SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
ครู สุขุมาล เอกะโยธิน
หน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆ
• เลนส์ตา เป็นเซลล์นูนรับแสงจากวัตถุที่ต้องการมองเห็น
• เรตินา เป็นเซลล์รับภาพของวัตถุ แล้วส่งผ่านประสาทตาไปยัง
สมอง
• ม่านตา ทาหน้าที่ปรับความเข็มของแสงไปตกลงบนเรตินาให้
เหมาะสม
• พิวพิล เป็นช่องเปิดวงกลมที่สามารถปรับความกว้างได้ด้วยม่านตา
• กระจกตา อยู่ด้านนอกสุดทาหน้าที่เป็นส่วนป้ องกันลูกตา
ดวงตากับการมองเห็น
การมองเห็นจะเกิดขึ้นได้เมื่อมีแสงจากวัตถุที่เรากาลังมองอยู่
ตกกระทบกับตัวรับภาพในดวงตา (photoreceptor) และส่ง
ข้อมูลไปยังสมอง สมองส่วนรับภาพจะจัดเรียงแปลผลข้อมูล
และสร้างเป็นภาพให้รู้สึกมองเห็นได้ ส่วนสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวเช่น
พวกโพรโทซัว แบคทีเรีย จะตอบสนองต่อแสงสว่างได้แต่ไม่มี
อวัยวะรับภาพ
ภาพกับการมองเห็น
เซลล์รูปแท่ง (Rod Cell) เป็นเซลล์ที่ทาหน้าที่รับแสงสว่างให้ความรู้สึกเกี่ยวกับ
ความมืดความสว่าง
เซลล์รับแสงรูปกรวย(Cone cell) เป็นเซลล์ที่ทาให้เกิดความรู้สึกเกี่ยวกับสี
ประเภทของเซลล์รับแสงรูปกรวย มี 3 ชนิด ได้แก่
1) เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีน้าเงิน
2) เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีเขียว
3) เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดง
การเห็นสีของวัตถุ เมื่อแสงสีน้าเงิน สีแดง หรือสีเขียว สีใดสีหนึ่งมาเข้า
นัยน์ตา เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีนั้นจะได้รับการ กระตุ้น สัญญาณกระตุ้นนี้จะ
ถูกส่งผ่านประสาทตาไปสู่สมอง เพื่อแปลความหมายออกมาเป็นความรู้สึกและเห็น
เป็นสีของแสงนั้น ถ้าแสงที่เข้าสู่นัยน์ตาเป็นสีเหลือง เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสี
แดงและสีเขียวจะได้รับการกระตุ้น ซึ่งการกระต้นจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ
ปริมาณแสงสีที่มาตกกระทบจอตา
ความผิดปรกติของดวงตา
การบอดสี (Color blindness) หมายถึง การเห็นสีที่ผิดไปจากความจริง
สาเหตุของการบอดสี ได้แก่ สาเหตุทางพันธุกรรม เซลล์รูปกรวยผิดปกติได้รับ
เชื้อโรค ได้รับการกระทบกระเทือนจากอุบัติเหตุ และการแพ้ยา
การบอดสีของคนไทย คนไทยบอดสีแดงเป็นอันดับหนึ่ง บอดสีเขียวเป็นอันดับ
สอง และบอดสีน้าเงินเป็นอันดับสุดท้าย หรืออาจบอดทั้งสีแดงและสีเขียวได้
การบอดสีชั่วคราว เกิดจากเซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีได้รับการกระตุ้นนาน
เกินไป ทาให้เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีต่างๆ หยุดตอบสนองชั่วคราว ตัวอย่างเช่น
การจ้องมองสีแดงกลางแดดนานๆ แล้วกลับมามองสีขาวอย่างรวดเร็ว จะเห็นสีขาว
เป็นสีน้าเงินเขียว เนื่องจากเซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดงหยุดตอบสนองชั่วคราว
ในการประกอบอาชีพบางอาชีพการบอดสีจะมีผลเสียต่อการประกอบอาชีพได้
เช่นอาชีพคนขับรถ แพทย์ นักบิน นักเคมี สถาปนิกตกแต่งภายใน นักออกแบบเสื้อ
และตารวจ เป็นต้น ดังนั้นในการสอบเข้าเรียนต่อในสาขาดังกล่าว จึงมักจะมีการ
ตรวจการบอดสีด้วย
คนสายตาปกติมองดูวัตถุโดยไม่ต้องเพ่ง จะมองเห็นวัตถุได้ชัดในระยะที่ใกล้สุดประมาณ25 เซนติเมตร
และระยะไกลสุดที่สามารถเห็นได้ชัด คือระยะอนันต์ การมองท้องฟ้ าไกลๆ เรารู้สึกสบายตา
เนื่องจากกล้ามเนื้อตาได้พักไม่ต้องทางาน เพื่อปรับเลนส์ตาเหมือนขณะที่มองวัตถุในระยะใกล้
• คนสายตาสั้น(Short sight) คือ คนที่มองวัตถุได้ชัดเจนในระยะใกล้กว่า 25 เซนติเมตร
สาเหตุของสายตาสั้น เกิดเนื่องจาก
1. กระบอกตายาวเกินไป ทาให้ภาพที่ไปตกจะตกก่อนถึงเรตินา (จอตา)
2. เลนส์ตานูนเกินไปหรือกระจกตาโค้งมากเกินไป ทาให้ภาพของวัตถุที่ไปตกจะตกก่อนถึงเรตินา
(จอตา)
วิธีแก้คนสายตาสั้น ใช้แว่นที่ทาด้วยเลนส์เว้า
• คนสายตายาว (Long sight) คือ คนที่มองวัตถุได้ชัดเจนในระยะไกลกว่า 25 เซนติเมตร
สาเหตุของสายตายาว เกิดเนื่องจาก
1. กระบอกตาสั้นเกินไป ทาให้ภาพที่ไปตกจะตกเลยเรตินา (จอตา)
2. เลนส์ตาแฟบเกินไปหรือกระจกตาโค้งน้อยเกินไป ทาให้ภาพของวัตถุที่ไปตกจะตกเลยเรตินา
(จอตา) ออกไป
วิธีแก้คนสายตายาว ใช้แว่นที่ทาด้วยเลนส์นูน
สายตาของคนสูงอายุ มองระยะใกล้ชัดที่ระยะมากกว่า 25 เซนติเมตรมองไกล
ไม่ถึงระยะอนันต์
แว่นสาหรับคนสูงอายุ จะใช้แว่นที่ใช้ดูได้ทั้งระยะใกล้และระยะไกลซึ่ง
ประกอบด้วยเลนส์สองชนิดที่มีความยาวโฟกัสต่างกัน คือแว่นที่ทาด้วยเลนส์
ชนิดไบโฟคัสเลนส์ (Bifocal lens)
ไบโฟคัสเลนว์ หมายถึงเลนส์ที่มีความยาวโฟกัส 2 ชนิดประกอบกัน ใช้
สาหรับดูวัตถุในระยะใกล้และระยะไกล
• สายตาเอียง (Astigmatism) เกิดจากความโค้งของกระจกตาหรือเลนส์
ไม่เป็นผิวของทรงกลม ทาให้มองเห็นวัตถุชัดเพียงแนวเดียว ซึ่งอาจจะ
เห็นชัดในแนวดิ่งแต่เห็นไม่ชัดในแนวระดับ หรือเห็นชัดในแนวระดับแต่เห็น
ไม่ชัดในแนวดิ่ง
วิธีทดสอบสายตาเอียง ใช้มือปิดตาข้างหนึ่งแล้วมองรูป โดยทาทีละข้าง
ถ้าเห็นเส้นที่อยู่ระหว่างแนวระดับกับแนวดิ่งเป็นสีดาชัดเท่ากัน แสดงว่า
สายตาปกติ ถ้าเห็นเป็นสีเทาความเข้มไม่เท่ากันแสดงว่าสายตาเอียง
วิธีแก้สายตาเอียง ใช้แว่นที่ทาด้วยเลนส์กาบกล้วยชนิดเว้าและชนิดนูน
ภาพติดตา
• การเห็นภาพติดตา (Persistence of vision)หมายถึง ความรู้สึกในการเห็น
ภาพค้างอยู่ในสมองได้ชั่วขณะทั้งๆ ที่ไม่มีภาพของวัตถุนั้นอยู่บนจอภาพแล้ว
ระยะเวลาในการเห็นภาพติดตา คนปกติมีระยะเวลาในการเห็นภาพติดตา
ประมาณ 1/15-1/10 วินาที
ประโยชน์ของการเห็นภาพติดตา ใช้ในการถ่ายภาพยนตร์ ซึ่งปกติจะถ่าย
ภาพยนตร์ 24 ภาพต่อวินาที หรือใช้เวลา 1/24 วินาทีในการเห็นภาพ 1 ภาพ การ
เห็นภาพยนตร์เป็นเคลื่อนไหว เนื่องจากนัยน์ตาของคนเรานั้นเมื่อเห็นภาพแรกแล้ว
