื่อให้มีความแข็งแรงพอที่จะดารงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไปก็คือ การพัฒนาให้ประชาชนสามารถอยู่ในสังคมได้ตาม
สภาพแวดล้อมและสามารถ พึ่งตนเองได้ในที่สุด
18. พออยู่พอกินให้ประชาชนสามารถอยู่อย่าง “พออยู่พอกิน” ให้ได้เสียก่อน แล้วจึงค่อยขยับขยายให้มีขีดสมรรถนะ
ที่ก้าวหน้าต่อไป
5
19. เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 พระราชทานพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิต ให้
ดาเนินไปบน “ทางสายกลาง” เพื่อให้รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์
และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ซึ่งปรัชญานี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งระดับบุคคล องค์กร และชุมชน
20. ความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกันผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อย ก็ย่อมทาประโยชน์ให้แก่
ส่วนรวมได้มากกว่าผู้ที่มีความรู้มาก แต่ไม่มีความสุจริต ไม่มีความบริสุทธิ์ใจ
21. ทางานอย่างมีความสุขทางานต้องมีความสุขด้วย ถ้าเราทาอย่างไม่มีความสุขเราจะแพ้ แต่ถ้าเรามีความสุขเราจะ
ชนะ สนุกกับการทางานเพียงเท่านั้น ถือว่าเราชนะแล้ว หรือจะทางานโดยคานึงถึงความสุขที่เกิดจากการได้ทา
ประโยชน์ให้กับผู้อื่นก็สามารถทาได้ “…ทางานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ นอกจากการมีความสุขร่วมกัน ในการทา
ประโยชน์ให้กับผู้อื่น…”
22. ความเพียรการเริ่มต้นทางานหรือทาสิ่งใดนั้นอาจจะไม่ได้มีความพร้อม ต้องอาศัยความอดทนและความมุ่งมั่น
ดังเช่นพระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” กษัตริย์ผู้เพียรพยายามแม้จะไม่เห็นฝั่งก็จะว่ายน้าต่อไป เพราะถ้าไม่เพียรว่าย
ก็จะตกเป็นอาหารปู ปลาและไม่ได้พบกับเทวดาที่ช่วยเหลือมิให้จมน้า
23. รู้ รัก สามัคคีรู้ คือ รู้ปัญหาและรู้วิธีแก้ปัญหานั้น
รัก คือ เมื่อเรารู้ถึงปัญหาและวิธีแก้แล้ว เราต้องมีความรัก ที่จะลงมือทา ลงมือแก้ไขปัญหานั้น
สามัคคี คือ การแก้ไขปัญหาต่างๆ ไม่สามารถลงมือทาคนเดียวได้ ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจกัน
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเทอร์เน็ต
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
-ไม่ได้ใช้งบประมาณ
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
เพื่อให้เห็นว่าหลักการทรงงานของรัชกาลที่9 ยังสามารถใช้ได้จริงในชีวิต สังคมและส่งผลดีในประเทศ นาการ
ประยุกต์ของสิ่งที่คิดว่าไม่ดีมาช่วยทาให้เกิดประโยชน์มากที่สุดอย่างถูกต้อง
สถานที่ดาเนินการ
-โรงเรียนยุพราช
-ชุมชนเทศบาลในละแวกบ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://www.ops.moe.go.th/ops2017/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E
0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89/1863-23-
%E0%B8%AB%E0%B8%A5
http://www.rdpb.go.th/th/King/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B
8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0
%B8%B2%E0%B8%99-c24
https://www.prachachat.net/rama9royalfuneral/news-60274
https://www.bedo.or.th/bedo/new-content.php?id=1274
7
http://www.thaismescenter.com/15-
%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%
88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B
8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0
https://www.cri.or.th/en/20100830_th.php

More Related Content

What's hot

การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาkroobannakakok
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)Kritsanapong Manoreaung
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101atthaniyamai2519
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสPreeyaporn Wannamanee
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียงแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียงSurachai Chobseang
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดrisa021040
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นKritsadin Khemtong
 
แนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษา
แนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษาแนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษา
แนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
รูปแบบการจัดทำโครงงาน
รูปแบบการจัดทำโครงงานรูปแบบการจัดทำโครงงาน
รูปแบบการจัดทำโครงงานtassanee chaicharoen
 

What's hot (20)

หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียงแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
 
2557 project 02-30
2557 project  02-302557 project  02-30
2557 project 02-30
 
หน่วยที่๓
หน่วยที่๓หน่วยที่๓
หน่วยที่๓
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่น
 
แนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษา
แนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษาแนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษา
แนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษา
 
รูปแบบการจัดทำโครงงาน
รูปแบบการจัดทำโครงงานรูปแบบการจัดทำโครงงาน
รูปแบบการจัดทำโครงงาน
 

Similar to 2562 final-project 7

แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานChotipong Ekasain
 
Nuttida 23 2561 project 607
Nuttida 23 2561 project 607 Nuttida 23 2561 project 607
Nuttida 23 2561 project 607 nuttida-607-23
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมRungtiwaWongchai
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8fauunutcha
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sasitorn Rodboonrung
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานKasichaphat Sae-tuan
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานKittinan42
 
2562 final project-32
2562 final project-322562 final project-32
2562 final project-32ssuser015151
 
Nuttida 23 2561 project 607
Nuttida 23 2561 project 607 Nuttida 23 2561 project 607
Nuttida 23 2561 project 607 nuttida-607-23
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kansiri Sai-ud
 
2562 final-project-32
2562 final-project-322562 final-project-32
2562 final-project-32ssuser015151
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานNapatcha Jeno
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมMark Siwadol
 

Similar to 2562 final-project 7 (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Nuttida 23 2561 project 607
Nuttida 23 2561 project 607 Nuttida 23 2561 project 607
Nuttida 23 2561 project 607
 
อิ๋ม
อิ๋มอิ๋ม
อิ๋ม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
 
Com
ComCom
Com
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 06
2562 final-project 062562 final-project 06
2562 final-project 06
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
2562 final project-32
2562 final project-322562 final project-32
2562 final project-32
 
Nuttida 23 2561 project 607
Nuttida 23 2561 project 607 Nuttida 23 2561 project 607
Nuttida 23 2561 project 607
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project-32
2562 final-project-322562 final-project-32
2562 final-project-32
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 

More from mrpainaty

2562 final-project (32)
2562 final-project  (32)2562 final-project  (32)
2562 final-project (32)mrpainaty
 
2562 final-project 123 win
2562 final-project 123 win2562 final-project 123 win
2562 final-project 123 winmrpainaty
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project mrpainaty
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7mrpainaty
 
2562 final-pai2
2562 final-pai22562 final-pai2
2562 final-pai2mrpainaty
 
2562 final-project 2562 5
2562 final-project 2562 52562 final-project 2562 5
2562 final-project 2562 5mrpainaty
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1mrpainaty
 
2562 final-project 29
2562 final-project 292562 final-project 29
2562 final-project 29mrpainaty
 
2562 final-pai
2562 final-pai2562 final-pai
2562 final-paimrpainaty
 

More from mrpainaty (10)

2562 final-project (32)
2562 final-project  (32)2562 final-project  (32)
2562 final-project (32)
 
2562 final-project 123 win
2562 final-project 123 win2562 final-project 123 win
2562 final-project 123 win
 
Work1 dream
Work1 dreamWork1 dream
Work1 dream
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7
 
2562 final-pai2
2562 final-pai22562 final-pai2
2562 final-pai2
 
2562 final-project 2562 5
2562 final-project 2562 52562 final-project 2562 5
2562 final-project 2562 5
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1
 
2562 final-project 29
2562 final-project 292562 final-project 29
2562 final-project 29
 
