SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ซินเนสทีเซียอาการผิดปกติที่เหมือนพลังวิเศษ
ชื่อผู้ทำโครงงาน
ชื่อ นางสาว ไพลิน บุญทอง เลขที่ 43 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาว ไพลิน บุญทอง เลขที่ 43
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ซินเนสทีเซียอาการผิดปกติที่เหมือนพลังวิเศษ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Synesthesia like magical power
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Education media)
ชื่อผู้ทำโครงงาน นางสาว ไพลิน บุญทอง ชั้น ม.6/5 เลขที่ 43
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ถึง ภาคเรียนที่ 2
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ผู้จัดทำโครงงานได้ติดตาม youtuber ชื่อดังคนหนึ่ง ซ่ึงมีอยู่คลิปหนึ่งที่เขาได้เชิญ “ พิมฐา ฐานิดา
มานะเลิศ เรืองกุล ” เน็ตไอดอลสาวสวยไปเป็นแขกรับเชิญให้กับเขา (ทั้งคู่เป็นเพื่อนสนิทกัน) ซึ่งในคลิปมีช่วงที่
ได้พูดคุยใน หัวข้อ “ ขอความลับ 1 อย่าง ” ซึ่งความลับของพิมฐาก็ทำให้อยากรู้ว่า โรคที่เธอเป็น มีที่มาอย่างไร
ทำไมถึงเป็นได้ มันอันตรายหรือเปล่า แล้วสามารถดำเนินชีวิตประจำได้หรือไม่ พิมฐาบอกว่า เธอมีอาการซินเนสทีเซีย
พิมฐาได้เล่าว่า จริงๆแล้วที่เธอได้ศึกษาอาการที่เธอเป็น พบว่ามีคนที่มี อาการแบบเธอเยอะมาก คือมันไม่ใช่การมอง
ตัวอักษรเป็นสี แต่มันเป็นจิตใต้สำนึกที่ค่อยบอกเราว่าสีนี้มันมาคู่กับ ตัวอักษรตัวนี้ โดยกำเนิดและไม่สามารถที่จะ
เปลี่ยนสีนี้ได้ไปตลอดชีวิต เช่น พิมฐาบอกว่า เธอมองเห็นพยัญชนะ ก เป็นสีชมพูมาตั้งแต่เด็ก เราไม่ได้เห็นตัวนี้แล้ว
เห็นเป็นสี แต่เราเห็นตัวนี้แล้วเรานึกถึงสี อย่างการเลือกป้ายทะเบียน รถพิมฐาบอกว่า การเลือกเราไม่ได้เอาแบบที่
เราจำได้ แต่เราเลือกเพราะเราเห็นสีที่เรียงกันแล้วออกมาสวย เธอยัง บอกอีกว่าเธอเห็นสีแค่ ตัวอักษรภาษาไทย
อังกฤษ ญี่ปุ่น และตัวเลข แต่สระไม่เห็น ซึ่งอาการของเธอถือว่าเป็นอาการ ที่เบสิคมาก หลังจากผู้จัดทำโครงงาน
ได้ดูคลิปจบ ผู้จัดทำโครงงานสนใจในอาการนี้มากเพราะอาการซินเนสทีเซียเป็นอาการที่ผิดปกติแต่กลับดูเป็น
สิ่งมหัศจรรย์ราวกับว่ามีพลังวิเศษในตัว ผู้จัดทำโครงงานจึงตัดสินใจศึกษาเกี่ยวกับ อาการซินเนสทีเซีย
วัตถุประสงค์
1.ศึกษาอาการที่แสดงออกมาของโรคซินเนสทีเซีย
2.ศึกษาวิธีการดูแลรักษา
3.ศึกษาประเภทของโรคซินเนสทีเซีย
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาอาการที่แสดงออกมาของโรคซินเนสทีเซีย วิธีการดูแลรักษา ประเภทของโรคซินเนสทีเซีย
3
หลักการและทฤษฎี
นายแพทย์ริชาร์ด อี ไซโทวิค (Richard E. Cytowic, MD) ผู้เชี่ยวชาญเรื่องซินเนสทีเซีย และผู้แต่งหนังสือ
‘The Man Who Tasted Shapes’ (‘ชายผู้ลิ้มรสเป็นรูปรา่ง’) เผยข้อมูลว่า โอกาสที่จะพบคนมีอาการซินเนสทีเซียมี
ประมาณ 1 ใน 25,000 คน
ปกติแล้ว ร่างกายมนุษย์เราจะรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 นั่นคือ การมองเห็น, การดมกลิ่น, การลิ้มรส,
การ สัมผัส และการได้ยิน แต่หากวันหนึ่ง ตื่นขึ้นมาแล้วพบว่า เรามีสัมผัสพิเศษเพิ่มเข้ามาในร่างกาย สัมผัสพิเศษที่ว่า
คือ ‘การรับรู้ข้ามช่องสัมผัส’ อย่างการมองเห็นเชื่อมการฟัง การสัมผัสไปเชื่อมกับรสชาติ อาการเหล่านี้ เรียกว่า
‘ซินเนส ทีเซีย’
อาการซินเนสทีเซีย เป็นอาการที่เกิดจากการทำงานของสมองที่ เชื่อมต่อกันผิดพลาดของ ส่วนที่รับรู้ รสชาติ