ภาพแรกจะยังติดตาอยู่ต่อไปอีก 1/15-1/10 วินาที เมื่อภาพแรกยังไม่ทันเลือนหายก็
จะเห็นภาพต่อไปเช่นนี้เรื่อยๆ จึงเห็นภาพเป็นภาพเคลื่อนไหวติดต่อกันไป
ถ้าต้องการให้เห็นภาพเคลื่อนไหวช้า ต้องฉายด้วยอัตราเร็วที่ช้ากว่าการถ่าย
ภาพยนตร์ หรือถ่ายภาพยนตร์ด้วยอัตราเร็วกว่าการฉายภาพยนตร์
ถ้าต้องการให้เห็นภาพเคลื่อนไหวเร็ว ต้องฉายด้วยอัตราเร็วที่เร็วกว่าการถ่าย
ภาพยนตร์ หรือถ่ายภาพยนตร์ด้วยอัตราเร็วที่ช้ากว่าการฉายภาพยนตร์
การเห็นภาพลวงตา
• การเห็นภาพลวงตา หมายถึง การเห็นภาพที่ปรากฎแก่สายตาแล้วให้
ความรู้สึกที่แตกต่างไปจากความเป็นจริงของภาพ เช่น มีความรู้สึกว่า
เห็นภาพหนึ่งมีขนาดใหญ่กว่าอีกภาพหนึ่ง ทั้งๆ ที่ภาพทั้งสองขนาด
เท่ากัน เป็นต้น ภาพลวงตาเกิดมาจากหลายสาเหตุด้วยกัน ดังนี้
1. เกิดจากการมองภาพด้วยนัยน์ตาสองตาพร้อมกัน เช่น เราใช้
นิ้วชี้ 2 นิ้วชี้เข้าหากันโดยห่างกันระยะหนึ่ง และห่างจากเลนส์ตา
ประมาณ 25 เซนติเมตร ให้นัยน์ตาทั้งสองมองปลายนิ้วชี้และค่อยๆ
เลื่อนปลายนิ้วชี้เข้าหากัน เราจะมองเห็นเหมือนชิ้นส่วนของนิ้วมาอยู่
ระหว่างปลายนิ้วทั้งสอง ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะนัยน์ตาจะรายงานสิ่งที่
เห็นไปยังสมอง สมองจะรวบรวมข้อมูลจากที่นัยน์ตาทั้งสองเห็น ทา
ให้เกิดการมองเห็นผิดเพี้ยนไป
2. เกิดจากการเคลื่อนไหวของนัยน์ตาในแนวดิ่งและแนวราบที่ไม่
เท่ากัน เช่น เรามองเห็นเส้นตรงในแนวดิ่งยาวกว่าในแนวราบ
การเพิ่มเส้นสั้นๆ ลงบนเส้นขนาน ทาให้มองเห็นว่าเส้นเหล่านั้น
ไม่ได้ขนานกัน เป็นต้น
3. เกิดจากสมบัติของแสง ได้แก่ การสะท้อนและการหักเห
ของแสง เช่น การเกิดปรากฏการณ์มิราจ การมองเห็นปลาในอ่าง
น้ามีขนาดใหญ่ขึ้น เป็นต้น
4. เกิดจากสิ่งแวดล้อม เช่น วงกลมที่เติมเส้นด้านในวงกลม
กับวงกลมที่เติมเส้นด้านนอก จะมองดูว่าวงกลมที่เติมเส้นด้านใน
จะมีขนาดเล็กกว่าวงกลมที่เติมเส้นด้านนอก เป็นต้น
การใช้ประโยชน์จากภาพลวงตา
• มนุษย์สามารถนาหลักการเกิดภาพลวงตามาใช้ประโยชน์ได้หลายทางดังนี้
1. ใช้ในการแต่งกายเพื่ออาพรางทรวดทรงที่แท้จริง เช่น คนเตี้ยควรใส่
เสื้อลายตั้ง คนสูงควรใส่เสื้อลายขวาง คนอ้วนควรใส่เสื้อผ้าสีเข้มลายตั้ง คน
ผอมควรใส่เสื้อผ้าสีอ่อนและควรเป็นลายแนวนอน เป็นต้น
2. ใช้ในการสร้างและตกแต่งอาคารบ้านเรือน เช่น ห้องแคบๆ ทาด้วยสี
อ่อนจะทาให้รู้สึกกว้างขึ้นกว่าเดิม ชาวกรีกนาไปใช้สร้างวิหาร เป็นต้น
3. ใช้ในการพรางตาเพื่อให้รอดพ้นจากศัตรู เช่น สัตว์ป่าบางชนิดมี
ลวดลายบนตัวคล้ายใบไม้ สัตว์ในทะเลทรายมีสีน้าตาลเหมือนสีของทราย
ทหารแต่งเครื่องแบบที่กลมกลืนกับป่า เป็นต้น
4. ใช้สร้างภาพยนตร์การ์ตูนที่มีอาการเคลื่อนไหวต่างกันเพียงเล็กน้อย
ต่อเนื่องกัน เมื่อนามาฉายให้เวลาบนจอของแต่ละภาพน้อยกว่าหรือเท่ากับ
1/10 วินาที ภาพที่ฉายออกมาจะมีการเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีลักษณะ
เช่นเดียวกับการถ่ายทาภาพยนตร์ธรรมดา