2562 final-pai
2562 final-pai2562 final-pai
2562 final-pai
 

2562 final-project 7

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน หลักการทรงงาน ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นายตนุภัทร ธงนาราษฎร์ เลขที่ 7 ชั้น ม.6 ห้อง 14 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. 2 สมาชิกในกลุ่ม 1 1 นายตนุภัทร ธงนาราษฎร์ เลขที่ 7 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) หลักการทรงงาน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) organization applies to the principles of King Bhumibol ประเภทโครงงาน โครงงานประเภททฤษฎี ชื่อผู้ทาโครงงาน นายตนุภัทร ธงนาราษฎร์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและท่านทรงดูแลผู้คนในประเทศเป็นอย่างดีมาตลอดซึ่งมี พระองค์ท่านหนึ่งที่ได้คิดหลักการในการทางานและการใช้ชีวิตให้กับประเทศไทยซึ่งได้ผลอย่างชัดเจนนั้นก็คือหลักการ ทรงงาน 23 ประการ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ซึ่งเป็นหลักการที่พระองค์ท่าน ทรงใช้และทรงปฏิบัติอยู่เป็นประจาในการทรงงาน โดยเฉพาะในการดาเนินการโครงการในพระราชดาริต่าง ๆ ของ พระองค์ ผู้เขียนจะขอน้อมนามาเขียนเพื่อเป็นแนวทางให้ท่านทั้งหลายนาวิธีการนี้ไประยุกต์ใช้การบริหารงานให้ ประสบความสาเร็จ หลักการทรงงานทั้ง 23 ประการขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 นั้นถือได้ว่า เป็นสิ่งที่มีคุณค่า เป็นแนวทางที่ท่านทั้งหลายสามารถนาไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับงานหรือธุรกิจของท่านเองเพื่อสร้าง ความสาเร็จขององค์กร ซึ่งจะส่งผลให้ประเทศเจริญเติบโตมั่งคั่งสืบไปด้วยเหตุนี้ หลักการทรงงานของในหลวงรัชกาล ที่ 9 จึงถือเป็นหลักการที่องค์กรต่าง ๆ นามาประยุกต์ใช้กับการบริหารองค์กร และบริหารทรัพยากรบุคคล อันเป็น การเดินตามรอยเบื้องพระยุคลบาทที่นาหลักการทรงงานของพระองค์ไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อดูว่านาหลักการไปใช้ในชีวิตจริงจะเป็นอย่างไร 2.เพื่อเกิดการเรียนรู้ต่อทฤษฎี23หลักการทรงงานอย่างเข้าใจ 3.เพื่อนาหลักการทรงงานไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับชีวิตให้มากที่สุด ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) การนาหลักการทรงงานที่สามารถทาได้ในชีวิตประจาวันดูว่าคนในสังคมได้มีการนามาใช้กันหรือไม่เป็นอย่างไร เริ่มจากแหล่งใกล้ตัว เช่น บุคคลในโรงเรียน บุคคลในครอบครัว เป็นต้น หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การนาองค์ความรู้จากสิ่งที่คิดว่าไม่ดีมาปรับใช้ให้เข้ากับสิ่งที่ดีเพื่อให้ได้ผลประโยชน์ในการทางานได้มากที่สุด รวมถึงการใช้ชีวิตประจาวันตามหลักการทั้ง23ข้อ ของรัชกาลที่9 ดังนี้ 1. จะทาอะไรต้องศึกษาข้อมูลให้เป็นระบบทรง ศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบจากข้อมูลเบื้องต้น ทั้งเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าที่ นักวิชาการและ
