SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
ความคาดหวัง พฤติกรรมการใช้ และความพึงพอใจของประชากรในเขต
กรุงเทพมหานครที่มีต่ออินสตาแกรม
By นางสาวมญชุ์วรัชญ์ จารุวงค์วาที
การค้นคว้าอิสระนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
วรสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารสื่อสารมวลชน
คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การวิจัยเรื่อง ความคาดหวัง พฤติกรรมการใช้ และความพึงพอใจของประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่ออินสตาแกรมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
คุณลักษณะประชากรของกลุ่มตัวอย่าง, ความคาดหวัง, พฤติกรมการใช้, และความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร
การวิจัยครั้งนี้ศึกษาจกกลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร จานวน400 คน ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม โดย
เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมีนาคมจนถึงพฤษภาคมปี 2557
บทนำ
ในยุคที่เครือข่ำยสังคมออนไลน์ถูกหลอมรวมเข้ำกับโลกแห่งควำมจริง จนกระทั่งได้กลำยเป็ น
สังคมแห่งใหม่สำหรับผู้บริโภค พฤติกรรมมำกมำยที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้บริโภคในยุคปัจจุบัน จำกเดิมที่มี
สื่อเพียงแค่โทรทัศน์ วิทยุ ภำพยนตร ์และสิ่งพิมพ์เป็ นสื่อหลัก พัฒนำกลำยมำเป็ นสื่อใหม่ (New Media)
ได้แก่ คอมพิวเตอร ์และสื่อที่อำศัยเทคโนโลยีโทรคมนำคม เช่น ดำวเทียมสำยเคเบิลใยแก้ว โทรศัพท์มือถือ
เป็ นต้น ทำให้เกิดกำรเติบโตแบบก้ำวกระโดดของเครือข่ำยสังคมออนไลน์อย่ำงมำกในยุคปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งในประเทศไทย จากผลวิจัยเรื่อง Boundless Platform พบว่า ช่วง 2:3 ปีที่ผ่านมา คนไทยมีอัตราครอบครองแพลตฟอร์มรูปแบบต่าง ๆ เช่นสมาร์ทโฟน
แท็บเล็ต โน้ตบุ๊ก คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ และสมาร์ททีวีมากขึ้น โดยพบว่า คนที่มี อายุ25-44 ปี หรือคนวัยทางาน โดยเฉลี่ยครอบครองอุปกรณ์อยู่ที่ 5.1 ชิ้นต่อคน
สมาร์ทโฟนได้เข้ามามีบทบาทสาคัญย่างยิ่งในชีวิตประจาวัน ทั้งการอนแทนหนังสือพิมพ์รายวันอย่างในอดีต การค้นหาข้อมูลต่าง ๆ สมารถเช็คอีมล์ หรือติดตาม
ความเคลื่อนไหวทั้งของเพื่อน บุคคลสาคัญ และดารานักแสดงได้ผ่านทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้อย่างรวดเร็วและสะดวกสบาย พฤติกรรมเหล่านี้ได้กลายเป็น
ส่วนหนึ่งของกิจวัตรประจาวัน ที่แม้แต่คนไทยก็ขาดไม่ได้เสียแล้ว (กนกกาญจน์ ประจงแสงศรี,2557)
ปัจจุบันการสะท้อนเรื่องราวของตนเองผ่านมุมมองภาพต่าง ๆ กาลังเป็นที่นิยมเป็นอย่างมากในกลุ่มผู้บริโภคออนไลน์ พฤติกรรมการถ่ายรูปสิ่ง
ต่าง ๆ อาทิ สถานที่ท่องเที่ยว รูปตนเองรูปสัตว์เลี้ยงหรือแม้แต่การถ่ายรูปอาหารก่อนรับประทานแล้วแบ่งปันบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ ได้กลับกลายเป็น
เรื่องปกติธรมดาสาหรับผู้บริโภค เหตุด้วยพฤติกรรมของมนุษย์ที่โดยธรรมชาติชอบติดต่อสื่อสาร และยิ่งได้สื่อสารกับกลุ่มคนที่ชื่นชอบในเรื่องเดียวกันแล้ว ยิ่ง
เป็นตัวกระตุ้นที่ดีจนเกิดเป็นชุมชนย่อยบนโลกออนไลน์ของคนที่ชื่นชอบในสิ่งเดียวกัน ทาให้ตราสินค้ามีทิศทางชัดเจนในการนารูปแบบการดาเนินชีวิตของ
คนกลุ่มต่าง ๆ มาปรับใช้ในการสร้างประสบการณ์เพื่อให้เข้ากับรูปแบบการดาเนินชีวิตของผู้บริโภค และสื่อสังคมออนไลน์ที่ตอบสนองพฤติกรรมดังกล่าวของ
ผู้บริโภคได้ดีคงหนีไม่พ้น แอพลิเคชั่นอินสตาแกรม (Instagram)ปัจจุบันอินสตาแกรมมียอดผู้ใช้งานทั่วโลกกว่า 150 ล้านคน (สถิติการใช้งานอินสตา
แกรมทั่วโลกปี 2557 ส่วนในประเทศไทยอัตราการเติบโตของจานวนผู้ใช้งานในไทยจากปี 2555 ถึงปี 2556 เติบโตขึ้นถึง 546.529 จาก
240,000 บัญชี เป็นจานวน 1,551,649 บัญชี
ด้วยเหตุนี้เอง ผู้วิจัยจึงเกิดความสนใจที่จะศึกษาพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมของคนไทย โดยมุ่งที่จะศึกษาประชกรในเขตกรุงเทพมหานคร
เนื่องจากคนในกรุงเทพมหานครเป็นกลุ่มคนที่มีพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มากที่สุด อีกทั้งในปีที่ผ่านมา สถานที่ในประเทศไทยได้แก่ สยามพารา
กอนและสนามบินสุวรณภูมิ ยังได้ถูกจัดอันดับจากอินสตาแกรมว่าเป็นสถานที่ที่ถูกเชคอินและแชร์มากที่สุดในโลกอีกด้วย โดย Best Location ได้แก่
สยามพารากอน ซึ่งนั่นก็แสดงให้เห็นได้ว่า คนไทยก็นิยมแชร์รูปและเชคอินสถานที่ในอินสตาแกรมไม่แพ้คนชาติใดเลยทีเดียว อีกหนึ่งจุดประสด์ของการศึกษา
ในครั้งนี้ก็เพื่อให้ทราบว่าประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่ใช้อินสตาแกรมมีความคาดหวัง พฤติกรรมการใช้งาน และ ความพึงพอใจเป็นอย่างไร
คุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง
ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง จกกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 400 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ
68.0 อายุ 25-28 ปี ร้อยละ 34.0 การศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 55.3 มีรายได้อยู่ในช่วง 10,001-20,000
ร้อยละ 39.0 ประกอบอาชีพพนักงาน / ลูกจ้างเอกชน ร้อยละ41.2 และมีสถานภาพโสด ร้อยละ 91.3
พฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความถี่ของการใช้อินสตาแกรมอยู่ในช่วง 1-5 ครั้ง/วัน คิดเป็นร้อยละ 39.5 ช่วง
ระยะเวลาที่กลุ่มตัวอย่างใช้มากที่สุด คือ ช่วงระยะเวลา 1-5 นาที ร้อยละ 39.5 ช่วงระยะเวลาที่กลุ่มตัวอย่างเข้าใช้อินสตาแกรมมากที่สุด
คือ ช่วงเวลา 20:01-23:00 น. ร้อยละ 27.5 สถานที่ที่กลุ่มตัวอย่างเข้าใช้อินสตาแกรมมากที่สุด คือ บ้าน คิดเป็นร้อยละ 68.0
เครื่องมือในอินสตาแกรมที่กลุ่มตัวอย่างใช้บ่อยครั้งที่สุด คือ ดูรูปภาพทั่วไป(Home)โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 4.50
ความคาดหวังที่มีต่อการใช้อินสตาแกรม
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังเพื่อความเพลิดเพลินและเพื่อการผ่อนคลายมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 4.06 เท่ากัน ซึ่งจัดอยู่ใน
ความคาดหวังระดับ มากรองลงมาคือ ความคาดหวังว่าใช้เป็นกิจกรรมยามว่าง โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 3.77 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ มาก เช่นกัน อันดับต่อมาคือ แก้เบื่อ
โดยมีคาเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 3.76 ซึ่งจัดอยู่ในระดับมาก เช่นกัน และสิ่งที่กลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังน้อยที่สุด คือ เป็นช่องทางในการขายสินค้า โดยมีค่าเฉลี่ยของ
คะแนนอยู่ที่ 1.90 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ น้อย ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความคาดหวังที่มีต่อการใช้อินสตาแกรมอยู่ที่ 3.18 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ ปานกลาง
ความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรม
ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมของกลุ่มตัวอย่าง คือ ความเพลิดเพลินมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 3.90 ซึ่งจัดอยู่
ในความพึงพอใจระดับ มากรองลงมาคือ ความพึงพอใจจกการดูรูปภาพ/ภาพถ่าย ด้านการผ่อนคลาย โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 3.81 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ มาก
