SlideShare a Scribd company logo
1 of 116
Download to read offline
www.tutorferry.com T. 0998230343
1
PAT 1 คณิตศาสตร์
เจาะลึกแนวข้อสอบ PAT 1 พร้อมเนื้อหาสรุปสูตรและทฤษฎี
1. เซต เน้นเรื่องเพาเวอร์เซต สับเซต ผลต่างของเซต การหาจานวนสมาชิกของเซต
2. จานวนจริง เรื่องอสมการค่าสัมบูรณ์ อสมการพหุนาม สมการพหุนาม สมบัติของ
โอเปอเรเตอร์ การหาค่าโอเปอเรเตอร์ที่กาหนด
3. ฟังก์ชัน เรื่อง โดเมนของฟังก์ชัน ฟังก์ชัน 1-1 ฟังก์ชันคอมโพสิท อินเวอร์สของฟังก์ชัน
ฟังก์ชันเวียนเกิด
4. เมทริกซ์ เน้นเรื่องการบวก ลบ คูณ เมตริกซ์ det และอินเวอร์สของเมตริกซ์มิติ 2x2
5. Expo & Log ออกการแก้สมการและอสมการ Expo การแก้สมการและอสมการ Log
6. จานวนเชิงซ้อน เน้นเรื่องค่าสัมบูรณ์ อินเวอร์สและสังยุคของจานวนเชิงซ้อน การบวกและ
คูณจานวนเชิงซ้อน
www.tutorferry.com T. 0998230343
2
7. เรขาคณิตวิเคราะห์ ออกเรื่องระยะห่างระหว่างจุด 2 จุด ความชันของเส้นตรงระหว่างจุด
2 จุด ระยะระหว่างจุดกับเส้นตรง สมการเส้นตรง เส้นตรงที่ตั้งฉากกัน พื้นที่รูปสามเหลี่ยม
8. ฟังก์ชันตรีโกณมิติ เรื่องเอกลักษณ์ของตรีโกณมิติ กฎ cosine ผลบวกและผลต่างของ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ อินเวอร์สของฟังก์ชันตรีโกณมิติ สูตรมุม 2 เท่า สมการตรีโกณมิติ
9. เวกเตอร์ เน้นเรื่องเวกเตอร์ที่ขนานและตั้งฉากกัน ขนาดของผลบวกและผลต่างของ
เวกเตอร์ ค่าสัมบูรณ์ของผลบวกและผลต่างของเวกเตอร์ ผลคูณแบบ dot
10.ลาดับและอนุกรม เน้นๆเรื่องลาดับเลขคณิต ลาดับเรขาคณิต ลิมิตของลาดับ อนุกรม
อนันต์ อนุกรม 1 + 2 + ... + n
11.แคลคูลัส ออกเรื่องลิมิตของฟังก์ชัน ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ อนุพันธ์ฟังก์ชัน
คอมโพสิท อินทิเกรต อินทิกรัลจากัดเขต ภาคตัดกรวย ออกเรื่องวงรี วงกลมไฮเพอร์โบลา
พาราโบลา
12.กาหนดการเชิงเส้น เรื่องค่าต่าสุดและสูงสุดของฟังก์ชันเป้าหมาย
13.ตรรกศาสตร์ ออกเรื่องการหาค่าความจริงของประพจน์ การหาค่าความจริงของตัวบ่ง
ปริมาณ นิเสธของตัวบ่งปริมาณ สัจนิรันดร์ ปัญหาเชิงตรรกะ ออกเกี่ยวกับปัญหาเชาวน์
ทางคณิตศาสตร์ การหาค่าตัวเลขที่หายไป จัตุรัสกล เป็นต้น
14.ความน่าจะเป็น เน้นเรื่องกฎการนับ การจัดหมู่ การเรียงสับเปลี่ยน ยูเนียนของเหตุการณ์
15.สถิติ ออกเรื่องค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม มัธยฐาน ฐานนิยม พิสัย ค่า
มาตรฐาน ความแปรปรวน สัมประสิทธิ์การแปรผัน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ควอร์ไทล์
เปอร์เซ็นไทล์
www.tutorferry.com T. 0998230343
3
เซต (เปอร์เซ็นต์จานวนข้อสอบ 3.75%)
 สับเซต และเพาเวอร์เซต
A เป็นสับเซตของ B เมื่อสมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B เขียนแทนด้วย A B
A ไม่เป็นสับเซตของ B เมื่อมีสมาชิกอย่างน้อย 1 ตัว ของ A ไม่เป็นสมาชิกของ B
เขียนแทนด้วย A B
ตัวอย่างเช่น ถ้า  1,2A  สับเซตของ A มี 4 สับเซต คือ      , 1 , 2 , 1,2
ข้อสังเกต
1. ถ้า  n A เป็นจานวนสมาชิกของ A แล้วจานวนสับเซตของ  
2
n A
A 
2. เซตว่างเป็นสับเซตของทุกเซต
3. เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวมันเอง
เพาเวอร์เซต : เพาเวอร์เซตของ A คือเซตที่มีสมาชิกเป็นสับเซตทั้งหมดของ A เขียนแทนด้วย P ( A )
ตัวอย่างเช่น  1,2A 
        , 1 , 2 , 1,2P A 
ข้อสังเกต จานวนสมาชิกของ  P A เท่ากับ  
2
n A
หรือ     
2
n A
n P A 
 การดาเนินการของเซต หมายถึง การกระทาที่จะเกิดเซตใหม่ หรือ การสร้างเซตใหม่จากเซตที่กาหนดให้
1. ยูเนียน :  A B x x Aor B   
2. อินเตอร์เซกชัน :  A B x x A x B   และ
3. คอมพลีเมนต์ :  A x x x A   และ
4. ผลต่าง :  A B x x A x B   และ
 B A x x B x A   และ
A B A B
www.tutorferry.com T. 0998230343
4
 ทฤษฎีของเซต
1. กฎการสลับที่
1.1 A B B A  
1.2 A B B A  
2. กฎการเปลี่ยนกลุ่ม
2.1    A B C A B C    
2.2    A B C A B C    
3. กฎการแจกแจง
3.1      A B C A B A C     
3.2      A B C A B A C     
4. กฎเดอมอร์แกน
4.1  A B A B    
4.2  A B A B    
5. สมบัติของผลต่าง
A A
A B A B
www.tutorferry.com T. 0998230343
5
5.1 U A A 
5.2   /
A B A A B A B     
6. สมบัติของเพาเวอร์เซต
6.1 A B เมื่อ    P A P B
6.2 P     A P B P A B  
6.3  P(A) P B = P(A B)
 จำนวนสมำชิกของเซตจำกัด
1.      n A n A n U 
2.        n A B n A n B n A B    
3.      n A B n A n A B   
4.  n A B C n(A) n(B) n(C) n(A B) n(A C) n(B C) n(A B C)             

www.tutorferry.com T. 0998230343
6
จำนวนจริง (เปอร์เซ็นต์จานวนข้อสอบ 6.75%)
 สมบัติของจำนวนจริง ถ้า a , b และ c  R
1. สมบัติการเท่ากัน
1.1 สมบัติการสะท้อน
a a
1.2 สมบัติการสมมาตร
ถ้า a b แล้ว b a
1.3 สมบัติการถ่ายทอด
ถ้า a b และ b c แล้ว a c
1.4 สมบัติการบวกด้วยจานวนที่เท่ากัน
ถ้า a b แล้ว a c b c  
1.5 สมบัติการคูณด้วยจานวนที่เท่ากัน
ถ้า a b แล้ว ac bc
จำนวนจริง
จำนวนตรรกยะ
จำนวนเต็มจำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม
ศูนย์จำนวนเต็มลบจำนวนเต็มบวกหรือจำนวนนับ
จำนวนอตรรกยะ
www.tutorferry.com T. 0998230343
7
2. สมบัติการบวกและการคูณ
สมบัติ กำรบวก กำรคูณ
2.1 ปิด a b R  ab R
2.2 การสลับที่ a b b a   ab ba
2.3 การเปลี่ยนหมู่ ( ) ( )a b c a b c     ( ) ( )ab c a bc
2.4 การมีเอกลักษณ์ มีจานวนจริง 0 เป็นเอกลักษณ์
การบวกซึ่ง 0 0a a a   
มีจานวนจริง 1 เป็นเอกลักษณ์
การคูณ ซึ่ง 1 1a a a   
2.5 การมีอินเวอร์ส มีจานวนจริง a เป็นอินเวอร์ส
การบวกของ a
( ) 0 ( )a a a a     
มีจานวนจริง 1
a
หรือ 1
a
เป็น
อินเวอร์สการคูณของ a เมื่อ
0a  1 1
1a a a a 
   
2.6 การแจกแจง ( )a b c ab ac  
 กำรนำสมบัติของจำนวนจริงไปแก้สมกำร
1. การแยกตัวประกอบ
1.1 สมการกาลัง 2 ตัวแปรเดียว ที่อยู่ในรูป 2
0x bx c  
ทาได้โดยหา d และ e ที่ de c และ d e b  ทาให้ 2
( )( ) 0x bx c x d x e     
จะได้คาตอบของสมการคือ d และ e
1.2 สมการกาลัง 2 ตัวแปรเดียว ที่อยู่ในรูป 2
0ax bx c  
หา , ,d e f และ g ที่ de c , fg a และ dg ef b 
ทาให้ 2
( )( ) 0ax bx c fx d gx e     
จะได้คาตอบของสมการคือ d
f
 และ e
g

2. การทาเป็นกาลัง 2 สมบูรณ์ โดยใช้แนวคิดดังนี้
2 2 2
2 ( )x ax a x a   
2 2 2
2 ( )x ax a x a   
2 2
( )( )x a x a x a   
3. ใช้สูตร
2
4
2
b b ac
x
a
  