กลิ่น เสียงทำให้ เวลาได้ยินจึงเห็นเป็นสี เวลาสัมผัสแล้วเห็นเป็นรูปสต่างๆ เวลาเห็นแล้วนึกถึงเป็นรสชาตติา่ง ๆ โดย
อาการที่พบบ่อยที่สุดคือ เห็นตัวเลขหรือตัวอักษรเป็นสี (colored letters and numbers) และได้ยินเสียงเป็นสี
(colored hearing) ส่วนอาการที่รับรู้มากกว่าการเห็นสีที่ผู้มีอาการไม่สามารถบอกใครได้ คือ “การได้ยินเสียงเพลง
แล้วรู้สึกว่า สีนี้สวยดีเนอะ” หรือ “ไอ้ขนมนี้ รสชาติมันเหลี่ยมๆคมๆ” หรือจะ “อาการของคนที่ได้ยินเสียงเพลง แล้ว
รู้สึกรับรู้ถึงแรงสัมผัส” นั่นเอง
ซินเนสทีเซียสามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ เช่น ในกรณีของนักเขียนชาวรัสเซียคนหนึ่งชื่อ วลาดีมีร์
นาโบ คอฟ (Vladimir Nabokov) นั้น ตอนเด็กๆ เคยบ่นกับคุณแม่ของเขาว่า ใครกันนะทำตัว A มาผิดสี เพราะตัว A
ใน ความคิดของเขานั้นต้องเป็นสีน้ำเงิน ไม่ใช่สีแดง ฝ่ายคุณแม่ของเด็กน้อย เมื่อได้ยินเช่นนั้น แทนที่จะว่าลูกเพี้ยน
เธอ กลับเข้าใจเป็นอย่างดี เพราะเธอเองก็เป็นซินเนสทีเซียเช่นเดียวกัน ต่อมาเมื่อวลาดีมีร์ นาโบคอฟ มีลูกชาย
ก็พบว่าลูก ชายก็เป็นอีก เรียกว่าครอบครัวนี้มีประสบการณ์พิเศษเรียงติดกันถึง 3 รุ่น ซินเนสทีเซียเป็น
สัมผัสที่ซับซ้อนมากกว่าปกติ จึงสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกผัสสะทั้ง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เชื่อมโยงกันไปเป็น
ลักษณะพิเศษของแต่ละคน รูปแบบการเกิดซินเนสทีเซียไม่มีความแน่นอน และในคนคนเดียวยัง อาจเกิด
ซินเนสทีเซียได้หลายรูปแบบด้วย
เพื่อให้การศึกษาซินเนสทีเซียเป็นเรื่องง่าย Dr. Ashok Jansari หัวหน้าทีมวิจัยจากสถาบันจิตเวชแห่ง
University of East London ได้กำหนดโครงสร้างรูปแบบการเกิดซินเนสทีเซียไว้ 4 กลุ่ม ดังนี้
1.Grapheme – colour synesthesia คือ กลุ่มที่เห็นตัวหนังสือหรือตัวเลขเป็นสี
2.Taste–touch synaesthesia คือ กลุ่มที่เกิดความรู้สึกต่างๆจากการลิ้มรสชาติ
3.Sound–colour synaesthesia คือ กลุ่มที่เสียงเพลง เสียงดนตรีหรือตัวโน้ตทำให้เห็นเป็นสี
4.Word–taste synesthesia คือ กลุ่มที่สัมผัสรสชาติได้จากตัวอักษร ตัวหนังสือ
4
วิธีดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินงาน
1. เลือกหัวข้อที่สนใจจะศึกษา
2. ศึกษาและรวบรวมข้อมูล
3. ทำโครงร่างรายงาน
4. สรุปผลการทดลอง
5. แก้ไขและปรับปรุงข้อมูล
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -
งบประมาณ -
ขั้นตอนและแผนดำเนินงาน
ลำ
ดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทำโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทำเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นำเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้รู้อาการที่แสดงออกมาของโรคซินเนสทีเซีย
2.รู้วิธีการดูแลรักษาที่ถูกต้อง
3.สามารถแยกประเภทของโรคซินเนสทีเซียได้
สถานที่ดำเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระสุขศึกษา
2.กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
5
แหล่งอ้างอิง
- https://witcast.wordpress.com/tag/
- https://goodlifeupdate.com/healthy-body/121291.html
- https://th.thpanorama.com/articles/trastornos-mentalespsicopatologa/qu-es-la-sinestesia-
caractersticas-tipos-y-funcionamiento.html
- https://urbancreature.co/synesthesia/