เช่นกัน อันดับต่อมาคือ ความพึงพอใจจากการใช้เป็นกิจกรรมทายามว่าง โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 3.66 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ มาก เช่นกัน และสิ่งที่กลุ่มตัวอย่างมี
ความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ การใช้เป็นช่องทาการขายสินค้า โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 2.08 ซึ่งจัดอยู่ในระดับน้อย ทั้ง กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความ
พึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมอยู่ที่ 3.25 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ ปานกลาง
ปัญหานาวิจัย
1. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมเป็นอย่างไร
2. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครมีความคาดหวังและความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมเป็นอย่างไร
3. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีสักษณะทางประชากรต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน
อย่างไร
4. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรต่างกันมีความคาดหวังแตกต่างกันอย่างไร
5. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรต่างกันมีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรม
แตกต่างกันอย่างไร
6. ความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังและพฤติกรรมการใช้เป็นอย่างไร
7. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้และความพึงพอใจเป็นอย่างไร
8. ความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังและความพึงพอใจเป็นอย่างไร
วัตถุประสงค์การวิจัย
1. เพื่อศึกษาคุณลักษณะประชากรและพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร
2. เพื่อศึกษาความคาดหวังและความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร
3. เพื่อศึกษาประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกันหรือไม่
4. เพื่อศึกษาประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรต่างกัน มีความคาดหวังแตกต่างกันหรือไม่
5. เพื่อศึกษาประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรต่างกัน มีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมต่างกันหรือไม่
6. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคาดหวังและพฤติกรรมการใช้
7. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้และความพึงพอใจ
8. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังและความพึงพอใจ
สมมติฐำน
1. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน
2. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกันจะมีความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน
3. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกันจะมีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน
4. ความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม
5. พฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมมีความสัมพันธ์ต่อความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรม
6. ความคาดหวังต่อการใช้อินสตาแกรมมีความสัมพันธ์ต่อความพึงพอใจจากการใช้
ขอบเขตของกำรวิจัย
กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่ใช้อินสตาแกรมในเขตกรุงเทพมหานคร
โดยเลือกสุ่มจากประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ โดยมีช่วงเวลาในการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม
2557
นิยามคาศัพท์
อินสตาแกรม หมายถึง โปรแกรมแบ่งปันรูปภาพและคลิปวิดีโอสั้น ๆ โดยถูกคิดค้น
ขึ้นมาในเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2553 โดยผู้ใช้งานสามารถถ่ายรูปและตกแต่งรูปภาพได้ตามใจต้องการ
และแบ่งปันผ่าน โชเซียลเน็ตเวิร์ก โดยการตกแต่งรูปนั้นจะเน้นในแนวย้อนยุค หรือ กล้องโพลารอยด์
ลักษณะทางประชากร หมายถึง เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส อาชีพ
และรายได้ ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่ใช้อินสตาแกรมพฤติกรรมการใช้ หมายถึง พฤติกรรมในการใช้อินสตาแกรมของประชากร
ในเขตกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ความในการเปิดรับ ช่วงเวลในการเปิดรับ สถานที่ที่เปิดรับ และลักษณะในการใช้อินสตาแกรม
ความคาดหวัง หมายถึง การที่ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครใช้อินสตาแกรมเพื่อฆ่า
เวลาเพื่อเอาไว้ป็นเพื่อน เพื่อสร้างความตื่นต้น เพื่อหลีกหนีจากโลกแห่งความจริง เพื่อความเพลิดเพลิน
เพื่อปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เพื่อความผ่อนคลาย เพื่อการแสวงหาข้อมูลและเพื่อการเรียนรู้เนื้อหาตาม
ความสนใจ
ความพึงพอใจ หมายถึง การที่ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครได้รับการตอบสนองใน
ด้านการฆ่าเวลา เอาไว้เป็นเพื่อน สร้างความตื่นเต้น หลีกหนีจากโลกแห่งความจริง ความเพลิดเพลิน
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ความผ่อนคลาย การแสวงหาข้อมูลและการเรียนรู้เนื้อหาตามความสนใจจาก
การได้ใช้อินสตาแกรม
ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1. ได้ทราบถึงพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร
2. ได้ทราบถึงความคาดหวังและความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร
3. สามารถนาผลจากงานวิจัยนาไปใช้ประโยชน์ต่อ นักการตลาด นักโฆษณา นักการสื่อสารนักประชาสัมพันธ์
หอผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางสาหรับการวางแผนพัฒนากลยุทธ์ทางการสื่อสารในเครือข่ายสังคมออนไลน์
ผ่านแอพลิดชั่นอินสตาแกรม ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาวิจัยในหัวข้อ "ความคาดหวัง พฤติกรรมการใช้ และความพึงพอใจของประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่ออินสตาแกรม" ผู้วิจัย
เลือกงานวิจัยที่มีส่วนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งงานวิจัยที่นามาใช้เป็นแนวทางในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่
อาไพศรี โสประทุม (2539) ทาการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสารและปัจจัยบางประการที่มีผลต่อการยอมรับการสื่อสารคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมมีความสัมพันธ์ในการยอมรับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
โดยที่กรศึกษามีความสัมพันธ์กับการที่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตช่วยในการทางาน รายได้ต่อเดือนมีความสัมพันธ์กับความต้องการในอนาคต การเป็นเจ้าของมี
ความสัมพันธ์กับความถี่บ่อยในการใช้อินเทอร์เน็ต การช่วยพัฒนาในการทางาน และความต้องการใช้ในอนาคต
ธมลวรรณ กาญจนวิจิตร (2556) ทาการศึกษาเรื่อง "รูปแบบการดาเนินชีวิต ทัศนคติและแนวโนมพฤติกรรมในการใช้สินค้าที่ปรากฎบนสื่ออินสตาแก
รมของบุคคลที่มีชื่อเสียง" จการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รู้สึกว่าการนาเสนอสินค้าผ่านสื่ออินสตาแกรมของบุคคลทิมชื่อเสียง ทาให้สินค้าดูมีความน่าสนใจ
รองลงมาคือ การนาเสนอสินค้าผ่านสื่ออินสตาแกรมของบุคคลที่มีชื่อเสียง ทาให้สมารถจดจารูปร่าง ลักษณะและหีบห่อของสินค้าได้ คือ การนาเสนอสินค้าผ่านสื่อ
อินสตาแกรมของบุคคลที่มีชื่อเสียงทาให้สินค้าดูมีความน่าเชื่อถือ
จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า ในปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของคนไทย ทาให้ผู้วิจัยเลือกที่จะทาการศึกษา
พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ทั้งพฤติกรมการเปิดรับ พฤติกรมการใช้งาน ทัศนคติตง ๆ ที่มีต่อการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์
ด้วยเหตุนี้เอง ผู้วิจัยจึงเลือกที่จะศึกษาพฤติกรรมการใช้ ความคาดหวัง และความพึงพอใจของประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่ออินสตาแกรม เนื่องจาก
อินสตาแกรมเป็นแอพพลิเคชัน ที่กาลังได้รับความนิยมอย่างมากในสังคมไทย ผู้วิจัยจึงมีความสนใจว่าที่จะศึกษาในเรื่องดังกล่าว และได้นางานวิจัยที่เกี่ยวข้องข้างต้น
มาเป็นแนวทางในการวิจัยนี้
กรอบแนวคิดการวิจัย
วิธีการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) และแบบสัมภาษณ์(Interview) ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยศึกษาจากเอกสารและ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดและทฤษฎีเพื่อให้ครอบคลุมประเด็นมากที่สุด ลักษณะของแบบสอบถามเป็นแบบปลายปิด (Close-
Ended Questions) แบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 คาถามเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย
เพศ อายุ การศึกษา รายได้ อาชีพ สถานภาพสมรส เป็นคาถามปลายปิดแบบลักษณะตรวจสอบ
รายการ (Check Lists)
ตอนที่ 2 คาถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม เป็นคาถามแบบเลือกตอบ
ลักษณะแบบตรวจสอบรายการ (Check Lists) แบบสอบถามที่มีลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating Scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด โดยกาหนดและแปล
ความหมายของคะแนนดังนี้
มากกว่า 10 ครั้งต่อวัน 5 คะแนน
6-10 ครั้ง 4 คะแนน
1-5 ครั้ง 3 คะแนน
สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง 2 คะแนน
น้อยกว่าสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 1 คะแนน
วิธีการวิจัย
ตอนที่ 3 คาถามแบบปลายปิดเกี่ยวกับความคาดหวังต่อการใช้อินสตาแกรม
เป็นแบบสอบถามที่มีลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก
ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด เป็นการวัดโดยใช้มาตราวัดแบบ Likert Scale โดยกาหนดและแปล
ความหมายของคะแนนดังนี้
ระดับคะแนน 5 หมายถึง มากที่สุด
ระดับคะแนน 4 หมายถึง มาก
ระดับคะแนน 3 หมายถึง ปานกลาง
ระดับคะแนน 2 หมายถึง น้อย
ระดับคะแนน 1 หมายถึง น้อยที่สุด
ผู้วิจัยได้กาหนดระดับการประเมินเป็น 5 ระดับ ตั้งแต่ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย
และน้อยที่สุด กาหนดออกเป็น 5 ช่วง ในแต่ละช่วงมีคะแนนห่างเท่า ๆ กันด้วยการกาหนดใช้ค่าเฉลี่ย
และนาค่าเฉลี่ยที่คานวณได้มาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนดไว้ โดยถืออัตราการแปลผลของค่าเฉลี่ย
(X) แบ่งเป็น 5 ระดับ ไว้ดังนี้
วิธีการวิจัย
ตอนที่ 5 คาถามแบบปลายปิดเกี่ยวกับความพึงพอใจที่มีอินสตาแกม เป็นแบบสอบถามที่
มีลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และ
น้อยที่สุด เป็นการวัดโดยใช้มาตราวัดแบบ Likert Scale
ตอนที่ 6 คาถามปลายเปิดเป็นคาถามแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51-5.00 แทนระดับ มากที่สุด
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51-4.50 แทนระดับ มาก
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.51-3.50 แทนระดับ ปานกลาง
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51-2.50 แทนระดับ น้อย
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00-1.50 แทนระดับ น้อยที่สุด
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ข้อมูลจากเอกสาร ศึกษาจากตาร เอกสาร บทความ ทฤษฎีหลักการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2. ผู้วิจัยดาเนินการส่งแบบสอบถามให้กับผู้ตอบแบบสอบถามตามจานวนในแต่ละเขตที่ได้เป็นตัวแทนกลุ่มตัวอย่างพร้อมทั้งชี้แจงข้อมูลและ
รอเก็บแบบสอบถามด้วยตนเองตามพื้นที่ในการวิจัย
3. เมื่อผู้วิจัยรวบวมแบบสอบถามได้ทั้งหมดแล้ว ทาการตรวจสอบความถูกต้อง
สมบูรณ์ของแบบสอบถาม เพื่อทาการวิเคราะห์ข้อมูลตามขั้นตอนต่อไป
สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล
และข้อเสนอแนะ
การศึกษาเรื่อง "ความคาดหวัง พฤติกรรมการใช้ และความพึงพอใจ ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่ออินสตาแกรม“
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research Method) โดยผู้วิจัยได้นาเอาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่
เกี่ยวข้องมาใช้เป็นกรอบในการศึกษาและเป็นแนวทางในการออกแบบข้อคาถาม ได้แก่ แนวคิดเกี่ยวกับอินสตาแกรม ทฤษฎีความคาดหวังจากสื่อ และ
ทฤษฎีการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยเริ่มทาการรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนเมษายน
ถึงเดือนพฤษภาคม 2557 จากกลุ่มตัวอย่างที่อาศัยอยู่ในจังหวัดกรุงเทพมหานครและใช้อินสตาแกรม จานวน 400 คน โดใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ
เจาะจง(purposivesampling) โดยเก็บข้อมูลเฉพาะผู้ใช้อินสตาแกรม ในแต่ละเขตและเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างให้ครบตามจานวนที่
กาหนดการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลดาเนินการโดยใช้การหาดทางสถิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป spssโดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูลประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา
สรุปผลการวิจัย
ผู้วิจัยได้สรุปผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้คือ
คุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง
ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะทางประขากรของกลุ่มตัวอย่าง จากกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 400 คนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 68.0
อายุ 25-28 ปี ร้อยละ 33.0 การศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 54.3มีรายได้อยู่ในช่วง ไม่เกิน 5,000 บาท ร้อยละ 19.0 ประกอบ
อาชีพพนักงาน / ลูกจ้างเอกชน ร้อยละ41.0 และมีสถานภาพโสด ร้อยละ 91.3
พฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความถี่ของการใช้อินสตาแกรมอยู่ในช่วง 1-5ครั้ง/วัน คิดเป็นร้อยละ 41.8 ช่วง
ระยะเวลาที่กลุ่มตัวอย่างใช้มากที่สุด คือ ช่วงระยะเวลา 1-5 นาทีร้อยละ 39.5 ช่วงเวลาที่กลุ่มตัวย่างเข้าใช้อินสตาแกรมมากที่สุด คือ
ช่วงเวลา 20:01-23:00 น. ร้อยละ27.5 สถานที่ที่กลุ่มตัวอย่างเข้าใช้อินสตาแกรมมากที่สุด คือ บ้าน คิดเป็น ร้อยละ 68.0 เครื่องมือใน
อินสตาแกรมที่กลุ่มตัวอย่างใช้บ่อยครั้งที่สุด คือ ดูรูปภาพทั่วไป (Home) โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 4.50
ความคาดหวังที่มีต่อการใช้อินสตาแกรม
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมเพื่อความบันเทิงและเพื่อผ่อนคลายมากที่สุด โดยมี
ค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 4.06 เท่กัน ซึ่งจัดอยู่ในความคาดหวังระดับ มาก รองลงมาคือ ความคาดหวังว่าใช้เป็นกิจกรรมยามว่าง โดยมี