More Related Content

Similar to บรรยากาศ

เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"kasidid20309
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์dnavaroj
 
Microscopy, cell and function By pitsanu duangkartok
Microscopy, cell and function By pitsanu duangkartokMicroscopy, cell and function By pitsanu duangkartok
Microscopy, cell and function By pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phographyedtech29
 
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมชgifted10
 
แผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdfแผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdfssuserbb6785
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1krujaew77
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์TANIKAN KUNTAWONG
 
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึกWichai Likitponrak
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานyhrtdf hdhtht
 

Similar to บรรยากาศ (20)

Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
Microscopy, cell and function By pitsanu duangkartok
Microscopy, cell and function By pitsanu duangkartokMicroscopy, cell and function By pitsanu duangkartok
Microscopy, cell and function By pitsanu duangkartok
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
 
แผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdfแผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdf
 
2
22
2
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
2559 64 202_p21-22
2559 64 202_p21-222559 64 202_p21-22
2559 64 202_p21-22
 

บรรยากาศ

  • 2.
  • 3. หน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆ • เลนส์ตา เป็นเซลล์นูนรับแสงจากวัตถุที่ต้องการมองเห็น • เรตินา เป็นเซลล์รับภาพของวัตถุ แล้วส่งผ่านประสาทตาไปยัง สมอง • ม่านตา ทาหน้าที่ปรับความเข็มของแสงไปตกลงบนเรตินาให้ เหมาะสม • พิวพิล เป็นช่องเปิดวงกลมที่สามารถปรับความกว้างได้ด้วยม่านตา • กระจกตา อยู่ด้านนอกสุดทาหน้าที่เป็นส่วนป้ องกันลูกตา
  • 4. ดวงตากับการมองเห็น การมองเห็นจะเกิดขึ้นได้เมื่อมีแสงจากวัตถุที่เรากาลังมองอยู่ ตกกระทบกับตัวรับภาพในดวงตา (photoreceptor) และส่ง ข้อมูลไปยังสมอง สมองส่วนรับภาพจะจัดเรียงแปลผลข้อมูล และสร้างเป็นภาพให้รู้สึกมองเห็นได้ ส่วนสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวเช่น พวกโพรโทซัว แบคทีเรีย จะตอบสนองต่อแสงสว่างได้แต่ไม่มี อวัยวะรับภาพ