3.1 ถ้า 2
4 0b ac  จะมี 2 คาตอบ
www.tutorferry.com T. 0998230343
8
3.2 ถ้า 2
4 0b ac  จะมี 1 คาตอบ
3.3 ถ้า 2
4 0b ac  ไม่มีคาตอบที่เป็นจานวนจริง
4. ทฤษฎีเศษเหลือ และทฤษฎีตัวประกอบ สาหรับแก้สมการตัวแปรเดียวที่มีกาลังสูงกว่า 2
 ทฤษฎีเศษเหลือ : เมื่อ 1
1 1 0( ) ...n n
n np x a x a x a x a
   
ถ้าหาร ( )p x ด้วย x c จะเหลือเศษ ( )p c
 ทฤษฎีตัวประกอบ : x c เป็นตัวประกอบของ ( )p x เมื่อ ( ) 0p c 
 สมบัติกำรไม่เท่ำกัน
 สมบัติไตรวิภาค : ถ้า a และ b R แล้ว a b , a b และ a b จะเป็นจริงเพียงอย่างใด
อย่าง หนึ่ง
 สมบัติการไม่เท่ากัน , ,a b c R
1. สมบัติการถ่ายทอด
ถ้า a b และ b c แล้ว a c
2. สมบัติการบวกด้วยจานวนเท่ากัน
ถ้า a b แล้ว a c b c  
3. สมบัติการคูณด้วยจานวนเท่ากันที่ไม่เป็นศูนย์
3.1 ถ้า a b และ 0c  แล้ว ac bc
3.2 ถ้า a b และ 0c  แล้ว ac bc
 ช่วงและกำรแก้อสมกำร
 ช่วง เมื่อเอกภพสัมพัทธ์เป็นเซตของจานวนจริง และ a b
1. ช่วงเปิด ( , )a b หมายถึง a x b 
2. ช่วงปิด  ,a b หมายถึง a x b 
3. ช่วงครึ่งเปิดหรือช่วงครึ่งปิด  ,a b หมายถึง a x b 
 

www.tutorferry.com T. 0998230343
9
4. ช่วงครึ่งเปิด หรือ ช่วงครึ่งปิด  ,a b หมายถึง a x b 
5. ช่วง ( , )a  หมายถึง x a
6. ช่วง  ,a  หมายถึง x a
7. ช่วง  ,a หมายถึง x a
8. ช่วง  ,a หมายถึง x a
9. ช่วง  ,  หมายถึง x R
 การแก้อสมการ มีขั้นตอนดังนี้
1. จัดอสมการให้อยู่ในรูป พหุนาม หรือเศษส่วนพหุนาม ถ้ากาลังมากกว่า 1 ให้แยกตัวประกอบจนมีกาลัง
เป็น 1 และสัมประสิทธิ์ตัวแปรเป็นบวก ดังนี้
1.1 รูปพหุนาม     1 2 ... 0nx a x a x a   
1.2 รูปเศษส่วนพหุนาม     
    
1 2
1 2
...
0
...
n
n
x a x a x a
x b x b x b
  

  
ข้อสังเกต เครื่องหมายอสมการอาจเป็น  ,  ,  , 
2. กรณีเศษส่วนพหุนาม  1.2 ให้หมายเหตุไว้ว่า
1x b , 2b , ... , nb



www.tutorferry.com T. 0998230343
10
3. พจน์ที่เหมือนกันของเศษส่วนให้ดาเนินการโดยใช้สมบัติของเลขยกกาลัง
4. ทาส่วนให้หายไป โดยคูณด้วยพจน์ที่เหมือนกันแต่มีกาลังเป็นเลขคู่ซึ่งไม่ทาให้เครื่องหมายอสมการ
เปลี่ยน เช่น คูณด้วย  
2
1x b
5. เมื่ออสมการอยู่ในรูปพหุนาม  1.1 ถ้าเครื่องหมายอสมการเป็น  หรือ  ให้หมายเหตุไว้ว่า
1x a , 2a , ... , na แต่ต้องไม่ตรงกับ 1b , 2b , ... , nb ที่เป็นตัวส่วน
6. เขียนเส้นจานวนระบุตาแหน่งของ 1a , 1b , 2a , 2b , ... , na , nb โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
เฉพาะพจน์ที่กาลังเป็นเลขคี่
7. ใส่เครื่องหมาย  , - สลับกันไป โดยเริ่มจากช่องขวาสุดให้เป็น + เสมอ
8. ถ้าเครื่องหมายอสมการเป็น  หรือ  ให้เลือกช่วง +
ถ้าเครื่องหมายอสมการเป็น  หรือ  ให้เลือกช่วง -
9. นาคาตอบที่ได้จากข้อ 8 มายูเนียนกัน และนาไปยูเนียนกับข้อ 5 โดยตัดคาตอบที่ยกเว้นในข้อ 2
ออกไปด้วย
 ค่าสัมบูรณ์ : ค่าสัมบูรณ์ของ x หมายถึงระยะจากจุด 0 ถึง x บนเส้นจานวน เขียนแทนด้วย x
สมบัติของค่าสัมบูรณ์ x , y  R
1. x ถ้า 0x 
x  0 ถ้า 0x 
x ถ้า 0x 
จะเห็นว่า x มีได้ค่าเดียว ซึ่งมากกว่าหรือเท่ากับ 0
 x  0
1.1 x  x ถ้า x  0
1.2 x  x ถ้า x  0
2. x  x
3. xy  x y
4. x
y

x
y
; 0y 
-+ -- + - +
www.tutorferry.com T. 0998230343
11
5. x y  y x
6. x y  y x
7. 2
x  2
x
8. x y  x + y
9. x y  x - y
ถ้า 0a 
10. ถ้า x  a แล้ว x  a หรือ x  a
11. ถ้า x  a แล้ว a x a  
12. ถ้า x  a แล้ว a x a  
13. ถ้า x  a แล้ว x a  หรือ x a
14. ถ้า x  a แล้ว x a  หรือ x a
ถ้า 0a 
15. ถ้า x  a แล้ว เซตคาตอบ  
16. ถ้า x  a แล้ว เซตคาตอบ  
17. ถ้า x  a แล้ว เซตคาตอบ  
18. ถ้า x  a แล้ว x R
19. ถ้า x  a แล้ว x R
www.tutorferry.com T. 0998230343
12
ทฤษฎีจำนวน
 กำรหำรลงตัว
1. ให้ a และ b เป็นจานวนเต็ม โดยที่ b  0 b หาร a ลงตัว ก็ต่อเมื่อ มีจานวนเต็ม c ที่ทาให้
a = bc เรียก b ว่าเป็น ตัวหารของ a และเรียก a ว่าเป็น พหุคูณของ b
b a แทน b หาร a ลงตัว
b † a แทน b หาร a ไม่ลงตัว
2. ให้ a , b และ c เป็นจานวนเต็ม โดยที่ a  0 และ b  0 ถ้า a b และ b c
แล้ว a c
3. ถ้า a และ b เป็นจานวนเต็มบวก ซึ่ง a b แล้ว a  b
4. ถ้า a , b และ c เป็นจานวนเต็ม โดยที่ a b และ a c แล้ว a (bx + cy)
เมื่อ x และ y เป็นจานวนเต็มใด ๆ
5. จานวนเต็มบวก p เป็นจานวนเฉพาะ ก็ต่อเมื่อ p  1 และถ้าจานวนเต็ม x หาร p ลงตัว แล้ว x
เป็นสมาชิกของ  1, 1, ,p p 
 ขั้นตอนวิธีกำรหำร
1. ถ้า a และ b เป็นจานวนเต็ม โดยที่ b  0 แล้วจะมีจานวนเต็ม q และ r ชุดเดียว ซึ่ง
a bq r  โดย 0 r b 
เรียก q ว่า ผลหาร และ r ว่า เศษเหลือ
2. จานวนเต็ม a เป็นจานวนคู่ ก็ต่อเมื่อ สามารถเขียน a = 2k เมื่อ k เป็นจานวนเต็ม
จานวนเต็ม a เป็นจานวนคี่ ก็ต่อเมื่อ สามารถเขียน a = 2k + 1 เมื่อ k เป็นจานวนเต็ม
3. ให้ b เป็นจานวนเต็มที่มากกว่า 1 จานวนเต็มบวก n ใด ๆ สามารถเขียนในรูปการกระจาย
ฐาน b ได้เป็น
1
1 1 0...k k
k kn a b a b a b a
    
เมื่อ k เป็นจานวนเต็ม และ 0 1 1, ,..., ,k ka a a a เป็นจานวนเต็มที่ไม่เป็นลบและน้อยกว่า b และ
0ka 
 ตัวหำรร่วมมำก
1. ให้ a และ b เป็นจานวนเต็ม โดยที่ a และ b ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน จานวนเต็มบวก d ที่มีค่า
มากที่สุด ซึ่ง d a และ d b เรียกว่าเป็น ตัวหารร่วมมาก ( ห.ร.ม. ) ของ a และ b
ใช้สัญลักษณ์ ( a , b ) แทน ห.ร.ม. ของ a และ b
www.tutorferry.com T. 0998230343
13
2. กาหนดให้ a และ b เป็นจานวนเต็มบวก โดยที่ b < a โดยใช้ขั้นตอนวิธีการหารไปเรื่อย ๆ
จะได้ว่า
1 1 1
1 2 2 2 1
1 2 3 3 3 2
2 1 1
1 1
;0
;0
;0
;0
0
k k k k k k
k k k
a bq r r b
b rq r r r
r r q r r r
r r q r r r
r r q
  
 
   
   
   
   
 