ค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 3.77ซึ่งจัดอยู่ในระดับมาก เช่นกัน อันดับต่อมาคือ แก้เบื่อ โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 3.76 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ
มาก เช่นกัน และสิ่งที่กลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังน้อยที่สุด คือ เป็นช่องทางในการขายสินค้า โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 1.90 ซึ่งจัดอยู่
ในระดับน้อย ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความคาดหวังที่มีตการใช้อินสตาแกรมอยู่ที่ 3.18 ซึ่งจัดอยู่ในระดับปานกลาง
ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้อินสตาแกรม
ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมของกลุ่มตัวอย่าง คือ ความบันเทิงมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่
ที่ 3.90 ซึ่งจัดอยู่ในความพึงพอใจระดับ มาก รองลงมาคือความพึงพอใจจากการดูรูปภาพ/ภาพถ่ายเพื่อผ่อนคลาย โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนน
อยู่ที่ 3.81 ซึ่งจัดอยู่ในระดับมาก เช่นกัน อันดับต่อมาคือ ความพึงพอใจจากการใช้เป็นกิจกรรมทายามว่าง โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่
3.66 ซึ่งจัดอยู่ในระดับมาก เช่นกัน และสิ่งที่กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ การใช้เป็นช่องทางการขายสิค้า โดยมีค่าเฉลี่ยของ
คะแนนอยู่ที่ 208 ซึ่งจัดอยู่ในระดับน้อย ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมอยู่ที่ 3.25 ซึ่งจัดอยู่
ในระดับปานกลาง
และจำกกำรทดสอบสมมติฐำนงำนวิจัยพบว่ำ
1. ประชกรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกัน มีพฤติกรรม
การใช้อินตาแกม (ความถี่ ครั้งวัน) ที่แตกต่างกัน ผลจกการทดสอบสมมติฐานพบว่า
1.1เพศที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม (ความถี่ ครั้ง/วัน)ไม่แตกต่างกัน
1.2 ช่วงอายุที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม (ความถี่ ครั้ง/วัน)ไม่แตกต่างกัน
1.3 อาชีพที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม (ความถี่ ครั้งวัน) แตกต่างกัน
1.4 ช่วงรายได้ที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม (ความถี่ ครั้ง/วัน)ไม่แตกต่างกัน
1.5 ระดับการศึกษที่แตกต่างกันมีพฤติกรมการใช้อินสตาแกรม (ความถี่ ครั้ง/วัน)ไม่แตกต่างกัน
1.6 สถานภาพสมรสที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม (ความถี่ ครั้ง/วัน)ไม่แตกต่างกัน
2. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกันมีความคาดหวังต่อการใช้อินสตาแกรมที่แตกต่างกัน
2.1 เพศที่แตกต่างกันมีความคาดหวังต่อการใช้อินสตาแกรม ไม่แตกต่างกัน
2.2 ช่วงอายุที่แตกต่างกันมีความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน
2.3 อาชีพที่แตกต่างกันมีความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน
2.4 ช่วงรายได้ที่แตกต่างกันมีความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมไม่แตกต่างกัน
2.5 ระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน
2.6 สถานภาพสมรสที่แตกต่างกันมีความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน
3. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกัน มีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมที่แตกต่างกัน
3.1 เพศที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมไม่แตกต่างกัน
3.2 ช่วงอายุที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน
3.3 อาชีพที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมไม่แตกต่างกัน
3.4 ช่วงรายได้ที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมไม่แตกต่างกัน
3.5 ระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจจากกาใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน
3.6 สถานภาพสมรสที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรม
4. ความคาดหวังที่มีต่อการใช้อินสตาแกรมไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้
5. พฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมไม่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรม
6. ความคาดหวังที่มีต่อการใช้อินสตาแกรมมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรม
และจำกกำรทดสอบสมมติฐำนงำนวิจัยพบว่ำ
ข้อเสนอแนะ
1. จากผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมในลักษณะของการดูรูปภาพทั่วไปอยู่ในระดับมาก และกลุ่มตัวอย่างส่วน
ใหญ่มีความคาดหวังและความพึงพอใจที่มีต่ออินสตาแกรม คือ เพื่อความเพลิดเพลินและเพื่อการผ่อนคลาย อยู่ในระดับมากด้วยเช่นกัน ดังนั้น ข้อมูลในส่วนนี้แสดงให้เห็น
ว่า ผู้ที่ใช้อินสตาแกรมส่วนใหญ่ใช้อินสตาแกรมเพื่อความคาดหวังในด้านความเพลิดเพลินและผ่อนคลาย ดังนั้น อินสตาแกรมจึงเหมาะสาหรับการใช้งานเพื่อความ
เพลิดเพลินและความผ่อนคลายมากกว่าการมุ่งเน้นข้อมูลบ่าวสารต่าง ๆ ดังนั้นผู้ที่ใช้อินสตาแกรมเพื่อประโยชน์ในด้านต่าง ๆ จึงควรให้ความสนใจและใช้อินสตาแกรมให้
เหมาะสมกับความต้องการของผู้ที่ใช้งานอย่างแท้จริง
2. จากผลการศึกษา พบว่า ผู้ที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกัน ทั้ง อายุ อาชีพระดับการศึกษา ล้วนมีผลต่อกาพฤติกรรมการใช้งานทั้งสิ้น ในส่วนนี้เอง
งานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักการตลาด ผู้ประกอบการต่าง ๆ สามารถทาการตลาดและใช้ช่องทางอินสตาแกรมให้เกิดประโยชน์สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่ม
ตัวอย่าง
3. ในยุคที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทอย่างมากในปัจจุบัน จากผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังและความพึงพอใจที่มีต่อการใช้อินสตาแกรม
เพื่อความบันเทิง เพื่อความผ่อนคลายและเพื่อฆ่าเวลาอยู่ในระดับมาก ซึ่งตรงกับยุคสมัยในปัจจุบันที่กลุ่มตัวอย่างเลือกที่จะผ่อนคลายและความบันเทิงจกเทคโนโลยี อย่าง
สมาร์ทโฟน ต่างจากในอดีตที่สมาร์ทโฟนยังไม่มีบทบาทในชีวิตประจาวัน กิจกรรมในยามว่างอาจจะก่อให้เกิดประโยชน์มากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบันได้แก่ การอ่านหนังสือ
การเล่นกีฬา หรือกิจกรรมสันทนาการอื่น ๆ ที่ทาให้ผู้เปิดรับเกิดความผ่อนคลายได้เช่นกัน ผู้วิจัยจึงอยากเสนอแนะให้ มีกากับดูแลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนใน
ปัจจุบัน ให้หันมาให้ความสนใกับกิจกรรมที่ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง เนื่องจากพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนั้นอาจก่อให้เกิดการติดสมาร์ทโฟนและอาจส่งผลต่อ
สุขภาพได้
ข้อเสนอสาหรับงานวิจัยครั้งต่อไป
1. ศึกษาเพิ่มเติมในด้านปัญหาและผลกระทบจากการใช้อินสตาแกรม เช่น ปัญหาความเป็นส่วนตัว
2. ศึกษาเจาะลึกลไปในรายละเอียดของแต่ละรูปภาพที่กลุ่มตัวอย่างเปิดรับ เพื่อศึกษาความต้องการที่แท้จริงว่า
กลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังและความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมเป็นอย่างไร
3. ศึกษางานวิจัยเพิ่มเติมโดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ และใช้การสัมภาษณ์แบบเชิงลึกเพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่
ละเอียดและลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น
hank
T
you
จัดทาโดย
นายนพวัฒน์ ทวีนวกิจเจริญ
รหัส62123322003