  • 5. ภาพกับการมองเห็น เซลล์รูปแท่ง (Rod Cell) เป็นเซลล์ที่ทาหน้าที่รับแสงสว่างให้ความรู้สึกเกี่ยวกับ ความมืดความสว่าง เซลล์รับแสงรูปกรวย(Cone cell) เป็นเซลล์ที่ทาให้เกิดความรู้สึกเกี่ยวกับสี ประเภทของเซลล์รับแสงรูปกรวย มี 3 ชนิด ได้แก่ 1) เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีน้าเงิน 2) เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีเขียว 3) เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดง การเห็นสีของวัตถุ เมื่อแสงสีน้าเงิน สีแดง หรือสีเขียว สีใดสีหนึ่งมาเข้า นัยน์ตา เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีนั้นจะได้รับการ กระตุ้น สัญญาณกระตุ้นนี้จะ ถูกส่งผ่านประสาทตาไปสู่สมอง เพื่อแปลความหมายออกมาเป็นความรู้สึกและเห็น เป็นสีของแสงนั้น ถ้าแสงที่เข้าสู่นัยน์ตาเป็นสีเหลือง เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสี แดงและสีเขียวจะได้รับการกระตุ้น ซึ่งการกระต้นจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ ปริมาณแสงสีที่มาตกกระทบจอตา
  • 6. ความผิดปรกติของดวงตา การบอดสี (Color blindness) หมายถึง การเห็นสีที่ผิดไปจากความจริง สาเหตุของการบอดสี ได้แก่ สาเหตุทางพันธุกรรม เซลล์รูปกรวยผิดปกติได้รับ เชื้อโรค ได้รับการกระทบกระเทือนจากอุบัติเหตุ และการแพ้ยา การบอดสีของคนไทย คนไทยบอดสีแดงเป็นอันดับหนึ่ง บอดสีเขียวเป็นอันดับ สอง และบอดสีน้าเงินเป็นอันดับสุดท้าย หรืออาจบอดทั้งสีแดงและสีเขียวได้ การบอดสีชั่วคราว เกิดจากเซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีได้รับการกระตุ้นนาน เกินไป ทาให้เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีต่างๆ หยุดตอบสนองชั่วคราว ตัวอย่างเช่น การจ้องมองสีแดงกลางแดดนานๆ แล้วกลับมามองสีขาวอย่างรวดเร็ว จะเห็นสีขาว เป็นสีน้าเงินเขียว เนื่องจากเซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดงหยุดตอบสนองชั่วคราว ในการประกอบอาชีพบางอาชีพการบอดสีจะมีผลเสียต่อการประกอบอาชีพได้ เช่นอาชีพคนขับรถ แพทย์ นักบิน นักเคมี สถาปนิกตกแต่งภายใน นักออกแบบเสื้อ และตารวจ เป็นต้น ดังนั้นในการสอบเข้าเรียนต่อในสาขาดังกล่าว จึงมักจะมีการ ตรวจการบอดสีด้วย