ดังนั้น kr ซึ่งเป็นเศษตัวสุดท้ายที่ไม่ใช่ศูนย์จะเป็น ห.ร.ม. ของ a และ b
3. ผลจากขั้นตอนวิธีของยุคลิด ทาให้ได้ว่า ถ้า d = ( a , b ) แล้ว จะมีจานวนเต็ม x และ y
ที่ทาให้ d = ax + by
4. ให้ 1 2, ,..., na a a เป็นจานวนเต็มบวกที่ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน จานวนเต็มบวก D ที่มีค่ามากที่สุด
ซึ่ง 1 2, ,..., nD a D a D a เรียกว่าเป็น ตัวหารร่วมมาก ( ห.ร.ม. ) ของ 1 2, ,..., na a a
ใช้สัญลักษณ์  1 2, ,..., na a a แทน ห.ร.ม. ของ 1 2, ,..., na a a
5.     1 2 1 1 2 1, ,..., , , ,..., ,n n n na a a a a a a a 
6. จานวนเต็ม a และ b เป็นจานวนเฉพาะสัมพัทธ์ ก็ต่อเมื่อ ( a , b ) = 1
7. a และ b เป็นจานวนเฉพาะสัมพัทธ์ ก็ต่อเมื่อ มีจานวนเต็ม x และ y ที่ทาให้ ax + by = 1
8. กาหนดจานวนเต็ม a , b และจานวนเฉพาะ p ถ้า p ab จะได้ p a หรือ p b
 ตัวคูณร่วมน้อย
1. ให้ a , b เป็นจานวนเต็มที่ไม่เป็นศูนย์จานวนเต็มบวก c ที่มีค่าน้อยที่สุด ซึ่ง a c และ b c
เรียกว่า ตัวคูณร่วมน้อย ( ค.ร.น. ) ของ a และ b
ใช้สัญลักษณ์ [ a , b ] แทน ค.ร.น. ของ a และ b
2. ให้ 1 2, ,..., na a a เป็นจานวนเต็มที่ไม่เป็นศูนย์จานวนเต็มบวก C ที่มีค่าน้อยที่สุด ซึ่ง
1 2, ,..., na C a C a C เรียกว่า ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) ของ 1 2, ,..., na a a
ใช้สัญลักษณ์  1 2, ,..., na a a แทน ค.ร.น. ของ 1 2, ,..., na a a
3.    1 2 1 1 2 1, ,..., , , ,..., ,n n n na a a a a a a a    
4. ถ้า a และ b เป็นจานวนเต็มบวก แล้ว ab = ( a , b )[ a , b ]
www.tutorferry.com T. 0998230343
14
ฟังก์ชัน (เปอร์เซ็นต์จำนวนข้อสอบ 7.5%)
 คู่อันดับ (Ordered pairs) : คู่อันดับ (a , b) มี a เป็นสมาชิกตัวหน้า และ b เป็นสมาชิกตัวหลัง
เมื่อสลับตาแหน่งจะได้คู่อันดับใหม่ต่างจากเดิม ยกเว้นกรณีที่ a = b นั่นคือ
(a , b) = (c , d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
 ผลคูณคำร์ทีเซียน (Cartesian product) : ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และเซต B คือ เซตของ
คู่อันดับ (a , b) ทั้งหมด โดยที่ a A และ b B เขียนแทนด้วย A B
  A B a,b a A b B   และ
ข้อสรุปเกี่ยวกับผลคูณคำร์ทีเซียน
1.    A B C (A B) A C     
2.      A B C A B A C     
3.      A B C A B A C     
4.      A B C A C B C     
5.      A B C A C B C     
6.      A B C A C B C     
7.        A B B A A B A B      
8.        A B B A A B A B      
9.        A B C D A C B D      
10.        A B C D A C B D      
11. ถ้า A B และ C D แล้ว A C B D  
12. ถ้า A,B   แล้ว A B B A   ก็ต่อเมื่อ A B
13. A B   ก็ต่อเมื่อ A   หรือ B  
14. ถ้า A B A C   และ A   แล้ว B C
15. ถ้า A, B เป็นเซตจากัด แล้ว n(A B) n(A) n(B)  
16. ถ้า A เป็นเซตอนันต์ และ B   แล้ว A B เป็นเซตอนันต์
 ควำมสัมพันธ์ (Relations) : r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ r A B 
 ข้อสังเกต
1. r เป็นความสัมพันธ์ใน A เมื่อ r A A 
2. ถ้า (a ,b)  r หมายถึง a มีความสัมพันธ์ r กับ b เขียนแทนด้วย a r b
/
www.tutorferry.com T. 0998230343
15
3. ถ้า (a , c)  r หมายถึง a ไม่มีความสัมพันธ์ r กับ c เขียนแทนด้วย a r c
 กราฟของความสัมพันธ์ : กาหนดให้ R เป็นเซตของจานวนจริง r เป็นสับเซตของ R R
กราฟของความสัมพันธ์ r คือ เซตของจุดในระนาบ โดยที่แต่ละจุดแทนสมาชิกของความสัมพันธ์ r
กราฟของความสัมพันธ์อาจเป็น จุด เส้น หรือ อาณาบริเวณ ถ้ามีเส้นทึบ แสดงว่าทุกจุดบน
เส้นทึบรวมอยู่ในกราฟ แต่ถ้ามีเส้นประ แสดงว่าทุกจุดในแนวเส้นประไม่รวมอยู่ในกราฟ
 โดเมน และ เรนจ์ของความสัมพันธ์ ให้ r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B
โดเมนของ r คือ เซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใน r เขียนแทนด้วย Dr
 rD a A b B (a,b) rมี ซึ่ง   
เรนจ์ของ r คือ เซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใน r เขียนแทนด้วย Rr
 rR b B a A (a,b) r   มี ซึ่ง
 ข้อสังเกต rD A และ rR B
 อินเวอร์สของความสัมพันธ์ : อินเวอร์สของความสัมพันธ์ r เขียนแทนด้วย 1
r
โดยที่
    1
r y,x x, y r
 
 ข้อสังเกต ถ้า r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B จะได้ว่า
1. 1
r
จะเป็นความสัมพันธ์จาก B ไป A
2. 1 rr
D R  และ 1 rr
R D 
3. กราฟของ r และ 1
r
มีเส้นตรง y = x เป็นแกนสมมาตร
 ฟังก์ชัน (Function) : คือความสัมพันธ์ซึ่งสาหรับคู่อันดับ 2 คู่ใด ๆ ของความสัมพันธ์นั้น ถ้า
มีสมาชิกตัวหน้าเท่ากันแล้ว สมาชิกตัวหลังต้องเท่ากัน
ฟังก์ชัน f คือ ความสัมพันธ์ ซึ่งสาหรับ x, y และ z ใด ๆ ถ้า  x, y f และ  x,z f
แล้ว y z
ถ้า  x, y f และ  x,z f แล้ว y z จะได้ว่า f ไม่เป็นฟังก์ชัน
 การพิจารณาว่าความสัมพันธ์ใดเป็นฟังก์ชันหรือไม่ อาจพิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์
โดยลากเส้นขนานแกน Y ถ้าไม่มีเส้นใดตัดกราฟมากกว่า 1 จุด ความสัมพันธ์นั้นเป็นฟังก์ชัน แต่ถ้ามีเส้นใดตัด
มากกว่า 1 จุด ความสัมพันธ์นั้นไม่เป็นฟังก์ชัน
www.tutorferry.com T. 0998230343
16
 ข้อตกลงเกี่ยวกับสัญลักษณ์ของฟังก์ชัน
ในกรณีที่ความสัมพันธ์ f เป็นฟังก์ชัน เราจะเขียน y = f(x) แทน  x, y f
เรียกว่า ค่าของฟังก์ชัน f ที่ x หรือ เอฟเอ็กซ์
  
  
f
f
D x x, y f
R y x, y f
 
 
 ชนิดของฟังก์ชัน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. ฟังก์ชันพีชคณิต (algebraic function) เป็นฟังก์ชันที่อยู่ในรูปตัวแปรอิสระและมีเครื่องหมายในทางพีชคณิต
เช่น บวก ลบ คูณ หาร กรณฑ์ ค่าสัมบูรณ์ และเลขยกกาลัง (ในกรณีที่ตัวแปรอิสระเป็นเลขชี้กาลังจะไม่จัด
อยู่ในกลุ่มนี้) ตัวอย่างเช่น
1.1 ฟังก์ชันตรรกยะ เป็นฟังก์ชันที่อยู่ในรูปเศษส่วนพหุนาม
P(x)
f(x)
Q(x)

เมื่อ P(x) และ Q(x) เป็นฟังก์ชันพหุนาม และ Q(x) 0
1.2 ฟังก์ชันพหุนาม (polynomial function)
n n 1 2
n n 1 2 1 0f(x) a x a x ....... a x a x a
     
โดยที่ n n 1 2 1 0a ,a ,......,a ,a a เป็นค่าคงตัว
และ n เป็นจานวนเต็มบวก หรือ ศูนย์
ข้อสังเกต ฟังก์ชันพหุนาม เป็นฟังก์ชันตรรกยะที่  Q x เท่ากับ 1 สาหรับฟังก์ชันพหุนามที่
มีกาลังน้อยกว่า 3 ได้แก่ ฟังก์ชันคงตัว ฟังก์ชันเชิงเส้น และฟังก์ชันกาลังสอง
1.3 ฟังก์ชันคงตัว (constant function)
0f(x) a
เมื่อ 0a R
ถ้าให้ 0a b จะได้ว่า f(x) b
x y = f(x)
f
www.tutorferry.com T. 0998230343
17
มีกราฟเป็นเส้นตรงที่ขนานแกน X มีระยะตัดแกน Y เท่ากับ b โดยตัดแกน Y ที่จุด (o,b)
1.4 ฟังก์ชันเชิงเส้น (linear function) ได้แก่ ฟังก์ชันกาลัง 1 ( 1a 0 ) และ ฟังก์ชันคงตัว ( 1a 0 )
1 0f(x) a x a  ; 1a 0
หรือ f(x) ax b  ; a 0
- กราฟเป็นเส้นตรง มีระยะตัดแกน Y เท่ากับ b
- ตัดแกน Y ที่จุด  0,b
- ตัดแกน X ที่จุด ( b
,0
a
 
 
 