More Related Content

What's hot

สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยTwatchai Tangutairuang
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นRungnapha Thophorm
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกาไชยยา มะณี
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณtanongsak
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
Population
PopulationPopulation
Populationkungfoy
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156Ajnawa Sing
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionarepingkung
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม khanidthakpt
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นJiraprapa Suwannajak
 

What's hot (19)

สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
023 qualitative research
023 qualitative research023 qualitative research
023 qualitative research
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
Population
PopulationPopulation
Population
 
PPT population kriangkrai
PPT population kriangkraiPPT population kriangkrai
PPT population kriangkrai
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156
 
บทที่ 22 ประชากร
บทที่ 22 ประชากรบทที่ 22 ประชากร
บทที่ 22 ประชากร
 
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง175 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง377 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 

Similar to EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN BANGKOK

Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนUraiwan Bunnuang
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยLeoBlack1017
 
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ พาณิชย์กิจเจริญ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ  พาณิชย์กิจเจริญเผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ  พาณิชย์กิจเจริญ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ พาณิชย์กิจเจริญPrasong Somarat
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยLeoBlack1017
 
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2Chamada Rinzine
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนSweetsak Samnakwong
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยNarrongdej3110
 
รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1chaimate
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่Jiraporn
 
ajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdf
ajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdfajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdf
ajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdfSPEEDREFER
 

Similar to EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN BANGKOK (20)

Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
1
11
1
 
1
11
1
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
 
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ พาณิชย์กิจเจริญ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ  พาณิชย์กิจเจริญเผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ  พาณิชย์กิจเจริญ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ พาณิชย์กิจเจริญ
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
 
ศัลยกรรม.pdf
ศัลยกรรม.pdfศัลยกรรม.pdf
ศัลยกรรม.pdf
 
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
Abstarct
AbstarctAbstarct
Abstarct
 
Drl033782
Drl033782Drl033782
Drl033782
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ186 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
 
Chapt3
Chapt3Chapt3
Chapt3
 
ajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdf
ajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdfajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdf
ajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdf
 

EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN BANGKOK

  • 1. ความคาดหวัง พฤติกรรมการใช้ และความพึงพอใจของประชากรในเขต กรุงเทพมหานครที่มีต่ออินสตาแกรม By นางสาวมญชุ์วรัชญ์ จารุวงค์วาที การค้นคว้าอิสระนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วรสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2. การวิจัยเรื่อง ความคาดหวัง พฤติกรรมการใช้ และความพึงพอใจของประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่ออินสตาแกรมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา คุณลักษณะประชากรของกลุ่มตัวอย่าง, ความคาดหวัง, พฤติกรมการใช้, และความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร การวิจัยครั้งนี้ศึกษาจกกลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร จานวน400 คน ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม โดย เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมีนาคมจนถึงพฤษภาคมปี 2557
  • 3. บทนำ ในยุคที่เครือข่ำยสังคมออนไลน์ถูกหลอมรวมเข้ำกับโลกแห่งควำมจริง จนกระทั่งได้กลำยเป็ น สังคมแห่งใหม่สำหรับผู้บริโภค พฤติกรรมมำกมำยที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้บริโภคในยุคปัจจุบัน จำกเดิมที่มี สื่อเพียงแค่โทรทัศน์ วิทยุ ภำพยนตร ์และสิ่งพิมพ์เป็ นสื่อหลัก พัฒนำกลำยมำเป็ นสื่อใหม่ (New Media) ได้แก่ คอมพิวเตอร ์และสื่อที่อำศัยเทคโนโลยีโทรคมนำคม เช่น ดำวเทียมสำยเคเบิลใยแก้ว โทรศัพท์มือถือ เป็ นต้น ทำให้เกิดกำรเติบโตแบบก้ำวกระโดดของเครือข่ำยสังคมออนไลน์อย่ำงมำกในยุคปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในประเทศไทย จากผลวิจัยเรื่อง Boundless Platform พบว่า ช่วง 2:3 ปีที่ผ่านมา คนไทยมีอัตราครอบครองแพลตฟอร์มรูปแบบต่าง ๆ เช่นสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต โน้ตบุ๊ก คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ และสมาร์ททีวีมากขึ้น โดยพบว่า คนที่มี อายุ25-44 ปี หรือคนวัยทางาน โดยเฉลี่ยครอบครองอุปกรณ์อยู่ที่ 5.1 ชิ้นต่อคน สมาร์ทโฟนได้เข้ามามีบทบาทสาคัญย่างยิ่งในชีวิตประจาวัน ทั้งการอนแทนหนังสือพิมพ์รายวันอย่างในอดีต การค้นหาข้อมูลต่าง ๆ สมารถเช็คอีมล์ หรือติดตาม ความเคลื่อนไหวทั้งของเพื่อน บุคคลสาคัญ และดารานักแสดงได้ผ่านทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้อย่างรวดเร็วและสะดวกสบาย พฤติกรรมเหล่านี้ได้กลายเป็น ส่วนหนึ่งของกิจวัตรประจาวัน ที่แม้แต่คนไทยก็ขาดไม่ได้เสียแล้ว (กนกกาญจน์ ประจงแสงศรี,2557)
  • 4. ปัจจุบันการสะท้อนเรื่องราวของตนเองผ่านมุมมองภาพต่าง ๆ กาลังเป็นที่นิยมเป็นอย่างมากในกลุ่มผู้บริโภคออนไลน์ พฤติกรรมการถ่ายรูปสิ่ง ต่าง ๆ อาทิ สถานที่ท่องเที่ยว รูปตนเองรูปสัตว์เลี้ยงหรือแม้แต่การถ่ายรูปอาหารก่อนรับประทานแล้วแบ่งปันบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ ได้กลับกลายเป็น เรื่องปกติธรมดาสาหรับผู้บริโภค เหตุด้วยพฤติกรรมของมนุษย์ที่โดยธรรมชาติชอบติดต่อสื่อสาร และยิ่งได้สื่อสารกับกลุ่มคนที่ชื่นชอบในเรื่องเดียวกันแล้ว ยิ่ง เป็นตัวกระตุ้นที่ดีจนเกิดเป็นชุมชนย่อยบนโลกออนไลน์ของคนที่ชื่นชอบในสิ่งเดียวกัน ทาให้ตราสินค้ามีทิศทางชัดเจนในการนารูปแบบการดาเนินชีวิตของ คนกลุ่มต่าง ๆ มาปรับใช้ในการสร้างประสบการณ์เพื่อให้เข้ากับรูปแบบการดาเนินชีวิตของผู้บริโภค และสื่อสังคมออนไลน์ที่ตอบสนองพฤติกรรมดังกล่าวของ ผู้บริโภคได้ดีคงหนีไม่พ้น แอพลิเคชั่นอินสตาแกรม (Instagram)ปัจจุบันอินสตาแกรมมียอดผู้ใช้งานทั่วโลกกว่า 150 ล้านคน (สถิติการใช้งานอินสตา แกรมทั่วโลกปี 2557 ส่วนในประเทศไทยอัตราการเติบโตของจานวนผู้ใช้งานในไทยจากปี 2555 ถึงปี 2556 เติบโตขึ้นถึง 546.529 จาก 240,000 บัญชี เป็นจานวน 1,551,649 บัญชี
  • 5. ด้วยเหตุนี้เอง ผู้วิจัยจึงเกิดความสนใจที่จะศึกษาพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมของคนไทย โดยมุ่งที่จะศึกษาประชกรในเขตกรุงเทพมหานคร เนื่องจากคนในกรุงเทพมหานครเป็นกลุ่มคนที่มีพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มากที่สุด อีกทั้งในปีที่ผ่านมา สถานที่ในประเทศไทยได้แก่ สยามพารา กอนและสนามบินสุวรณภูมิ ยังได้ถูกจัดอันดับจากอินสตาแกรมว่าเป็นสถานที่ที่ถูกเชคอินและแชร์มากที่สุดในโลกอีกด้วย โดย Best Location ได้แก่ สยามพารากอน ซึ่งนั่นก็แสดงให้เห็นได้ว่า คนไทยก็นิยมแชร์รูปและเชคอินสถานที่ในอินสตาแกรมไม่แพ้คนชาติใดเลยทีเดียว อีกหนึ่งจุดประสด์ของการศึกษา ในครั้งนี้ก็เพื่อให้ทราบว่าประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่ใช้อินสตาแกรมมีความคาดหวัง พฤติกรรมการใช้งาน และ ความพึงพอใจเป็นอย่างไร
  • 6. คุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง จกกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 400 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 68.0 อายุ 25-28 ปี ร้อยละ 34.0 การศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 55.3 มีรายได้อยู่ในช่วง 10,001-20,000 ร้อยละ 39.0 ประกอบอาชีพพนักงาน / ลูกจ้างเอกชน ร้อยละ41.2 และมีสถานภาพโสด ร้อยละ 91.3 พฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความถี่ของการใช้อินสตาแกรมอยู่ในช่วง 1-5 ครั้ง/วัน คิดเป็นร้อยละ 39.5 ช่วง ระยะเวลาที่กลุ่มตัวอย่างใช้มากที่สุด คือ ช่วงระยะเวลา 1-5 นาที ร้อยละ 39.5 ช่วงระยะเวลาที่กลุ่มตัวอย่างเข้าใช้อินสตาแกรมมากที่สุด คือ ช่วงเวลา 20:01-23:00 น. ร้อยละ 27.5 สถานที่ที่กลุ่มตัวอย่างเข้าใช้อินสตาแกรมมากที่สุด คือ บ้าน คิดเป็นร้อยละ 68.0 เครื่องมือในอินสตาแกรมที่กลุ่มตัวอย่างใช้บ่อยครั้งที่สุด คือ ดูรูปภาพทั่วไป(Home)โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 4.50
  • 7. ความคาดหวังที่มีต่อการใช้อินสตาแกรม ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังเพื่อความเพลิดเพลินและเพื่อการผ่อนคลายมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 4.06 เท่ากัน ซึ่งจัดอยู่ใน ความคาดหวังระดับ มากรองลงมาคือ ความคาดหวังว่าใช้เป็นกิจกรรมยามว่าง โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 3.77 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ มาก เช่นกัน อันดับต่อมาคือ แก้เบื่อ โดยมีคาเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 3.76 ซึ่งจัดอยู่ในระดับมาก เช่นกัน และสิ่งที่กลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังน้อยที่สุด คือ เป็นช่องทางในการขายสินค้า โดยมีค่าเฉลี่ยของ คะแนนอยู่ที่ 1.90 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ น้อย ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความคาดหวังที่มีต่อการใช้อินสตาแกรมอยู่ที่ 3.18 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ ปานกลาง ความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรม ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมของกลุ่มตัวอย่าง คือ ความเพลิดเพลินมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 3.90 ซึ่งจัดอยู่ ในความพึงพอใจระดับ มากรองลงมาคือ ความพึงพอใจจกการดูรูปภาพ/ภาพถ่าย ด้านการผ่อนคลาย โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 3.81 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ มาก เช่นกัน อันดับต่อมาคือ ความพึงพอใจจากการใช้เป็นกิจกรรมทายามว่าง โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 3.66 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ มาก เช่นกัน และสิ่งที่กลุ่มตัวอย่างมี ความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ การใช้เป็นช่องทาการขายสินค้า โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 2.08 ซึ่งจัดอยู่ในระดับน้อย ทั้ง กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความ พึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมอยู่ที่ 3.25 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ ปานกลาง
  • 8. ปัญหานาวิจัย 1. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมเป็นอย่างไร 2. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครมีความคาดหวังและความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมเป็นอย่างไร 3. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีสักษณะทางประชากรต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน อย่างไร 4. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรต่างกันมีความคาดหวังแตกต่างกันอย่างไร 5. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรต่างกันมีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรม แตกต่างกันอย่างไร 6. ความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังและพฤติกรรมการใช้เป็นอย่างไร 7. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้และความพึงพอใจเป็นอย่างไร 8. ความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังและความพึงพอใจเป็นอย่างไร
  • 9. วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาคุณลักษณะประชากรและพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อศึกษาความคาดหวังและความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อศึกษาประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกันหรือไม่ 4. เพื่อศึกษาประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรต่างกัน มีความคาดหวังแตกต่างกันหรือไม่ 5. เพื่อศึกษาประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรต่างกัน มีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมต่างกันหรือไม่ 6. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคาดหวังและพฤติกรรมการใช้ 7. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้และความพึงพอใจ 8. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังและความพึงพอใจ
  • 10. สมมติฐำน 1. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน 2. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกันจะมีความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน 3. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกันจะมีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน 4. ความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม 5. พฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมมีความสัมพันธ์ต่อความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรม 6. ความคาดหวังต่อการใช้อินสตาแกรมมีความสัมพันธ์ต่อความพึงพอใจจากการใช้ ขอบเขตของกำรวิจัย กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่ใช้อินสตาแกรมในเขตกรุงเทพมหานคร โดยเลือกสุ่มจากประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ โดยมีช่วงเวลาในการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2557
  • 11. นิยามคาศัพท์ อินสตาแกรม หมายถึง โปรแกรมแบ่งปันรูปภาพและคลิปวิดีโอสั้น ๆ โดยถูกคิดค้น ขึ้นมาในเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2553 โดยผู้ใช้งานสามารถถ่ายรูปและตกแต่งรูปภาพได้ตามใจต้องการ และแบ่งปันผ่าน โชเซียลเน็ตเวิร์ก โดยการตกแต่งรูปนั้นจะเน้นในแนวย้อนยุค หรือ กล้องโพลารอยด์ ลักษณะทางประชากร หมายถึง เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส อาชีพ และรายได้ ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่ใช้อินสตาแกรมพฤติกรรมการใช้ หมายถึง พฤติกรรมในการใช้อินสตาแกรมของประชากร ในเขตกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ความในการเปิดรับ ช่วงเวลในการเปิดรับ สถานที่ที่เปิดรับ และลักษณะในการใช้อินสตาแกรม ความคาดหวัง หมายถึง การที่ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครใช้อินสตาแกรมเพื่อฆ่า เวลาเพื่อเอาไว้ป็นเพื่อน เพื่อสร้างความตื่นต้น เพื่อหลีกหนีจากโลกแห่งความจริง เพื่อความเพลิดเพลิน เพื่อปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เพื่อความผ่อนคลาย เพื่อการแสวงหาข้อมูลและเพื่อการเรียนรู้เนื้อหาตาม ความสนใจ ความพึงพอใจ หมายถึง การที่ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครได้รับการตอบสนองใน ด้านการฆ่าเวลา เอาไว้เป็นเพื่อน สร้างความตื่นเต้น หลีกหนีจากโลกแห่งความจริง ความเพลิดเพลิน ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ความผ่อนคลาย การแสวงหาข้อมูลและการเรียนรู้เนื้อหาตามความสนใจจาก การได้ใช้อินสตาแกรม
  • 12. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1. ได้ทราบถึงพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร 2. ได้ทราบถึงความคาดหวังและความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร 3. สามารถนาผลจากงานวิจัยนาไปใช้ประโยชน์ต่อ นักการตลาด นักโฆษณา นักการสื่อสารนักประชาสัมพันธ์ หอผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางสาหรับการวางแผนพัฒนากลยุทธ์ทางการสื่อสารในเครือข่ายสังคมออนไลน์ ผ่านแอพลิดชั่นอินสตาแกรม ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  • 13. งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาวิจัยในหัวข้อ "ความคาดหวัง พฤติกรรมการใช้ และความพึงพอใจของประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่ออินสตาแกรม" ผู้วิจัย เลือกงานวิจัยที่มีส่วนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งงานวิจัยที่นามาใช้เป็นแนวทางในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ อาไพศรี โสประทุม (2539) ทาการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสารและปัจจัยบางประการที่มีผลต่อการยอมรับการสื่อสารคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมมีความสัมพันธ์ในการยอมรับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยที่กรศึกษามีความสัมพันธ์กับการที่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตช่วยในการทางาน รายได้ต่อเดือนมีความสัมพันธ์กับความต้องการในอนาคต การเป็นเจ้าของมี ความสัมพันธ์กับความถี่บ่อยในการใช้อินเทอร์เน็ต การช่วยพัฒนาในการทางาน และความต้องการใช้ในอนาคต ธมลวรรณ กาญจนวิจิตร (2556) ทาการศึกษาเรื่อง "รูปแบบการดาเนินชีวิต ทัศนคติและแนวโนมพฤติกรรมในการใช้สินค้าที่ปรากฎบนสื่ออินสตาแก รมของบุคคลที่มีชื่อเสียง" จการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รู้สึกว่าการนาเสนอสินค้าผ่านสื่ออินสตาแกรมของบุคคลทิมชื่อเสียง ทาให้สินค้าดูมีความน่าสนใจ รองลงมาคือ การนาเสนอสินค้าผ่านสื่ออินสตาแกรมของบุคคลที่มีชื่อเสียง ทาให้สมารถจดจารูปร่าง ลักษณะและหีบห่อของสินค้าได้ คือ การนาเสนอสินค้าผ่านสื่อ อินสตาแกรมของบุคคลที่มีชื่อเสียงทาให้สินค้าดูมีความน่าเชื่อถือ จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า ในปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของคนไทย ทาให้ผู้วิจัยเลือกที่จะทาการศึกษา พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ทั้งพฤติกรมการเปิดรับ พฤติกรมการใช้งาน ทัศนคติตง ๆ ที่มีต่อการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ด้วยเหตุนี้เอง ผู้วิจัยจึงเลือกที่จะศึกษาพฤติกรรมการใช้ ความคาดหวัง และความพึงพอใจของประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่ออินสตาแกรม เนื่องจาก อินสตาแกรมเป็นแอพพลิเคชัน ที่กาลังได้รับความนิยมอย่างมากในสังคมไทย ผู้วิจัยจึงมีความสนใจว่าที่จะศึกษาในเรื่องดังกล่าว และได้นางานวิจัยที่เกี่ยวข้องข้างต้น มาเป็นแนวทางในการวิจัยนี้
  • 15. วิธีการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) และแบบสัมภาษณ์(Interview) ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยศึกษาจากเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดและทฤษฎีเพื่อให้ครอบคลุมประเด็นมากที่สุด ลักษณะของแบบสอบถามเป็นแบบปลายปิด (Close- Ended Questions) แบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 คาถามเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ อายุ การศึกษา รายได้ อาชีพ สถานภาพสมรส เป็นคาถามปลายปิดแบบลักษณะตรวจสอบ รายการ (Check Lists) ตอนที่ 2 คาถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม เป็นคาถามแบบเลือกตอบ ลักษณะแบบตรวจสอบรายการ (Check Lists) แบบสอบถามที่มีลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด โดยกาหนดและแปล ความหมายของคะแนนดังนี้ มากกว่า 10 ครั้งต่อวัน 5 คะแนน 6-10 ครั้ง 4 คะแนน 1-5 ครั้ง 3 คะแนน สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง 2 คะแนน น้อยกว่าสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 1 คะแนน
  • 16. วิธีการวิจัย ตอนที่ 3 คาถามแบบปลายปิดเกี่ยวกับความคาดหวังต่อการใช้อินสตาแกรม เป็นแบบสอบถามที่มีลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด เป็นการวัดโดยใช้มาตราวัดแบบ Likert Scale โดยกาหนดและแปล ความหมายของคะแนนดังนี้ ระดับคะแนน 5 หมายถึง มากที่สุด ระดับคะแนน 4 หมายถึง มาก ระดับคะแนน 3 หมายถึง ปานกลาง ระดับคะแนน 2 หมายถึง น้อย ระดับคะแนน 1 หมายถึง น้อยที่สุด ผู้วิจัยได้กาหนดระดับการประเมินเป็น 5 ระดับ ตั้งแต่ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด กาหนดออกเป็น 5 ช่วง ในแต่ละช่วงมีคะแนนห่างเท่า ๆ กันด้วยการกาหนดใช้ค่าเฉลี่ย และนาค่าเฉลี่ยที่คานวณได้มาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนดไว้ โดยถืออัตราการแปลผลของค่าเฉลี่ย (X) แบ่งเป็น 5 ระดับ ไว้ดังนี้
  • 17. วิธีการวิจัย ตอนที่ 5 คาถามแบบปลายปิดเกี่ยวกับความพึงพอใจที่มีอินสตาแกม เป็นแบบสอบถามที่ มีลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และ น้อยที่สุด เป็นการวัดโดยใช้มาตราวัดแบบ Likert Scale ตอนที่ 6 คาถามปลายเปิดเป็นคาถามแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51-5.00 แทนระดับ มากที่สุด ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51-4.50 แทนระดับ มาก ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.51-3.50 แทนระดับ ปานกลาง ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51-2.50 แทนระดับ น้อย ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00-1.50 แทนระดับ น้อยที่สุด การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ข้อมูลจากเอกสาร ศึกษาจากตาร เอกสาร บทความ ทฤษฎีหลักการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. ผู้วิจัยดาเนินการส่งแบบสอบถามให้กับผู้ตอบแบบสอบถามตามจานวนในแต่ละเขตที่ได้เป็นตัวแทนกลุ่มตัวอย่างพร้อมทั้งชี้แจงข้อมูลและ รอเก็บแบบสอบถามด้วยตนเองตามพื้นที่ในการวิจัย 3. เมื่อผู้วิจัยรวบวมแบบสอบถามได้ทั้งหมดแล้ว ทาการตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณ์ของแบบสอบถาม เพื่อทาการวิเคราะห์ข้อมูลตามขั้นตอนต่อไป
  • 18.
  • 19.