  • 3. 3 ราษฎรในพื้นที่ให้ได้รายละเอียดที่ถูกต้อง เพื่อนาข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ได้จริงอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และตรง ตามเป้าหมาย 2. ระเบิดจากภายในจะทาการใดๆ ต้องเริ่มจากคนที่เกี่ยวข้องเสียก่อน ต้องสร้างความเข้มแข็งจากภายในให้เกิดความ เข้าใจและอยากทา ไม่ใช่การสั่งให้ทา คนไม่เข้าใจก็อาจจะไม่ทาก็เป็นได้ ในการทางานนั้นอาจจะต้องคุยหรือประชุม กับลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน หรือคนในทีมเสียก่อน เพื่อให้ทราบถึงเป้าหมายและวิธีการต่อไป 3. แก้ปัญหาจากจุดเล็กควรมองปัญหาภาพรวมก่อนเสมอ แต่เมื่อจะลงมือแก้ปัญหานั้น ควรมองในสิ่งที่คนมักจะ มองข้าม แล้วเริ่มแก้ปัญหาจากจุดเล็กๆ เสียก่อน เมื่อสาเร็จแล้วจึงค่อยๆ ขยับขยายแก้ไปเรื่อยๆ ทีละจุด เราสามารถ เอามาประยุกต์ใช้กับการทางานได้ โดยมองไปที่เป้าหมายใหญ่ของงานแต่ละชิ้น แล้วเริ่มลงมือทาจากจุดเล็กๆ ก่อน ค่อยๆ ทา ค่อยๆ แก้ไปทีละจุด งานแต่ละชิ้นก็จะลุลวงไปได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ “ถ้าปวดหัวคิดอะไรไม่ออก ก็ต้อง แก้ไขการปวดหัวนี้ก่อน มันไม่ได้แก้อาการจริง แต่ต้องแก้ปัญหาที่ทาให้เราปวดหัวให้ได้เสียก่อน เพื่อจะให้อยู่ในสภาพ ที่ดีได้…” 4. ทาตามลาดับขั้นเริ่มต้นจากการลงมือทาในสิ่งที่จาเป็นก่อน เมื่อสาเร็จแล้วก็เริ่มลงมือสิ่งที่จาเป็นลาดับต่อไป ด้วย ความรอบคอบและระมัดระวัง ถ้าทาตามหลักนี้ได้ งานทุกสิ่งก็จะสาเร็จได้โดยง่าย… ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงเริ่มต้น จากสิ่งที่จาเป็นที่สุดของประชาชนเสียก่อน ได้แก่ สุขภาพสาธารณสุข จากนั้นจึงเป็นเรื่องสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน และสิ่งจาเป็นในการประกอบอาชีพ อาทิ ถนน แหล่งน้าเพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภค เน้นการปรับใช้ภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่ราษฎรสามารถนาไปปฏิบัติได้ และเกิดประโยชน์สูงสุด “การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น ต้อง สร้างพื้นฐาน คือความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานที่มั่นคงพร้อมพอสมควร สามารถปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริมความเจริญและ ฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป…” พระบรมราโชวาทของในหลวงรัชกาลที่ 9 เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2517 5. ภูมิสังคม ภูมิศาสตร์ สังคมศาสตร์การพัฒนาใดๆ ต้องคานึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นว่าเป็นอย่างไร และ สังคมวิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกัน “การ พัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ ในสังคมวิทยา คือนิสัยใจคอของ คนเรา จะไปบังคับให้คนอื่นคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะนา เข้าไปดูว่าเขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบายให้เขา เข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง” 6. ทางานแบบองค์รวมใช้วิธีคิดเพื่อการทางาน โดยวิธีคิดอย่างองค์รวม คือการมองสิ่งต่างๆ ที่เกิดอย่างเป็นระบบครบ วงจร ทุกสิ่งทุกอย่างมีมิติเชื่อมต่อกัน มองสิ่งที่เกิดขึ้นและแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยง 7. ไม่ติดตาราเมื่อเราจะทาการใดนั้น ควรทางานอย่างยืดหยุ่นกับสภาพและสถานการณ์นั้นๆ ไม่ใช่การยึดติดอยู่กับแค่ ในตาราวิชาการ เพราะบางที่ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด บางครั้งเรายึดติดทฤษฎีมากจนเกินไปจนทาอะไรไม่ได้เลย สิ่งที่เราทาบางครั้งต้องโอบอ้อมต่อสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม สังคม และจิตวิทยาด้วย 8. รู้จักประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุดในการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎร ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงใช้หลักใน การแก้ปัญหาด้วยความเรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถทาได้เอง หาได้ในท้องถิ่นและประยุกต์ใช้สิ่งที่มีอยู่ใน ภูมิภาคนั้นมาแก้ไข ปรับปรุง โดยไม่ต้องลงทุนสูงหรือใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากมากนัก ดังพระราชดารัสตอนหนึ่งว่า “… ให้ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูกโดยปล่อยให้ขึ้นเองตามธรรมชาติจะได้ประหยัดงบประมาณ…”
  • 4. 4 9. ทาให้ง่ายทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงาน การพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดาริไปได้โดยง่าย ไม่ ยุ่งยากซับซ้อนและที่สาคัญอย่างยิ่งคือ สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนและระบบนิเวศโดยรวม “ทาให้ ง่าย” 10. การมีส่วนร่วมทรงเป็นนักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับได้มาร่วม แสดงความคิดเห็น “สาคัญที่สุดจะต้องหัดทาใจให้กว้างขวาง หนักแน่น รู้จักรับฟังความคิดเห็น แม้กระทั่งความ วิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่นอย่างฉลาดนั้น แท้จริงคือ การระดมสติปัญญาละประสบการณ์อันหลากหลายมาอานวยการ ปฏิบัติบริหารงานให้ประสบผลสาเร็จที่สมบูรณ์นั่นเอง” 11. ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวมในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงระลึกถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสาคัญ ดังพระราชดารัสตอน หนึ่งว่า “…ใครต่อใครบอกว่า ขอให้เสียสละส่วนตัวเพื่อส่วนรวม อันนี้ฟังจนเบื่อ อาจราคาญด้วยซ้าว่า ใครต่อใครมาก็ บอกว่าขอให้คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม อาจมานึกในใจว่า ให้ๆ อยู่เรื่อยแล้วส่วนตัวจะได้อะไร ขอให้คิดว่าคนที่ให้เป็น เพื่อส่วนรวมนั้น มิได้ให้ส่วนรวมแต่อย่างเดียว เป็นการให้เพื่อตัวเองสามารถที่จะมีส่วนรวมที่จะอาศัยได้…” 12. บริการที่จุดเดียวทรงมีพระราชดาริมากว่า 20 ปีแล้ว ให้บริหารศูนย์ศึกษาการพัฒนาหลายแห่งทั่วประเทศโดยใช้ หลักการ “การบริการรวมที่จุดเดียว : One Stop Service” โดยทรงเน้นเรื่องรู้รักสามัคคีและการร่วมมือร่วมแรงร่วม ใจกันด้วยการปรับลดช่องว่างระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 13. ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและต้องการให้ ประชาชนใกล้ชิดกับทรัพยากรธรรมชาติ ทรงมองปัญหาธรรมชาติอย่างละเอียด โดยหากเราต้องการแก้ไขธรรมชาติ จะต้องใช้ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือเราด้วย 14. ใช้อธรรมปราบอธรรมทรงนาความจริงในเรื่องธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาเป็นหลักการแนวทาง ปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงสภาวะที่ไม่ปกติเข้าสู่ระบบที่ปกติ เช่น การบาบัดน้าเน่าเสียโดยให้ผักตบชวา ซึ่งมีตามธรรมชาติให้ดูดซึมสิ่งสกปรกปนเปื้อนในน้า 15. ปลูกป่าในใจคนการจะทาการใดสาเร็จต้องปลูกจิตสานึกของคนเสียก่อน ต้องให้เห็นคุณค่า เห็นประโยชน์กับสิ่งที่ จะทา…. “เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านั้นก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดิน และจะรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง” 16. ขาดทุนคือกาไรหลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่มีต่อพสกนิกรไทย “การให้” และ “การ เสียสละ” เป็นการกระทาอันมีผลเป็นกาไร คือความอยู่ดีมีสุขของราษฎร 17. การพึ่งพาตนเองการพัฒนาตามแนวพระราชดาริ เพื่อการแก้ไขปัญหาในเบื้องต้นด้วยการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้มีความแข็งแรงพอที่จะดารงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไปก็คือ การพัฒนาให้ประชาชนสามารถอยู่ในสังคมได้ตาม สภาพแวดล้อมและสามารถ พึ่งตนเองได้ในที่สุด 18. พออยู่พอกินให้ประชาชนสามารถอยู่อย่าง “พออยู่พอกิน” ให้ได้เสียก่อน แล้วจึงค่อยขยับขยายให้มีขีดสมรรถนะ ที่ก้าวหน้าต่อไป
  • 5. 5 19. เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 พระราชทานพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิต ให้ ดาเนินไปบน “ทางสายกลาง” เพื่อให้รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ซึ่งปรัชญานี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งระดับบุคคล องค์กร และชุมชน 20. ความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกันผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อย ก็ย่อมทาประโยชน์ให้แก่ ส่วนรวมได้มากกว่าผู้ที่มีความรู้มาก แต่ไม่มีความสุจริต ไม่มีความบริสุทธิ์ใจ 21. ทางานอย่างมีความสุขทางานต้องมีความสุขด้วย ถ้าเราทาอย่างไม่มีความสุขเราจะแพ้ แต่ถ้าเรามีความสุขเราจะ ชนะ สนุกกับการทางานเพียงเท่านั้น ถือว่าเราชนะแล้ว หรือจะทางานโดยคานึงถึงความสุขที่เกิดจากการได้ทา ประโยชน์ให้กับผู้อื่นก็สามารถทาได้ “…ทางานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ นอกจากการมีความสุขร่วมกัน ในการทา ประโยชน์ให้กับผู้อื่น…” 22. ความเพียรการเริ่มต้นทางานหรือทาสิ่งใดนั้นอาจจะไม่ได้มีความพร้อม ต้องอาศัยความอดทนและความมุ่งมั่น ดังเช่นพระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” กษัตริย์ผู้เพียรพยายามแม้จะไม่เห็นฝั่งก็จะว่ายน้าต่อไป เพราะถ้าไม่เพียรว่าย ก็จะตกเป็นอาหารปู ปลาและไม่ได้พบกับเทวดาที่ช่วยเหลือมิให้จมน้า 23. รู้ รัก สามัคคีรู้ คือ รู้ปัญหาและรู้วิธีแก้ปัญหานั้น รัก คือ เมื่อเรารู้ถึงปัญหาและวิธีแก้แล้ว เราต้องมีความรัก ที่จะลงมือทา ลงมือแก้ไขปัญหานั้น สามัคคี คือ การแก้ไขปัญหาต่างๆ ไม่สามารถลงมือทาคนเดียวได้ ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจกัน วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเทอร์เน็ต -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ -ไม่ได้ใช้งบประมาณ
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) เพื่อให้เห็นว่าหลักการทรงงานของรัชกาลที่9 ยังสามารถใช้ได้จริงในชีวิต สังคมและส่งผลดีในประเทศ นาการ ประยุกต์ของสิ่งที่คิดว่าไม่ดีมาช่วยทาให้เกิดประโยชน์มากที่สุดอย่างถูกต้อง สถานที่ดาเนินการ -โรงเรียนยุพราช -ชุมชนเทศบาลในละแวกบ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://www.ops.moe.go.th/ops2017/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E 0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89/1863-23- %E0%B8%AB%E0%B8%A5 http://www.rdpb.go.th/th/King/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B 8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0 %B8%B2%E0%B8%99-c24 https://www.prachachat.net/rama9royalfuneral/news-60274 https://www.bedo.or.th/bedo/new-content.php?id=1274