- ความชัน = a
- ถ้า a > 0 กราฟทามุมแหลมกับแกน X
- ถ้า a < 0 กราฟทามุมป้านกับแกน X
1.5 ฟังก์ชันเอกลักษณ์ (identity function)
f(x) = x
เป็นฟังก์ชันเชิงเส้นที่ a = 1 และ b = 0
1.6 ฟังก์ชันกาลัง 2 (quadratic function)
2
f(x) ax bx c   ; a 0
- กราฟเป็นเส้นโค้ง เรียกว่า พาราโบลา
- ถ้า a > 0 กราฟหงาย
- ถ้า a < 0 กราฟคว่า
รูปมาตรฐาน คือ 2
f(x) a(x h) k   ; a 0
- จะมี จุดวกกลับ หรือ จุดยอดที่ (h,k)
- ถ้า a > 0 เรียกว่า จุดต่าสุด โดยมีค่าต่าสุด = k
- ถ้า a < 0 เรียกว่า จุดสูงสุด โดยมีค่าสูงสุด = k
- เส้นสมมาตร คือ เส้นตรง x = h
รูปทั่วไป คือ   2
f x ax bx c   ; 0a 
จัดเป็นรูปมาตรฐานโดยใช้หลักกาลัง 2 สมบูรณ์ จะมี จุดวกกลับหรือจุดยอดที่
2
4
,
2 4
b ac b
a a
 
 
 
ค่าต่าสุดหรือค่าสูงสุด
2 2
4
2 4 4
b ac b b
f c
a a a
  
      
   
 จุดวกกลับอาจเขียนเป็น ,
2 2
b b
f
a a
  
   
  
เส้นสมมาตร คือ เส้นตรง
2
b
x
a
 
www.tutorferry.com T. 0998230343
18
1.7 ฟังก์ชันตรรกยะอื่น ๆ เช่น
1.7.1 ฟังก์ชันกาลังสาม   3
f x x
1.7.2 ฟังก์ชันส่วนกลับ  
1
f x
x
 ; 0x 
1.8 ฟังก์ชันอตรรกยะ เช่น
1.8.1 ฟังก์ชันรากที่ 2  f x x ; 0x 
1.8.2 ฟังก์ชันรากที่ 3   3
f x x
1.9 ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ ( absolute value function)
 ตัวอย่ำง เช่น
 f x x a b  
มีกราฟเป็นเส้นตรง 2 เส้น คือ
 f x x a b   เมื่อ x a
และ  f x a x b   เมื่อ x a
มีเส้นสมมาตร คือ เส้นตรง x a และเส้นสมมาตรผ่านจุด  ,a b
1.10 ฟังก์ชันขั้นบันได ( Step function)
 ตัวอย่ำง เช่น
 
3; 2
2; 2 1
1;1 3
2; 3
x
x
f x
x
x
  
   
 
 
 
   f x x
 x หมายถึง จานวนเต็มที่มากที่สุดที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ x
2. ฟังก์ชันอดิศัย (transcendental function) คือ ฟังก์ชันที่ไม่ใช่ฟังก์ชันพีชคณิต ได้แก่
2.1 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเซียล (exponential function)
หรือฟังก์ชันเลขชี้กาลัง
  x
f x a ; 0a  และ 1a 
fD R และ fR R

- กราฟเป็นเส้นโค้ง ผ่านจุด  0,1 เพราะ 0
1a 
www.tutorferry.com T. 0998230343
19
- ถ้า 1a  เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้น y จะมีค่าเพิ่มขึ้น (ฟังก์ชันเพิ่ม)
- ถ้า 0 1 a เมื่อ x เพิ่ม y ลด (ฟังก์ชันลด)
- 1 2
x x
a a เมื่อ 1 2x x
- ถ้า 0b  และ 1b  แล้ว x x
a b และ a b เมื่อ 0x
- 0x
a  เมื่อ 0a 
2.2 ฟังก์ชันลอการิทึม เช่น
  logaf x x ; 0a  และ 1a 
fD R
 และ fR R
2.3 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ เช่น
  sinf x x
fD R และ  1,1fR  
ฟังก์ชันอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
1. ฟังก์ชันที่เป็นคาบ ( periodic function ) เช่น
f ( x + k ) = f ( x )
2. ฟังก์ชันคู่และฟังก์ชันคี่ ( even function and odd function )
f ( -x ) = f ( x ) ; even function
f ( -x ) = -f ( x ) ; odd function
3. ฟังก์ชันเพิ่มและฟังก์ชันลด
ถ้า 2 1x x แล้ว    2 1f x f x ; ฟังก์ชันเพิ่ม
ถ้า 2 1x x แล้ว    2 1f x f x ; ฟังก์ชันลด
 ลักษณะของฟังก์ชัน แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ
1. ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง (one-to-one function) คือ ฟังก์ชันที่ไม่มีสมาชิกตัวหลังของสองคู่อันดับใด ๆ เหมือนกัน
แต่สมาชิกตัวหน้าต่างกัน
f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ก็ต่อเมื่อ ถ้า  1,x y f และ  2 ,x y f แล้ว 1 2x x
การพิจารณาว่าฟังก์ชันใดเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งหรือไม่ อาจพิจารณาจากกราฟของฟังก์ชัน โดยลากเส้น
ขนานแกน X ถ้าไม่มีเส้นใดตัดกราฟมากกว่า 1 จุด ฟังก์ชันนั้นเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง แต่ถ้ามีเส้นใดตัด
มากกว่า 1 จุด ฟังก์ชันนั้นไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ( many-to-one function )
www.tutorferry.com T. 0998230343
20
2. ฟังก์ชันจาก A ( function from A )
f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B หมายถึง ฟังก์ชัน f มีโดเมนเท่ากับเซต A และมีเรนจ์เป็นสับเซตของ B
เขียนแทนด้วย :f A B โดยที่ fD A และ fR B
3. ฟังก์ชันทั่วถึง ( onto function )
f เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B หมายถึง ฟังก์ชัน f มีโดเมนเท่ากับเซต A และมีเรนจ์เท่ากับเซต B
เขียนแทนด้วย : onto
f A B โดยที่ fD A และ fR B
หมายเหตุ f เป็นฟังก์ชันจาก A ไปไม่ทั่วถึง B หมายถึง ฟังก์ชัน f มีโดเมนเท่ากับเซต A และมีเรนจ์
ไม่เท่ากับเซต B
เขียนแทนด้วย : onto
f A B โดยที่ fD A และ fR B ( onto หมายถึง ไม่ทั่วถึง )
ข้อสังเกต ถ้ากาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B เขียนแทนด้วย :f A B สามารถจาแนกลักษณะ
ของฟังก์ชันได้ 4 ลักษณะ ดังนี้
1. f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B เขียนแทนด้วย 1 1
: onto
f A B

2. f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปไม่ทั่วถึง B เขียนแทนด้วย 1 1
: onto
f A B

3. f ไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B เขียนแทนด้วย 1
: many
onto
f A B

4. f ไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปไม่ทั่วถึง B เขียนแทนด้วย 1
: many
onto
f A B

 ฟังก์ชันคอมโพสิท ( composite function )
ให้ f และ g เป็นฟังก์ชัน โดยที่ f gR D   ฟังก์ชันคอมโพสิทของ f และ g ซึ่งเขียนแทนด้วย
สัญลักษณ์ gof สาหรับทุก ๆ ค่าของ x ซึ่งอยู่ในโดเมนของ f และ f ( x ) อยู่ในโดเมนของ g
( gof ) ( x ) = g ( f ( x ) )
gof fD D และ gof gR R
ถ้า 1 1
: onto
f A B
 และ 1 1
: onto
g B C
 แล้ว 1 1
: onto
gof A C

www.tutorferry.com T. 0998230343
21
 ฟังก์ชันอินเวอร์ส ( Inverse function )
ให้ f เป็นฟังก์ชัน 1
f 
จะเป็นฟังก์ชัน ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง และเรียกฟังก์ชัน 1
f 
ว่า
ฟังก์ชันอินเวอร์ส โดยที่     1
f y,x x, y f
 
 ข้อสังเกต ถ้า 1 1
: onto
f A B
 จะได้ว่า
1. 1 11
: onto
f B A

2. 1 ff
D R  และ 1 ff
R D 
3. กราฟของ f และ 1
f 
มีเส้นตรง y = x เป็นแกนสมมาตร
4.  f  ก็ต่อเมื่อ  1
f 

5.  1
fof x x
 ; ฟังก์ชันเอกลักษณ์
6.  1
f of x x
 ; ฟังก์ชันเอกลักษณ์
 พีชคณิตของฟังก์ชัน ( Algebra of function ) คือ การสร้างฟังก์ชันใหม่ โดยนาฟังก์ชันเดิม
อย่างน้อย 2 ฟังก์ชันมา บวก ลบ คูณ หาร
ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันที่มี fD และ gD เป็นโดเมนของ f และ g ตามลาดับ
      f g f gf g x, y y f x g x ;D D D     
      f g f gf g x, y y f x g x ;D D D     
      fg f gfg x, y y f x g x ;D D D    
 
 
 
  f f g
g
f xf
x, y y ;D D D x g x 0
g g x
  
      
  
 ข้อสังเกต 1. f g f g fg f gD D D D D    
2.   0f f g
g
D D D x g x   
3.       f g x f x g x  
4.       f g x f x g x  
5.       fg x f x g x 
6.  
 
 
f xf
x
g g x
 
 
 
เมื่อ   0g x 

www.tutorferry.com T. 0998230343
22
ระบบสมกำรเชิงเส้นและเมทริกซ์ (เปอร์เซ็นต์จำนวนข้อสอบ 4.25%)
เมทริกซ์ คือ ชุดของจานวน mn ตัว  m,n I
 ซึ่งเขียนเรียงกัน m แถว n หลัก
ภายในเครื่องหมายวงเล็บ
11a 12a 1na แถวที่ 1
21a 22a 2na แถวที่ 2
m1a m2a mna แถวที่ m
หลักที่ 1 หลักที่ 2 หลักที่ n
เรียก aij ว่าเป็นสมาชิก ( entry ) ในแถวที่ i และหลักที่ j ของเมทริกซ์ หรือเรียกว่าเป็นสมาชิกใน
ตาแหน่งที่ ij ของเมทริกซ์ เมื่อ i 1,2,...,m และ j 1,2,...,n เรียกเมทริกซ์ที่มี m แถว n หลัก ว่าเป็น mxn
เมทริกซ์ และเรียก mxn ว่าเป็นมิติของเมทริกซ์ ซึ่งอาจเขียนเมทริกซ์ได้อีกแบบ คือ
ij mxn
A a    หมายถึง เมทริกซ์ A เป็น m x n เมทริกซ์ที่มีสมาชิกในตาแหน่งที่ ij เป็น ija
เมื่อ i 1,2,...,m และ j 1,2,...,n
กำรเท่ำกันของเมทริกซ์
ให้ ij mxn
A a    และ ij mxn
B b    A เท่ากับ B ก็ต่อเมื่อ ij ija b สาหรับทุก i 1,2,...,m และ
j 1,2,...,n เขียนแทนด้วย A B
ข้อสังเกต A B เมื่อ
1. มีมิติต่างกัน
2. มีมิติเดียวกัน แต่มีสมาชิกที่อยู่ในตาแหน่งเดียวกัน ต่างกันอย่างน้อย 1 ตัว
กำรบวกเมทริกซ์
ให้ ij mxn
A a    และ ij mxn
B b    A บวกกับ B คือเมทริกซ์ ij mxn
c   เมื่อ ij ij ijc a b 
สาหรับทุก i 1,2,..,m และ j 1,2,...,n เขียนแทนด้วย A B
www.tutorferry.com T. 0998230343
23
ข้อสังเกต
เมทริกซ์ 2 เมทริกซ์บวกกันได้เมื่อมีมิติเดียวกัน โดยนาสมาชิกที่อยู่ในตาแหน่งเดียวกันมาบวกกัน ถ้า
มิติต่างกันไม่สามารถหาผลบวกได้
กำรคูณเมทริกซ์ด้วยค่ำคงตัว
ให้ ij mxn
A a    และ c เป็นค่าคงตัว ผลคูณของ c และ A คือ เมทริกซ์ ij mxn
b  
เมื่อ bij = caij สาหรับทุก i 1,2,...,m และ j 1,2,...,n เขียนแทนด้วย cA
ข้อสังเกต
1.    A B A 1 B A B       เมื่อ A และ B มีมิติเดียวกัน
2. ให้ ij ijmxn mxn
A a ,B b        และ ,B เป็นค่าคงตัว จะได้ว่า ij mxn
A B c      เมื่อ
ij ij ijc a b   สาหรับทุก i 1,2,...,m และ j 1,2,...,n
3. เมทริกซ์ที่มีมิติ m x n และสามารถทุกตาแหน่งเป็นศูนย์เรียกว่า เมทริกซ์ศูนย์แทนด้วย 0mxn หรือ 0
สมบัติที่เกี่ยวข้องกับกำรบวกเมทริกซ์และกำรคูณเมทริกซ์ด้วยค่ำคงตัว
กาหนดให้ A,B,C,O มีมิติ mxn และ c,d เป็นค่าคงตัว
1. A B มีมิติ mxn
2. สมบัติการสลับที่ A B B A  
3. สมบัติการเปลี่ยนหมู่    A B C A B C    
4. การมีเอกลักษณ์การบวก A O A O A    เมื่อ O เป็นเอกลักษณ์การบวก
5. การมีตัวผกผันการบวก    A A O A A      เมื่อ A เป็นตัวผกผันการบวกของ A
6.  c A B cA cB  
7.  c d A cA dA  
8.    cd A c dA
9. 1A A
10. 0A 0
www.tutorferry.com T. 0998230343
24
กำรคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์
ถ้า ij mxn
A a    และ  nxrijbB  แล้ว A คูณ B คือ เมทริกซ์  mxrijc เมื่อ
ij i1 1j i2 2 j in njc a b a b ... a b    สาหรับทุก i 1,2,...,m และ j 1,2,...,r
11a 12a 1na 11b 12b 1rb
21a 22a 2na 21b 22b 2rb
=
m1a m2a mna n1b n2b nrb
n
1k k1
k 1
a b


n
1k k2
k 1
a ,b


n
1k kr
k 1
a b


n
2k k1
k 1
a b


n
2k k2
k 1
a b


n
2k kr
k 1
a b


n
mk k1
k 1
a b


n
mk k2
k 1
a b


n
mk kr
k 1
a b


เมื่อ
n
ik kj ij ij i2 2j in nj
k 1
a b a b a b ... a b

   
ข้อสังเกต
1. AB จะหาค่าได้เมื่อ A มีจานวนหลักเท่ากับจานวนแถวของ B เท่านั้น
2. AB BA ( AB อาจจะเท่ากับ BA หรือไม่เท่ากันก็ได้)
3. ถ้า A เป็น nxn เมทริกซ์
'
A A
2
A AA
3 2
A AA
www.tutorferry.com T. 0998230343
25
k k 1
A AA 
 เมื่อ k I
 และ k 1
เมทริกซ์เอกลักษณ์
สาหรับจานวนเต็มบวก n ใด ๆ จะให้  nxnjkn iI  มีสมาชิกดังนี้
l เมื่อ j k
0 เมื่อ j k
เรียก In ว่าเป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์ มิติ nxn อาจเขียนเป็น I
ข้อสังเกต
1. n nAI A I A 
2. ถ้า AB A BA  แล้ว B อาจจะเท่ากับ In หรือไม่เท่ากับ In ก็ได้
เมทริกซ์สลับเปลี่ยน
ให้ ij mxn
A a    ถ้า  nxmijbB  มีสมบัติว่า bij = aji ทุก 1,2,...,i n และ 1,2,...,j m แล้ว
เรียก B ว่าเป็น เมทริกซ์สลับเปลี่ยนของ A แทนด้วย At
ข้อสังเกต
ถ้า A เป็น mxn เมทริกซ์แล้ว At
จะเป็น nxm เมทริกซ์ที่มีแถวที่ i เหมือนหลักที่ i ของ A ทุก
1,2,...,i n
สมบัติที่เกี่ยวข้องกับกำรคูณเมทริกซ์และเมทริกซ์สลับเปลี่ยน
ถ้า , ,ij ij ijmxn nxp pxq
A a B b C c             แล้ว
1.    A BC AB C
2. 0 0mxn mxnA 
3. 0 0nxp mxpA 
4. mI A A
5. nAI A
6.      cA B A cB c AB  เมื่อ c คือค่าคงตัว
7.  A B D AB AD   เมื่อ D เป็น nxp เมทริกซ์
8.  A E B AB EB   เมื่อ E เป็น mxn เมทริกซ์
9.  
t t t
A F A F   เมื่อ F เป็น mxn เมทริกซ์
10.  
t t t
AB B A
11.  
t
t
A A
www.tutorferry.com T. 0998230343
26
12.  t t
cA cA เมื่อ c เป็นค่าคงตัว
ข้อสังเกต
1.  
2 2 2
2A B A AB B   
2.    2 2
A B A B A B   
ทั้ง 2 กรณีจะเท่ากัน เมื่อ AB BA
ตัวผกผันกำรคูณของเมทริกซ์ ( อินเวอร์สกำรคูณ )
ให้ A เป็น n xn เมทริกซ์ ถ้า B เป็น n x n เมทริกซ์ที่มีสมบัติ ว่า nAB BA I  แล้วจะเรียก B ว่า
เป็น ตัวผกผันการคูณของ A และเขียนแทน B ด้วย A-1
ข้อสังเกต
1. nI เป็นเอกลักษณ์การคูณในเซตของเมทริกซ์ที่มีมิติ n x n
2. ในระบบจานวนจริง เซต  0R  สมาชิกทุกตัวมีตัวผกผัน การคูณ แต่ในเมทริกซ์ อาจมีเมทริกซ์ที่ไม่เท่ากับ
onxn และไม่มีตัวผกผันการคูณ
3. a b
ถ้า A  และ 0ad bc 
c d
1 1 d b
A
c aad bc
  
  
  
กำรหำตัวผกผันกำรคูณของเมทริกซ์
เมื่อ A เป็น 2 x 2 เมทริกซ์ เราหา 1
A
ได้จากการสร้างเมทริกซ์ที่มีสมาชิกของเมทริกซ์ได้จากการแก้
ระบบสมการเชิงเส้น 4 ตัวแปรและประกอบด้วย 4 สมการ ดังนั้นถ้า A เป็น n x n เมทริกซ์ การหา 1
A
ต้อง
แก้ระบบสมการเชิงเส้น 2
n ตัวแปร จานวน 2
n ตัวแปร จานวน 2
n สมการซึ่งจะไม่สะดวกในทางปฏิบัติ
ดีเทอร์มิแนนต์
ให้   11xaA  เรียก a ว่าเป็นดีเทอร์มิแนนต์ของ A ซึ่ง a จะเป็นทั้งสมาชิกและ
ดีเทอร์มิแนนต์ของ A
ไมเนอร์และตัวประกอบร่วมเกี่ยว
ให้ ij nxn
A a    เมื่อ 2n  ไมเนอร์ของ ija คือ ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ที่ได้จากการตัดแถวที่ i
และ หลักที่ j ของ A ออก เขียนแทนด้วย  ijM A
www.tutorferry.com T. 0998230343
27
ตัวอย่ำงเช่น ถ้า 11 12
21 22
a a
A
a a
 
  
 
จะได้ว่า
 11 22M A a
 12 21M A a
 21 12M A a
 22 11M A a
ตัวประกอบร่วมเกี่ยว
ให้ ij nxn
A a    เมื่อ 2n  ตัวประกอบร่วมเกี่ยวของ ija คือ ผลคูณของ  1
i j
 และ  ijM A
เขียนแทนด้วย Cij(A)
     1
i j
ij ijC A M A

 
ตัวอย่ำงเช่น ถ้า 11 12
21 22
a a
A
a a
 
  
 
จะได้ว่า
       
1 1 2
11 11 22 221 1C A M A a a

    
       
1 2 3
12 12 21 211 1C A M A a a

     
       