  • 20. สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การศึกษาเรื่อง "ความคาดหวัง พฤติกรรมการใช้ และความพึงพอใจ ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่ออินสตาแกรม“ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research Method) โดยผู้วิจัยได้นาเอาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องมาใช้เป็นกรอบในการศึกษาและเป็นแนวทางในการออกแบบข้อคาถาม ได้แก่ แนวคิดเกี่ยวกับอินสตาแกรม ทฤษฎีความคาดหวังจากสื่อ และ ทฤษฎีการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยเริ่มทาการรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนเมษายน ถึงเดือนพฤษภาคม 2557 จากกลุ่มตัวอย่างที่อาศัยอยู่ในจังหวัดกรุงเทพมหานครและใช้อินสตาแกรม จานวน 400 คน โดใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ เจาะจง(purposivesampling) โดยเก็บข้อมูลเฉพาะผู้ใช้อินสตาแกรม ในแต่ละเขตและเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างให้ครบตามจานวนที่ กาหนดการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลดาเนินการโดยใช้การหาดทางสถิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป spssโดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา
  • 21. สรุปผลการวิจัย ผู้วิจัยได้สรุปผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้คือ คุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะทางประขากรของกลุ่มตัวอย่าง จากกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 400 คนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 68.0 อายุ 25-28 ปี ร้อยละ 33.0 การศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 54.3มีรายได้อยู่ในช่วง ไม่เกิน 5,000 บาท ร้อยละ 19.0 ประกอบ อาชีพพนักงาน / ลูกจ้างเอกชน ร้อยละ41.0 และมีสถานภาพโสด ร้อยละ 91.3 พฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความถี่ของการใช้อินสตาแกรมอยู่ในช่วง 1-5ครั้ง/วัน คิดเป็นร้อยละ 41.8 ช่วง ระยะเวลาที่กลุ่มตัวอย่างใช้มากที่สุด คือ ช่วงระยะเวลา 1-5 นาทีร้อยละ 39.5 ช่วงเวลาที่กลุ่มตัวย่างเข้าใช้อินสตาแกรมมากที่สุด คือ ช่วงเวลา 20:01-23:00 น. ร้อยละ27.5 สถานที่ที่กลุ่มตัวอย่างเข้าใช้อินสตาแกรมมากที่สุด คือ บ้าน คิดเป็น ร้อยละ 68.0 เครื่องมือใน อินสตาแกรมที่กลุ่มตัวอย่างใช้บ่อยครั้งที่สุด คือ ดูรูปภาพทั่วไป (Home) โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 4.50
  • 22. ความคาดหวังที่มีต่อการใช้อินสตาแกรม ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมเพื่อความบันเทิงและเพื่อผ่อนคลายมากที่สุด โดยมี ค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 4.06 เท่กัน ซึ่งจัดอยู่ในความคาดหวังระดับ มาก รองลงมาคือ ความคาดหวังว่าใช้เป็นกิจกรรมยามว่าง โดยมี ค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 3.77ซึ่งจัดอยู่ในระดับมาก เช่นกัน อันดับต่อมาคือ แก้เบื่อ โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 3.76 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ มาก เช่นกัน และสิ่งที่กลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังน้อยที่สุด คือ เป็นช่องทางในการขายสินค้า โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 1.90 ซึ่งจัดอยู่ ในระดับน้อย ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความคาดหวังที่มีตการใช้อินสตาแกรมอยู่ที่ 3.18 ซึ่งจัดอยู่ในระดับปานกลาง ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้อินสตาแกรม ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมของกลุ่มตัวอย่าง คือ ความบันเทิงมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ ที่ 3.90 ซึ่งจัดอยู่ในความพึงพอใจระดับ มาก รองลงมาคือความพึงพอใจจากการดูรูปภาพ/ภาพถ่ายเพื่อผ่อนคลาย โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนน อยู่ที่ 3.81 ซึ่งจัดอยู่ในระดับมาก เช่นกัน อันดับต่อมาคือ ความพึงพอใจจากการใช้เป็นกิจกรรมทายามว่าง โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 3.66 ซึ่งจัดอยู่ในระดับมาก เช่นกัน และสิ่งที่กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ การใช้เป็นช่องทางการขายสิค้า โดยมีค่าเฉลี่ยของ คะแนนอยู่ที่ 208 ซึ่งจัดอยู่ในระดับน้อย ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมอยู่ที่ 3.25 ซึ่งจัดอยู่ ในระดับปานกลาง
  • 23. และจำกกำรทดสอบสมมติฐำนงำนวิจัยพบว่ำ 1. ประชกรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกัน มีพฤติกรรม การใช้อินตาแกม (ความถี่ ครั้งวัน) ที่แตกต่างกัน ผลจกการทดสอบสมมติฐานพบว่า 1.1เพศที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม (ความถี่ ครั้ง/วัน)ไม่แตกต่างกัน 1.2 ช่วงอายุที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม (ความถี่ ครั้ง/วัน)ไม่แตกต่างกัน 1.3 อาชีพที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม (ความถี่ ครั้งวัน) แตกต่างกัน 1.4 ช่วงรายได้ที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม (ความถี่ ครั้ง/วัน)ไม่แตกต่างกัน 1.5 ระดับการศึกษที่แตกต่างกันมีพฤติกรมการใช้อินสตาแกรม (ความถี่ ครั้ง/วัน)ไม่แตกต่างกัน 1.6 สถานภาพสมรสที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรม (ความถี่ ครั้ง/วัน)ไม่แตกต่างกัน 2. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกันมีความคาดหวังต่อการใช้อินสตาแกรมที่แตกต่างกัน 2.1 เพศที่แตกต่างกันมีความคาดหวังต่อการใช้อินสตาแกรม ไม่แตกต่างกัน 2.2 ช่วงอายุที่แตกต่างกันมีความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน 2.3 อาชีพที่แตกต่างกันมีความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน
  • 24. 2.4 ช่วงรายได้ที่แตกต่างกันมีความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมไม่แตกต่างกัน 2.5 ระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน 2.6 สถานภาพสมรสที่แตกต่างกันมีความคาดหวังจากการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน 3. ประชากรในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกัน มีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมที่แตกต่างกัน 3.1 เพศที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมไม่แตกต่างกัน 3.2 ช่วงอายุที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน 3.3 อาชีพที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมไม่แตกต่างกัน 3.4 ช่วงรายได้ที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมไม่แตกต่างกัน 3.5 ระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจจากกาใช้อินสตาแกรมแตกต่างกัน 3.6 สถานภาพสมรสที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรม 4. ความคาดหวังที่มีต่อการใช้อินสตาแกรมไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ 5. พฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมไม่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรม 6. ความคาดหวังที่มีต่อการใช้อินสตาแกรมมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรม และจำกกำรทดสอบสมมติฐำนงำนวิจัยพบว่ำ
  • 25. ข้อเสนอแนะ 1. จากผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้อินสตาแกรมในลักษณะของการดูรูปภาพทั่วไปอยู่ในระดับมาก และกลุ่มตัวอย่างส่วน ใหญ่มีความคาดหวังและความพึงพอใจที่มีต่ออินสตาแกรม คือ เพื่อความเพลิดเพลินและเพื่อการผ่อนคลาย อยู่ในระดับมากด้วยเช่นกัน ดังนั้น ข้อมูลในส่วนนี้แสดงให้เห็น ว่า ผู้ที่ใช้อินสตาแกรมส่วนใหญ่ใช้อินสตาแกรมเพื่อความคาดหวังในด้านความเพลิดเพลินและผ่อนคลาย ดังนั้น อินสตาแกรมจึงเหมาะสาหรับการใช้งานเพื่อความ เพลิดเพลินและความผ่อนคลายมากกว่าการมุ่งเน้นข้อมูลบ่าวสารต่าง ๆ ดังนั้นผู้ที่ใช้อินสตาแกรมเพื่อประโยชน์ในด้านต่าง ๆ จึงควรให้ความสนใจและใช้อินสตาแกรมให้ เหมาะสมกับความต้องการของผู้ที่ใช้งานอย่างแท้จริง 2. จากผลการศึกษา พบว่า ผู้ที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกัน ทั้ง อายุ อาชีพระดับการศึกษา ล้วนมีผลต่อกาพฤติกรรมการใช้งานทั้งสิ้น ในส่วนนี้เอง งานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักการตลาด ผู้ประกอบการต่าง ๆ สามารถทาการตลาดและใช้ช่องทางอินสตาแกรมให้เกิดประโยชน์สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่ม ตัวอย่าง 3. ในยุคที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทอย่างมากในปัจจุบัน จากผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังและความพึงพอใจที่มีต่อการใช้อินสตาแกรม เพื่อความบันเทิง เพื่อความผ่อนคลายและเพื่อฆ่าเวลาอยู่ในระดับมาก ซึ่งตรงกับยุคสมัยในปัจจุบันที่กลุ่มตัวอย่างเลือกที่จะผ่อนคลายและความบันเทิงจกเทคโนโลยี อย่าง สมาร์ทโฟน ต่างจากในอดีตที่สมาร์ทโฟนยังไม่มีบทบาทในชีวิตประจาวัน กิจกรรมในยามว่างอาจจะก่อให้เกิดประโยชน์มากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบันได้แก่ การอ่านหนังสือ การเล่นกีฬา หรือกิจกรรมสันทนาการอื่น ๆ ที่ทาให้ผู้เปิดรับเกิดความผ่อนคลายได้เช่นกัน ผู้วิจัยจึงอยากเสนอแนะให้ มีกากับดูแลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนใน ปัจจุบัน ให้หันมาให้ความสนใกับกิจกรรมที่ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง เนื่องจากพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนั้นอาจก่อให้เกิดการติดสมาร์ทโฟนและอาจส่งผลต่อ สุขภาพได้
  • 26. ข้อเสนอสาหรับงานวิจัยครั้งต่อไป 1. ศึกษาเพิ่มเติมในด้านปัญหาและผลกระทบจากการใช้อินสตาแกรม เช่น ปัญหาความเป็นส่วนตัว 2. ศึกษาเจาะลึกลไปในรายละเอียดของแต่ละรูปภาพที่กลุ่มตัวอย่างเปิดรับ เพื่อศึกษาความต้องการที่แท้จริงว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังและความพึงพอใจจากการใช้อินสตาแกรมเป็นอย่างไร 3. ศึกษางานวิจัยเพิ่มเติมโดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ และใช้การสัมภาษณ์แบบเชิงลึกเพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่ ละเอียดและลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น