More Related Content

Similar to 2562 final-project 605-43

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานkornvipa
 
2562 final-project 605-10
2562 final-project 605-102562 final-project 605-10
2562 final-project 605-10buakhamlungkham
 
โครงงาน607
โครงงาน607โครงงาน607
โครงงาน607adthakron09
 
โครงร่าง งานคอม 2560
โครงร่าง งานคอม 2560โครงร่าง งานคอม 2560
โครงร่าง งานคอม 2560Dduang07
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวKaembum Soraya
 
งานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นงานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นan paan
 
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลายเอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลายpeter dontoom
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานssuseraff7e6
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanwarath Khemthong
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610CUPress
 

Similar to 2562 final-project 605-43 (20)

2562 final-project 03-sirasorn
2562 final-project  03-sirasorn2562 final-project  03-sirasorn
2562 final-project 03-sirasorn
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2562 final-project 605-10
2562 final-project 605-102562 final-project 605-10
2562 final-project 605-10
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงาน607
โครงงาน607โครงงาน607
โครงงาน607
 
โครงร่าง งานคอม 2560
โครงร่าง งานคอม 2560โครงร่าง งานคอม 2560
โครงร่าง งานคอม 2560
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
 
งานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นงานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้น
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1
 
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลายเอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32
 