2 1 3
21 21 12 121 1C A M A a a

     
       
2 2 4
22 22 11 111 1C A M A a a

    
กำรหำดีเทอร์มิแนนต์ ของ n x n เมื่อ n  2
ให้ ij nxn
A a    เมื่อ 2n  ดีเทอร์มิแนนต์ของ A คือ      11 11 12 12 1 1... n na c A a c A a c A  
เขียนแทนด้วย  det A
       11 11 12 12 1 1det ... n nA a c A a c A a c A   
11a 12a 1na
หรือ  det A  21a 22a 2na
1na 2na nna
ตัวอย่ำงเช่น ถ้า 1211
21 22
a a
A
a a
 
  
 
จะได้ว่า
     11 11 12 12det A a C A a C A 
   11 22 12 12a a a a  
11 22 12 21a a a a 
www.tutorferry.com T. 0998230343
28
กำรหำดีเทอร์มิแนนต์ของ n x n เมทริกซ์ เมื่อ n = 3
ถ้า 3 3ij x
A a    จะได้ว่า
11a 12a 13a
 det A  21a 22a 23a
31a 32a 33a
     11 11 12 12 13 13a C A a C A a C A  
     11 11 12 12 13 13a M A a M A a M A  
22 23 21 23 21 22
11 12 13
31 3232 33 31 33
a a a a a a
a a a
a aa a a a
  
     11 22 33 32 23 12 21 33 31 23 13 21 32 31 32a a a a a a a a a a a a a a a     
   11 22 33 12 23 31 13 21 32 31 22 13 32 23 11 33 21 12a a a a a a a a a a a a a a a a a a     
ข้อสังเกต
เมื่อ 3 3ij x
A a    การหา  det A ทาได้โดยนาหลักที่ 1 และ 2 ของ A มาเขียนต่อจากหลักที่ 3 ดังนี้
a31a22a13 32 23 11a a a 33 21 12a a a
11a 12a 13a 11a 12a
21a 22a 23a 21a 22a
31a 32a 33a 31a 32a
11 22 33a a a 12 23 31a a a 13 21 32a a a
ให้ h  ผลบวกของผลคูณในแนวเฉียงจากซ้ายบนลงมาขวาล่าง
11 22 33 12 23 31 13 21 32a a a a a a a a a  
และ k ผลบวกของผลคูณในแนวเฉียงจากซ้ายล่างขึ้นไปขวาบน
31 22 13 32 23 11 33 21 12a a a a a a a a a  
 det A h k  
www.tutorferry.com T. 0998230343
29
สมบัติของดีเทอร์มิแนนต์
กาหนดให้ ij nxn
A a    เมื่อ 2n 
1.        12 12det ...ij ij in inA a C A a C A a C A    ทุก 1,2,...,i n (กระจายตามแถวที่ i)
2.        2 2det ...ij ij j j nj njA a C A a C A a C A    ทุก 1,2,...,i n (กระจายตามแถวที่ j)
3. ถ้า A มีสมาชิกในแถวใดแถวหนึ่งหรือหลักใดหลักหนึ่งเป็นศูนย์ทุกตัวแล้ว  det 0A 
( เป็นผลของสมบัติข้อ 1 และ 2 )
4. ถ้า B ได้จากการสลับแถว 2 แถวหรือสลับหลัก 2 หลักของ A แล้ว    det detB A 
5. ถ้า A มี 2 แถวเหมือนกันหรือหลัก 2 หลักเหมือนกันแล้ว  det 0A  (เป็นผลของสมบัติข้อ 4 )
6.    det dett
A A
7. ถ้า B เกิดจากการคูณสมาชิกในแถวใดแถวหนึ่งหรือหลักใดหลักหนึ่งของ A ด้วยค่าคงตัว c แล้ว
   det detB c A
8. ถ้า B ได้จาก A โดยสมาชิกแถวที่ j ของ B ได้มาจากการคูณแถวที่ i ของ A ด้วยค่าคงตัว c และนาไป
บวกกับแถวที่ j ของ A เมื่อ i j แล้ว    det detB A
(สมบัติข้อนี้ยังคงเป็นจริงเมื่อเปลี่ยนจากแถวเป็นหลัก )
9.    det detn
cA c A เมื่อ c เป็นค่าคงตัว ( เป็นผลของสมบัติข้อ 7 )
10.      det det detAB A B เมื่อ B เป็น n x n เมทริกซ์
11.  det 1nI 
12. ถ้า ij nxn
A a    โดยที่ 0ija  เมื่อ i j แล้ว   11 22det ... nnA a a a
13. ถ้า ij nxn
B B    โดยที่ 0ijb  เมื่อ i j แล้ว   11 22det ... nnB b b b
14. ถ้า  det 0A  แล้ว    
1 1
det
det
A
A


เมทริกซ์เอกฐำนและเมทริกซ์ไม่เอกฐำน
ให้ A เป็น n x n เมทริกซ์
A เป็นเมทริกซ์เอกฐาน เมื่อ  det 0A 
A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน เมื่อ  det 0A 
เมทริกซ์ผูกพัน
ให้ A เป็น n x n เมทริกซ์ เมื่อ 2n  เมทริกซ์ผูกพันของ A คือ  
t
ijC A   แทนด้วย  adj A
   
t
ijadj A C A   
www.tutorferry.com T. 0998230343
30
สรุปได้ว่ำ
1. A      det nadj A adj A A A I 
2. A มีตัวผกผันการคูณก็ต่อเมื่อ A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐานและ  det 0A  จะได้ว่า
 
 1 1
det
A adj A
A


3. ถ้า  det 0A  และมีมิติ nxn จะได้ว่า
   
1
det det
n
adj A A

      
กำรใช้เมทริกซ์แก้ระบบสมกำรเชิงเส้น
กาหนดระบบสมการเชิงเส้นที่มี m สมการ และ n ตัวแปร
11 1 12 2 1 1n na x a x a x b   
22 221 1 2 2n na x a x a x b   
1 1 2 2m m mn n ma x a x a x b   
สมการเมทริกซ์ที่สัมพันธ์กับระบบสมการนี้ คือ
11a 12a 1na x1 1b
21a 22a 2na x2 = 2b
1ma 2ma mna xn mb
A X B
จะได้ว่า AX B
ถ้า m = n และ  det 0A  แล้วเราสามารถหาคาตอบของระบบได้จาก 1
X A B

www.tutorferry.com T. 0998230343
31
กฎของครำเมอร์
เมื่อกาหนดระบบสมการเชิงเส้นที่มี n สมการ และ n ตัวแปรโดย AX = B เป็นสมการเมทริกซ์ที่
สัมพันธ์กับระบบของสมการนี้
11a 12a 1na x1 1b
ให้ A = 21a 22a 2na , X  x2 , B = 2b
1na 2na nna xn nb
ถ้า  det 0A  แล้ว คาตอบของระบบสมการนี้ คือ
 
 
 
 
 
 
1 2
1 2
det det det
, ,...,
det det det
n
n
A A A
X X X
A A A
   เ มื่อ iA คือ เมทริกซ์ที่ได้จากการแทนหลักที่ i ของ A
ด้วยหลักของ B ทุก 1,2,...,i n
เมทริกซ์แต่งเติม
กาหนดระบบสมการเชิงเส้นที่มี m สมการ และ n ตัวแปร
11 1 12 2 1 1... n na x a x a x b   
21 1 22 2 2 2... n na x a x a x b   
1 1 2 2 ...m m mn n ma x a x a x b   
เมทริกซ์แต่งเติม ของระบบสมการนี้ คือ
11a 12a 1na 1b
21a 22a 2na 2b
1ma 2ma mna mb
กำรดำเนินกำรตำมแถว
ให้ A เป็น m x n เมทริกซ์ เรียกการดาเนินการต่อไปนี้ว่าเป็นการดาเนินงานตามแถวกับ
เมทริกซ์ A
1. สลับที่แถว i และ j ของ A เขียนบนแทนด้วย ijR
2. คูณแถวที่ i ด้วยค่าคงตัว 0c  เขียนแทนด้วย icR
www.tutorferry.com T. 0998230343
32
3. เปลี่ยนแถวที่ i ของ A โดยนาค่าคงตัว c คูณแถวที่ j  j i แล้วนาไปบวกกับแถวที่ i เขียนแทน ด้วย
i jR cR
รูปแบบขั้นบันไดแบบแถว
ให้ A เป็น m x n เมทริกซ์ เรากล่าวว่า A มีรูปแบบขั้นบันไดแบบแถว เมื่อ A มีสมบัติต่อไปนี้
1. ถ้า A มีแถวที่มีสมาชิกบางตัวไม่เท่ากับ 0 แล้วสมาชิกตัวแรก ( จากซ้ายไปขวา )ที่ไม่ใช่ 0 ต้องเป็น 1 เรียก 1
ตัวนี้ว่าเป็น 1 ตัวนาในแถว
2. ถ้า A มีแถวที่มีสมาชิกทุกตัวในแถวเท่ากับ 0 แถวเหล่านี้ต้องรวมกันอยู่ต่ากว่าแถวที่มีสมาชิกบางตัวไม่
เท่ากับ 0
3. ถ้า ija เป็น 1 ตัวนาในแถวที่ i และ  1i k
a 
เป็น 1 ตัวนาในแถวที่ i + 1 แล้ว j k
ข้อสังเกต
1. ถ้าเมทริกซ์ B ได้จากเมทริกซ์ A ในการดาเนินการตามแถวแล้วจะกล่าวว่า B สมมูลแบบแถวกับ A แทนด้วย
BA 
2. A สมมูล แบบแถวกับเมทริกซ์ที่มีรูปแบบขั้นบันไดแบบแถว
3. เมื่อกาหนดระบบสมการเชิงเส้นมาให้ มีขั้นตอนหาคาตอบ ดังนี้
11 1 12 2 1 1... n na x a x a x b   
221 1 22 2 2... n na x a x a x b   