  • 7. คนสายตาปกติมองดูวัตถุโดยไม่ต้องเพ่ง จะมองเห็นวัตถุได้ชัดในระยะที่ใกล้สุดประมาณ25 เซนติเมตร และระยะไกลสุดที่สามารถเห็นได้ชัด คือระยะอนันต์ การมองท้องฟ้ าไกลๆ เรารู้สึกสบายตา เนื่องจากกล้ามเนื้อตาได้พักไม่ต้องทางาน เพื่อปรับเลนส์ตาเหมือนขณะที่มองวัตถุในระยะใกล้ • คนสายตาสั้น(Short sight) คือ คนที่มองวัตถุได้ชัดเจนในระยะใกล้กว่า 25 เซนติเมตร สาเหตุของสายตาสั้น เกิดเนื่องจาก 1. กระบอกตายาวเกินไป ทาให้ภาพที่ไปตกจะตกก่อนถึงเรตินา (จอตา) 2. เลนส์ตานูนเกินไปหรือกระจกตาโค้งมากเกินไป ทาให้ภาพของวัตถุที่ไปตกจะตกก่อนถึงเรตินา (จอตา) วิธีแก้คนสายตาสั้น ใช้แว่นที่ทาด้วยเลนส์เว้า • คนสายตายาว (Long sight) คือ คนที่มองวัตถุได้ชัดเจนในระยะไกลกว่า 25 เซนติเมตร สาเหตุของสายตายาว เกิดเนื่องจาก 1. กระบอกตาสั้นเกินไป ทาให้ภาพที่ไปตกจะตกเลยเรตินา (จอตา) 2. เลนส์ตาแฟบเกินไปหรือกระจกตาโค้งน้อยเกินไป ทาให้ภาพของวัตถุที่ไปตกจะตกเลยเรตินา (จอตา) ออกไป วิธีแก้คนสายตายาว ใช้แว่นที่ทาด้วยเลนส์นูน
  • 8. สายตาของคนสูงอายุ มองระยะใกล้ชัดที่ระยะมากกว่า 25 เซนติเมตรมองไกล ไม่ถึงระยะอนันต์ แว่นสาหรับคนสูงอายุ จะใช้แว่นที่ใช้ดูได้ทั้งระยะใกล้และระยะไกลซึ่ง ประกอบด้วยเลนส์สองชนิดที่มีความยาวโฟกัสต่างกัน คือแว่นที่ทาด้วยเลนส์ ชนิดไบโฟคัสเลนส์ (Bifocal lens) ไบโฟคัสเลนว์ หมายถึงเลนส์ที่มีความยาวโฟกัส 2 ชนิดประกอบกัน ใช้ สาหรับดูวัตถุในระยะใกล้และระยะไกล • สายตาเอียง (Astigmatism) เกิดจากความโค้งของกระจกตาหรือเลนส์ ไม่เป็นผิวของทรงกลม ทาให้มองเห็นวัตถุชัดเพียงแนวเดียว ซึ่งอาจจะ เห็นชัดในแนวดิ่งแต่เห็นไม่ชัดในแนวระดับ หรือเห็นชัดในแนวระดับแต่เห็น ไม่ชัดในแนวดิ่ง วิธีทดสอบสายตาเอียง ใช้มือปิดตาข้างหนึ่งแล้วมองรูป โดยทาทีละข้าง ถ้าเห็นเส้นที่อยู่ระหว่างแนวระดับกับแนวดิ่งเป็นสีดาชัดเท่ากัน แสดงว่า สายตาปกติ ถ้าเห็นเป็นสีเทาความเข้มไม่เท่ากันแสดงว่าสายตาเอียง วิธีแก้สายตาเอียง ใช้แว่นที่ทาด้วยเลนส์กาบกล้วยชนิดเว้าและชนิดนูน
  • 9. ภาพติดตา • การเห็นภาพติดตา (Persistence of vision)หมายถึง ความรู้สึกในการเห็น ภาพค้างอยู่ในสมองได้ชั่วขณะทั้งๆ ที่ไม่มีภาพของวัตถุนั้นอยู่บนจอภาพแล้ว ระยะเวลาในการเห็นภาพติดตา คนปกติมีระยะเวลาในการเห็นภาพติดตา ประมาณ 1/15-1/10 วินาที ประโยชน์ของการเห็นภาพติดตา ใช้ในการถ่ายภาพยนตร์ ซึ่งปกติจะถ่าย ภาพยนตร์ 24 ภาพต่อวินาที หรือใช้เวลา 1/24 วินาทีในการเห็นภาพ 1 ภาพ การ เห็นภาพยนตร์เป็นเคลื่อนไหว เนื่องจากนัยน์ตาของคนเรานั้นเมื่อเห็นภาพแรกแล้ว ภาพแรกจะยังติดตาอยู่ต่อไปอีก 1/15-1/10 วินาที เมื่อภาพแรกยังไม่ทันเลือนหายก็ จะเห็นภาพต่อไปเช่นนี้เรื่อยๆ จึงเห็นภาพเป็นภาพเคลื่อนไหวติดต่อกันไป ถ้าต้องการให้เห็นภาพเคลื่อนไหวช้า ต้องฉายด้วยอัตราเร็วที่ช้ากว่าการถ่าย ภาพยนตร์ หรือถ่ายภาพยนตร์ด้วยอัตราเร็วกว่าการฉายภาพยนตร์ ถ้าต้องการให้เห็นภาพเคลื่อนไหวเร็ว ต้องฉายด้วยอัตราเร็วที่เร็วกว่าการถ่าย ภาพยนตร์ หรือถ่ายภาพยนตร์ด้วยอัตราเร็วที่ช้ากว่าการฉายภาพยนตร์