Brains power point
Brains power pointBrains power point
Brains power point
 
การใช้เหตุผล
การใช้เหตุผลการใช้เหตุผล
การใช้เหตุผล
 

2562 final-project 605-43

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ซินเนสทีเซียอาการผิดปกติที่เหมือนพลังวิเศษ ชื่อผู้ทำโครงงาน ชื่อ นางสาว ไพลิน บุญทอง เลขที่ 43 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาว ไพลิน บุญทอง เลขที่ 43 ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ซินเนสทีเซียอาการผิดปกติที่เหมือนพลังวิเศษ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Synesthesia like magical power ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Education media) ชื่อผู้ทำโครงงาน นางสาว ไพลิน บุญทอง ชั้น ม.6/5 เลขที่ 43 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ถึง ภาคเรียนที่ 2 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน ผู้จัดทำโครงงานได้ติดตาม youtuber ชื่อดังคนหนึ่ง ซ่ึงมีอยู่คลิปหนึ่งที่เขาได้เชิญ “ พิมฐา ฐานิดา มานะเลิศ เรืองกุล ” เน็ตไอดอลสาวสวยไปเป็นแขกรับเชิญให้กับเขา (ทั้งคู่เป็นเพื่อนสนิทกัน) ซึ่งในคลิปมีช่วงที่ ได้พูดคุยใน หัวข้อ “ ขอความลับ 1 อย่าง ” ซึ่งความลับของพิมฐาก็ทำให้อยากรู้ว่า โรคที่เธอเป็น มีที่มาอย่างไร ทำไมถึงเป็นได้ มันอันตรายหรือเปล่า แล้วสามารถดำเนินชีวิตประจำได้หรือไม่ พิมฐาบอกว่า เธอมีอาการซินเนสทีเซีย พิมฐาได้เล่าว่า จริงๆแล้วที่เธอได้ศึกษาอาการที่เธอเป็น พบว่ามีคนที่มี อาการแบบเธอเยอะมาก คือมันไม่ใช่การมอง ตัวอักษรเป็นสี แต่มันเป็นจิตใต้สำนึกที่ค่อยบอกเราว่าสีนี้มันมาคู่กับ ตัวอักษรตัวนี้ โดยกำเนิดและไม่สามารถที่จะ เปลี่ยนสีนี้ได้ไปตลอดชีวิต เช่น พิมฐาบอกว่า เธอมองเห็นพยัญชนะ ก เป็นสีชมพูมาตั้งแต่เด็ก เราไม่ได้เห็นตัวนี้แล้ว เห็นเป็นสี แต่เราเห็นตัวนี้แล้วเรานึกถึงสี อย่างการเลือกป้ายทะเบียน รถพิมฐาบอกว่า การเลือกเราไม่ได้เอาแบบที่ เราจำได้ แต่เราเลือกเพราะเราเห็นสีที่เรียงกันแล้วออกมาสวย เธอยัง บอกอีกว่าเธอเห็นสีแค่ ตัวอักษรภาษาไทย อังกฤษ ญี่ปุ่น และตัวเลข แต่สระไม่เห็น ซึ่งอาการของเธอถือว่าเป็นอาการ ที่เบสิคมาก หลังจากผู้จัดทำโครงงาน ได้ดูคลิปจบ ผู้จัดทำโครงงานสนใจในอาการนี้มากเพราะอาการซินเนสทีเซียเป็นอาการที่ผิดปกติแต่กลับดูเป็น สิ่งมหัศจรรย์ราวกับว่ามีพลังวิเศษในตัว ผู้จัดทำโครงงานจึงตัดสินใจศึกษาเกี่ยวกับ อาการซินเนสทีเซีย วัตถุประสงค์ 1.ศึกษาอาการที่แสดงออกมาของโรคซินเนสทีเซีย 2.ศึกษาวิธีการดูแลรักษา 3.ศึกษาประเภทของโรคซินเนสทีเซีย ขอบเขตโครงงาน ศึกษาอาการที่แสดงออกมาของโรคซินเนสทีเซีย วิธีการดูแลรักษา ประเภทของโรคซินเนสทีเซีย
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี นายแพทย์ริชาร์ด อี ไซโทวิค (Richard E. Cytowic, MD) ผู้เชี่ยวชาญเรื่องซินเนสทีเซีย และผู้แต่งหนังสือ ‘The Man Who Tasted Shapes’ (‘ชายผู้ลิ้มรสเป็นรูปรา่ง’) เผยข้อมูลว่า โอกาสที่จะพบคนมีอาการซินเนสทีเซียมี ประมาณ 1 ใน 25,000 คน ปกติแล้ว ร่างกายมนุษย์เราจะรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 นั่นคือ การมองเห็น, การดมกลิ่น, การลิ้มรส, การ สัมผัส และการได้ยิน แต่หากวันหนึ่ง ตื่นขึ้นมาแล้วพบว่า เรามีสัมผัสพิเศษเพิ่มเข้ามาในร่างกาย สัมผัสพิเศษที่ว่า คือ ‘การรับรู้ข้ามช่องสัมผัส’ อย่างการมองเห็นเชื่อมการฟัง การสัมผัสไปเชื่อมกับรสชาติ อาการเหล่านี้ เรียกว่า ‘ซินเนส ทีเซีย’ อาการซินเนสทีเซีย เป็นอาการที่เกิดจากการทำงานของสมองที่ เชื่อมต่อกันผิดพลาดของ ส่วนที่รับรู้ รสชาติ กลิ่น เสียงทำให้ เวลาได้ยินจึงเห็นเป็นสี เวลาสัมผัสแล้วเห็นเป็นรูปสต่างๆ เวลาเห็นแล้วนึกถึงเป็นรสชาตติา่ง ๆ โดย อาการที่พบบ่อยที่สุดคือ เห็นตัวเลขหรือตัวอักษรเป็นสี (colored letters and numbers) และได้ยินเสียงเป็นสี (colored hearing) ส่วนอาการที่รับรู้มากกว่าการเห็นสีที่ผู้มีอาการไม่สามารถบอกใครได้ คือ “การได้ยินเสียงเพลง แล้วรู้สึกว่า สีนี้สวยดีเนอะ” หรือ “ไอ้ขนมนี้ รสชาติมันเหลี่ยมๆคมๆ” หรือจะ “อาการของคนที่ได้ยินเสียงเพลง แล้ว รู้สึกรับรู้ถึงแรงสัมผัส” นั่นเอง ซินเนสทีเซียสามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ เช่น ในกรณีของนักเขียนชาวรัสเซียคนหนึ่งชื่อ วลาดีมีร์ นาโบ คอฟ (Vladimir Nabokov) นั้น ตอนเด็กๆ เคยบ่นกับคุณแม่ของเขาว่า ใครกันนะทำตัว A มาผิดสี เพราะตัว A ใน ความคิดของเขานั้นต้องเป็นสีน้ำเงิน ไม่ใช่สีแดง ฝ่ายคุณแม่ของเด็กน้อย เมื่อได้ยินเช่นนั้น แทนที่จะว่าลูกเพี้ยน เธอ กลับเข้าใจเป็นอย่างดี เพราะเธอเองก็เป็นซินเนสทีเซียเช่นเดียวกัน ต่อมาเมื่อวลาดีมีร์ นาโบคอฟ มีลูกชาย ก็พบว่าลูก ชายก็เป็นอีก เรียกว่าครอบครัวนี้มีประสบการณ์พิเศษเรียงติดกันถึง 3 รุ่น ซินเนสทีเซียเป็น สัมผัสที่ซับซ้อนมากกว่าปกติ จึงสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกผัสสะทั้ง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เชื่อมโยงกันไปเป็น ลักษณะพิเศษของแต่ละคน รูปแบบการเกิดซินเนสทีเซียไม่มีความแน่นอน และในคนคนเดียวยัง อาจเกิด ซินเนสทีเซียได้หลายรูปแบบด้วย เพื่อให้การศึกษาซินเนสทีเซียเป็นเรื่องง่าย Dr. Ashok Jansari หัวหน้าทีมวิจัยจากสถาบันจิตเวชแห่ง University of East London ได้กำหนดโครงสร้างรูปแบบการเกิดซินเนสทีเซียไว้ 4 กลุ่ม ดังนี้ 1.Grapheme – colour synesthesia คือ กลุ่มที่เห็นตัวหนังสือหรือตัวเลขเป็นสี 2.Taste–touch synaesthesia คือ กลุ่มที่เกิดความรู้สึกต่างๆจากการลิ้มรสชาติ 3.Sound–colour synaesthesia คือ กลุ่มที่เสียงเพลง เสียงดนตรีหรือตัวโน้ตทำให้เห็นเป็นสี 4.Word–taste synesthesia คือ กลุ่มที่สัมผัสรสชาติได้จากตัวอักษร ตัวหนังสือ
  • 4. 4 วิธีดำเนินงาน แนวทางการดำเนินงาน 1. เลือกหัวข้อที่สนใจจะศึกษา 2. ศึกษาและรวบรวมข้อมูล 3. ทำโครงร่างรายงาน 4. สรุปผลการทดลอง 5. แก้ไขและปรับปรุงข้อมูล เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดำเนินงาน ลำ ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทำโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทำเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นำเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้รู้อาการที่แสดงออกมาของโรคซินเนสทีเซีย 2.รู้วิธีการดูแลรักษาที่ถูกต้อง 3.สามารถแยกประเภทของโรคซินเนสทีเซียได้ สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระสุขศึกษา 2.กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
  • 5. 5 แหล่งอ้างอิง - https://witcast.wordpress.com/tag/ - https://goodlifeupdate.com/healthy-body/121291.html - https://th.thpanorama.com/articles/trastornos-mentalespsicopatologa/qu-es-la-sinestesia- caractersticas-tipos-y-funcionamiento.html - https://urbancreature.co/synesthesia/