an1x1 + an2x2 + … + annxn = bn
3.1 สร้างเมทริกซ์แต่งเติม
11a 12a 1na 1b
21a 22a 2na 2b
1na 2na ann nb
3.2 ดาเนินการตามแถวเพื่อให้ได้รูปแบบขั้นบันไดแบบแถว
1 o o 1c
o 1 0 2c
o o 1 nc
www.tutorferry.com T. 0998230343
33
3.3 เมทริกซ์ที่ได้จาก 3.2 จะเป็นเมทริกซ์แต่งเติมของระบบสมการที่มีคาตอบชุดเดียวกับระบบสมการที่กาหนด
จะได้ว่า    1 2 1 2, ,..., , ,..,n nx x x c c c
4. การดาเนินการตามแถว บอกได้ว่า ระบบสมการที่กาหนดมีคาตอบเดียว มีความคาตอบเป็นอนันต์ หรือไม่มี
คาตอบ
4.1 มีคาตอบเดียว ช่น
1 0 0 0 1c
0 1 0 0 2c
0 0 1 0 3c
0 0 0 1 4c
   1 2 3 4 1 2 3 4, , , , , ,x x x x c c c c
4.2 มีคาตอบเป็นอนันต์ เช่น
1 1 0 0 1c
0 0 1 0 2c
0 0 0 1 3c
เซตคาตอบ คือ   1 2 3 4 1 2 1 3 2 4 3, , , ,x x x x lX X c x c X c   
อาจเขียนเป็น   1 2 2 3 1 2 1, , ,x x c c lX X c  หรือ   1 1 2 3 1,3 , ,c c c c lc R 
4.3 ไม่มีคาตอบ เช่น
1 1a 2a 3a 1c
0 0 1 b 2c
0 0 0 0 3c
ถ้าแถวใดมีสมาชิกเป็น 0 หมดทั้งแถว ระบบสมการนี้จะไม่มีคาตอบ
กำรหำตัวผกผันโดยกำรดำเนินกำรตำมแถว
กาหนดให้ A เป็น n x n เมทริกซ์ โดยที่  det 0A 
11a 12a 1na
A = 21a 22a 2na
www.tutorferry.com T. 0998230343
34
1na an2 ann
1. เขียน  nA I (เฉพาะสมาชิก)
11a 12a 1na 1 0 0
 nA I = 21a 22a 2na 0 1 0
1na an2 nna 0 0 1
2. ดาเนินการตามแถว จนได้  nI B
1 0 0 11b 12b 1nb
 nI B  0 1 0 12b 22b 2nb
0 0 1 1nb 2nb nnb
จะได้ว่า B เป็นตัวผกผันการคูณของ A 1
B A


www.tutorferry.com T. 0998230343
35
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และฟังก์ชันลอกำริทึม (เปอร์เซ็นต์จำนวนข้อสอบ 5.5%)
 เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
ถ้า a R และ n I
 แล้ว
1. ...n
a a a a a a
n
a เรียกว่า เลขยกกาลัง
a เรียกว่า ฐาน
n เรียกว่า เลขชี้กาลัง
2. 0
1a  เมื่อ 0a 
3. 1n
n
a
a

 เมื่อ 0a 
4. 1 n
n
a
a
 เมื่อ 0a 
 รำกที่ n ของจำนวนจริง
 รากที่ 2 : ถ้า ,a b R แล้ว b เป็นรากที่ 2 ของ a เมื่อ 2
b a
ค่าหลักของรากที่ 2 ของ a แทนด้วย a เรียกว่า กรณฑ์ ที่ 2 ของ a
1. ถ้า 0a  รากที่ 2 ของ a คือ a และ a
2. ถ้า 0a  รากที่ 2 ของ a คือ 0
3. ถ้า 0a  ไม่มีรากที่ 2 ของ a ที่เป็นจานวนจริง
สมบัติของกรณฑ์ที่ 2 ถ้า , 0a b 
1. a b ab
2. a a
bb
 เมื่อ 0b 
 รากที่n ของจานวนจริง : ให้ n I
 และ 1n  ถ้า ,a b R แล้ว b เป็นรากที่ n ของ a เมื่อ n
b a
ค่าหลักของรากที่ n ของ a แทนด้วย n
a เรียกว่า กรณฑ์ที่ n ของ a เมื่อ n คือดัชนีของกรณฑ์
 ข้อสังเกต
1. ถ้า 2n  จะเขียน แทน 2
2. 0 0n
3. 1 1n

4.  
n
n
a a เมื่อ n
a R
5. ถ้า 0a  แล้ว 0n
a 
n ตัว
www.tutorferry.com T. 0998230343
36
6. ถ้า 0a  และ
6.1 n เป็นจานวนคี่ แล้ว 0n
a 
6.2 n เป็นจานวนคู่ แล้ว n
a ไม่ใช่จานวนจริง
a เมื่อ 0a 
7. n n
a  a เมื่อ 0a  และ n เป็นจานวนคี่
a เมื่อ 0a  และ n เป็นจานวนคู่
สมบัติของรากที่ n ถ้า n
a , n
b R
1. n n n
a b ab
2. , 0
n
n
n
a a
b
bb
 
 การหาผลบวกและผลต่างของกรณฑ์ ทาได้เมื่อเป็นจานวนเดียวกัน ในกรณฑ์ที่มีดัชนีเท่ากัน โดยใช้สมบัติ
การแจกแจงดังนี้
1. กรณฑ์ที่ 2
 a c b c a b c  
 a c b c a b c  
2. กรณฑ์ที่ n
 n n n
a c b c a b c  
 n n n
a c b c a b c  
 การหาผลคูณและผลหารของกรณฑ์ ถ้าดัชนีของกรณฑ์ต่างกัน ต้องทาให้เท่ากันก่อน แล้วใช้สมบัติของราก
ที่ n ถ้า b , d > 0 จะได้ว่า
n mmnm n
(a b)(c d) (ac) b d
nm
mn
mn
a b a b
c dc d
 ; 0c 
 เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ
1. ถ้า ,a R n I
  และ 1, n
n a R
1
nn
a a
2. ถ้า a R , m และ n I โดย m
n
เป็นเศษส่วนอย่างต่า และ 0n  , n
a R โดยเมื่อ 0m 
แล้ว 0a 
 
1
 
  
 
mm
m
nn n
a a a
 
1m
nm mn na a a 
www.tutorferry.com T. 0998230343
37
สมบัติของเลขยกกำลัง
ถ้า ,m n เป็นจานวนตรรกยะ และ , , , m n n mn
a a b a R
1. m n m n
a xa a 

2.
m
m n
n
a
a
a

 0a 
3.  
nm mn
a a
4.  
nn n
a xb ab
5.
nn
n
a a
b b
 
  
 
0b 
 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ ฟังก์ชัน ( ){ }, ; 0, 1x
f x y RxR y a a a+
= Î = > ¹
1. fD R= , fR R+
= ( )0x
a >
2. กราฟผ่านจุด ( )0,1 เพราะ 0
1a =
3. ถ้า a > 1 เป็นฟังก์ชันเพิ่ม และถ้า 0 < a < 1 เป็นฟังก์ชันลด
4. กราฟไม่ตัดแกน X แต่เข้าใกล้แกน X หรือมีแกน X เป็นเส้นกากับแนวนอน
5. เป็นฟังก์ชัน 1 – 1 จาก R ไปทั่วถึง R+
1 1
: onto
f R R- +
¾ ¾ ®
6. โดยสมบัติของฟังก์ชัน 1 – 1 จะได้ว่า
x y
a a= ก็ต่อเมื่อ x = y
7. ถ้า 0b > , 1b ¹ , a b¹ และ x x
a b= แล้ว 0x =
8. ถ้า 0x > , 0y > และ m , n Î +
I
m
n
x = y ก็ต่อเมื่อ x =
n
m
y
 ฟังก์ชันลอกำริทึม
ฟังก์ชันลอการิทึม คือ ฟังก์ชัน ( ){ }, log ; 0, 1af x y R xR y x a a+
= Î = > ¹
1. เป็นฟังก์ชันผกผันของฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล
2. fD R+
= , fR R=
3. กราฟของ x
y a= และ logay x= มีเส้นตรง y = x เป็นแกนสมมาตร
4. y
x a= สามารถเขียนในรูป logay x=
5. กราฟผ่านจุด ( )1,0 เพราะ log 1 0a =
6. ถ้า a > 1 เป็นฟังก์ชันเพิ่ม และถ้า 0 < a < 1 เป็นฟังก์ชันลด
7. กราฟไม่ตัดแกน Y แต่เข้าใกล้แกน Y หรือมีแกน Y เป็นเส้นกากับแนวตั้ง
www.tutorferry.com T. 0998230343
38
8. เป็นฟังก์ชัน 1 – 1 จาก R+
ไปทั่วถึง R
1 1
: onto
f R R-+
¾ ¾ ®
9. โดยสมบัติของฟังก์ชัน 1 – 1 จะได้ว่า
log loga ax y= ก็ต่อเมื่อ x = y
10. จาก logay x= ก็ต่อเมื่อ y
a x=
 loga x
a x= และ log y
ay a=
สมบัติของลอกำริทึม เมื่อ , ,a M N R+
Î ที่ 1a ¹ และ k RÎ
1. log log loga a aMN M N= +
2. log log loga a a
M
M N
N
= -
3. log logk
a aM k M=
4. log 1a a =
5. log 1 0a =
6. 1
log logk aa
M M
k
=
7. 1
log
log
b
a
a
b
=
8. log
log
log
c
b
c
a
a
b
=
กำรหำค่ำลอกำริทึม
1. ลอการิทึมสามัญ หมายถึง ลอการิทึมฐาน 10
เช่น 10log 2 จะเขียนแทนด้วย log2
2. ถ้า 0 10n
N N x= , 01 10N  และ n I จะได้ว่า
0log logN n N= +
N คือ แอนติลอการิทึมของ log N
3. ลอการิทึมธรรมชาติ หรือลอการิทึมแบบเนเปียร์ หมายถึง ลอการิทึมฐาน e ( 2.718)e »
เช่น log 2e จะเขียนแทนด้วย ln 2
log
ln 2.3026log
log
x
x x
e
= » ; log 0.4343e »

www.tutorferry.com T. 0998230343
39
จำนวนเชิงซ้อน (เปอร์เซ็นต์จำนวนข้อสอบ 4.5%)
 จำนวนเชิงซ้อน
 จำนวนจินตภำพ ( imaginary number )
ถ้า a R
 จะได้ว่า a ai  เมื่อ 1i   และ 2
1i 
ข้อสังเกต ถ้า n I
 หรือศูนย์ จะได้ว่า
1. 4 0
1n
i i 
2. 4 1 1n
i i i
 