  • 10. การเห็นภาพลวงตา • การเห็นภาพลวงตา หมายถึง การเห็นภาพที่ปรากฎแก่สายตาแล้วให้ ความรู้สึกที่แตกต่างไปจากความเป็นจริงของภาพ เช่น มีความรู้สึกว่า เห็นภาพหนึ่งมีขนาดใหญ่กว่าอีกภาพหนึ่ง ทั้งๆ ที่ภาพทั้งสองขนาด เท่ากัน เป็นต้น ภาพลวงตาเกิดมาจากหลายสาเหตุด้วยกัน ดังนี้ 1. เกิดจากการมองภาพด้วยนัยน์ตาสองตาพร้อมกัน เช่น เราใช้ นิ้วชี้ 2 นิ้วชี้เข้าหากันโดยห่างกันระยะหนึ่ง และห่างจากเลนส์ตา ประมาณ 25 เซนติเมตร ให้นัยน์ตาทั้งสองมองปลายนิ้วชี้และค่อยๆ เลื่อนปลายนิ้วชี้เข้าหากัน เราจะมองเห็นเหมือนชิ้นส่วนของนิ้วมาอยู่ ระหว่างปลายนิ้วทั้งสอง ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะนัยน์ตาจะรายงานสิ่งที่ เห็นไปยังสมอง สมองจะรวบรวมข้อมูลจากที่นัยน์ตาทั้งสองเห็น ทา ให้เกิดการมองเห็นผิดเพี้ยนไป
  • 11. 2. เกิดจากการเคลื่อนไหวของนัยน์ตาในแนวดิ่งและแนวราบที่ไม่ เท่ากัน เช่น เรามองเห็นเส้นตรงในแนวดิ่งยาวกว่าในแนวราบ การเพิ่มเส้นสั้นๆ ลงบนเส้นขนาน ทาให้มองเห็นว่าเส้นเหล่านั้น ไม่ได้ขนานกัน เป็นต้น 3. เกิดจากสมบัติของแสง ได้แก่ การสะท้อนและการหักเห ของแสง เช่น การเกิดปรากฏการณ์มิราจ การมองเห็นปลาในอ่าง น้ามีขนาดใหญ่ขึ้น เป็นต้น 4. เกิดจากสิ่งแวดล้อม เช่น วงกลมที่เติมเส้นด้านในวงกลม กับวงกลมที่เติมเส้นด้านนอก จะมองดูว่าวงกลมที่เติมเส้นด้านใน จะมีขนาดเล็กกว่าวงกลมที่เติมเส้นด้านนอก เป็นต้น
  • 12. การใช้ประโยชน์จากภาพลวงตา • มนุษย์สามารถนาหลักการเกิดภาพลวงตามาใช้ประโยชน์ได้หลายทางดังนี้ 1. ใช้ในการแต่งกายเพื่ออาพรางทรวดทรงที่แท้จริง เช่น คนเตี้ยควรใส่ เสื้อลายตั้ง คนสูงควรใส่เสื้อลายขวาง คนอ้วนควรใส่เสื้อผ้าสีเข้มลายตั้ง คน ผอมควรใส่เสื้อผ้าสีอ่อนและควรเป็นลายแนวนอน เป็นต้น 2. ใช้ในการสร้างและตกแต่งอาคารบ้านเรือน เช่น ห้องแคบๆ ทาด้วยสี อ่อนจะทาให้รู้สึกกว้างขึ้นกว่าเดิม ชาวกรีกนาไปใช้สร้างวิหาร เป็นต้น 3. ใช้ในการพรางตาเพื่อให้รอดพ้นจากศัตรู เช่น สัตว์ป่าบางชนิดมี ลวดลายบนตัวคล้ายใบไม้ สัตว์ในทะเลทรายมีสีน้าตาลเหมือนสีของทราย ทหารแต่งเครื่องแบบที่กลมกลืนกับป่า เป็นต้น 4. ใช้สร้างภาพยนตร์การ์ตูนที่มีอาการเคลื่อนไหวต่างกันเพียงเล็กน้อย ต่อเนื่องกัน เมื่อนามาฉายให้เวลาบนจอของแต่ละภาพน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1/10 วินาที ภาพที่ฉายออกมาจะมีการเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีลักษณะ เช่นเดียวกับการถ่ายทาภาพยนตร์ธรรมดา