3. 4 2 2
1n
i i
 
4. 4 3 3n
i i i
 
จำนวนจริง
จำนวนตรรกยะ
จำนวนเต็มจำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม
ศูนย์จำนวนเต็มลบจำนวนเต็มบวกหรือจำนวนนับ
จำนวนอตรรกยะ
จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนจินตาำ
www.tutorferry.com T. 0998230343
40
 จำนวนเชิงซ้อน ( complex number )
จานวนเชิงซ้อน คือ คู่อันดับ ( a , b ) เมื่อ ,a b R ถ้า z เป็นจานวนเชิงซ้อน จะได้ว่า
z = ( a , b ) = a + bi
a คือ ส่วนจริง ( real part ) ของ z แทนด้วย Re ( z )
b คือ ส่วนจินตภาพ ( imaginary part ) ของ z แทนด้วย Im ( z )
เซตของจานวนเชิงซ้อน แทนด้วย C
ข้อสังเกต
1. จานวนจริง คือ จานวนเชิงซ้อนที่มีส่วนจินตภาพเป็น ศูนย์
2. จานวนเชิงซ้อนที่มีส่วนจริงเป็นศูนย์ แต่ส่วนจินตภาพไม่เป็นศูนย์ เรียกว่า จานวนจินตภาพแท้
3. ทั้งจานวนจริงและจานวนจินตภาพเป็นสับเซตของจานวนเชิงซ้อน
 สมบัติของจำนวนเชิงซ้อน
กาหนดให้ , , , ,a b c d k R
1. สมบัติการเท่ากัน
a + bi = c + di ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
2. การบวกจานวนเชิงซ้อน
( a + bi ) + ( c + di ) = ( a + c ) + ( b + d )i
3. การคูณจานวนเชิงซ้อน
3.1 การคูณจานวนเชิงซ้อนด้วยจานวนจริง
k( a + bi ) = ka + kbi
3.2 การคูณจานวนเชิงซ้อนด้วยจานวนจินตภาพ i
i( a + bi ) = -b + ai
3.3 การคูณจานวนเชิงซ้อนด้วยจานวนเชิงซ้อน
( a + bi )( c + di ) = ( ac - bd ) + ( ad + bc )i
4. สมบัติการบวกและการคูณจานวนเชิงซ้อน
ถ้า z1 , z2 , z3 เป็นจานวนเชิงซ้อน จะได้ว่า
4.1 สมบัติการสลับที่
z1 + z2 = z2 + z1 และ z1z2 = z2z1
4.2 สมบัติการเปลี่ยนหมู่
z1 + ( z2 + z3 ) = ( z1 + z2 ) + z3
z1( z2z3 ) = ( z1z2 )z3
4.3 สมบัติการแจกแจง
z1( z2 + z3 ) = z1z2 + z1z3
www.tutorferry.com T. 0998230343
41
5. เอกลักษณ์การบวก
( a , b ) + ( 0 , 0 ) = ( a , b ) = ( 0 , 0 ) + ( a , b )
นั้นคือ ( 0 , 0 ) เป็นเอกลักษณ์การบวกในระบบจานวนเชิงซ้อน
6. ตัวผกผันการบวก ( อินเวอร์สการบวก )
ถ้า z = ( a , b ) = a + bi
ตัวผกผันการบวกของ z คือ -z = -a - bi
7. การลบจานวนเชิงซ้อน
z1 - z2 = z1 + ( -z2 )
การลบจานวนเชิงซ้อน คือ การบวกด้วยตัวผกผันการบวกของจานวนเชิงซ้อน
8. เอกลักษณ์การคูณ
( a , b )( 1 , 0 ) = ( a , b ) = ( 1 , 0 )( a , b )
นั้นคือ ( 1 , 0 ) เป็นเอกลักษณ์การคูณในระบบจานวนเชิงซ้อน
9. ตัวผกผันการคูณ ( อินเวอร์สการคูณ )
ถ้า z = ( a , b ) = a + bi โดยที่ z  ( 0 , 0 )
ตัวผกผันการคูณของ z คือ 1
2 2
a bi
z
a b
 


10. การหารจานวนเชิงซ้อน
1 1
1 2 1 2
2
z
z z z z
z

  
การหารจานวนเชิงซ้อน คือ การคูณด้วยตัวผกผันการคูณของจานวนเชิงซ้อน
 สังยุคของจำนวนเชิงซ้อน ( conjugate )
ถ้า z = a + bi สังยุคของ z แทนด้วย z
z a bi a bi   
ข้อสังเกต 2 2
zz a b 
สมบัติของสังยุค
1.
1
Re( ) ( )
2
z z z  ,
1
Im( ) ( )
2
z z z
i
 
2. z z
3.
1 1
( )
z z
 เมื่อ (0,0)z 
4. 1 2 1 2z z z z  
www.tutorferry.com T. 0998230343
42
5. 1 2 1 2z z z z  
6. 1 2 1 2z z z z
7. 1 1
2 2
z z
z z
 
 
 
เมื่อ 2 (0,0)z 
การนาสังยุคมาใช้ในการหารจานวนเชิงซ้อน
ถ้า z1 = a + bi และ z2 = c + di โดยที่ 2 (0,0)z 
   
1
2
1
2 2
2
z a bi a bi c di
z c di c di c di
z ac bd bc ad i
z c d
       
     
  


 รำกที่ 2 ของจำนวนเชิงซ้อน
ถ้า z = a + bi และ 2 2
c a b  แล้วรากที่ 2 ของ z คือ
2 2
c a c a
i
  
  
 
เมื่อ 0b 
2 2
c a c a
i
  
  
 
เมื่อ b < 0
ข้อสังเกต
1. ถ้า z = ( 0 , 0 ) รากที่ 2 ของ z จะมีเพียงจานวนเดียว คือ ( 0 , 0 )
2. ถ้า z  ( 0 , 0 ) รากที่ 2 ของ z จะมี 2 จานวนที่แตกต่างกัน
3. ถ้า z = ( a , 0 )
รากที่ 2 ของ z =
, 0
, 0
a a
a i a
 

 
4. ถ้า z = ( 0 , b )
รากที่ 2 ของ z =
, 0
2 2
, 0
2 2
b b
i b
b b
i b
  
    
 

      
www.tutorferry.com T. 0998230343
43
 กรำฟของจำนวนเชิงซ้อน
จานวนเชิงซ้อนอยู่ในรูปของคู่อันดับ ( a , b ) โดย a เป็นส่วนจริง และ b เป็นส่วน- จินตภาพ
ซึ่งแทนได้ด้วยจุดบนระนาบในระบบแกนมุมฉาก โดยแกนนอนเรียกว่า แกนจริง แกนตั้งเรียกว่า แกนจินต
ภาพ และระนาบที่เกิดจากแกนทั้ง 2 เรียกว่า ระนาบเชิงซ้อน
ให้ แกน X แทนแกนจริง และแกน Y แทนแกนจินตภาพ จานวนเชิงซ้อน 1 + 2i แทนได้ด้วย
จุด ( 1 , 2 ) หรือแทนด้วยเวกเตอร์ที่มีจุด ( 0 , 0 ) เป็นจุดเริ่มต้น และจุด ( 1 , 2 ) เป็นจุดสิ้นสุด
 ค่ำสัมบูรณ์ ( absolute value หรือ modulus ) ของจำนวนเชิงซ้อน
ถ้า z = a + bi ค่าสัมบูรณ์ของจานวนเชิงซ้อน z คือจานวนจริง 2 2
a b เขียน
แทนด้วย z หรือ a bi
2 2
z a bi a b   
ข้อสังเกต a bi คือระยะทางจากจุดกาเนิด ( 0 , 0 ) ถึงจุด ( a , b ) ในระนาบเชิงซ้อน
สมบัติของค่าสัมบูรณ์
1. 22
z zz z 
2. z z z  
3.
1 1
z z
 เมื่อ z  ( 0 , 0 )
4. 1 2 1 2z z z z
5. 11
2 2
zz
z z
 เมื่อ z  ( 0 , 0 )
-1
-1
0
Y
X
1 2 3 4
2
3
.( 1 , 2 )
( 1 , 2 )
www.tutorferry.com T. 0998230343
44
6. 1 2 1 2z z z z  
7. 1 2 1 2z z z z  
8.
2 2 2 2
1 2 1 2 1 22 2z z z z z z    
9.
2
1 2 1 2 1 2( )( )z z z z z z   
10.
2
1 2 1 2 1 2( )( )z z z z z z   
ข้อสังเกต
1. 1 2z z คือระยะทางระหว่างจุด z1 และ z2 ในระนาบเชิงซ้อน
2. ถ้า z1 และ z2 เป็นจานวนเชิงซ้อน r เป็นจานวนจริงบวก
2.1  1 1 2z C z z r   คือเซตของจุดทั้งหมดในระนาบเชิงซ้อนที่มีระยะห่างจาก z1 เท่ากับ r
ซึ่งก็คือเซตของจุดทั้งหมดที่อยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมที่มี z2 เป็นจุดศูนย์กลาง และมีรัศมี r
 จำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
ถ้า z = x + yi เราสามารถเขียนในรูปเชิงขั้วได้ดังนี้
z = r ( cos + isin )
การคูณและการหารจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
กาหนดให้ z = r ( cos + isin ) , z1 = r1 ( cos 1 + isin 1 ) , z2 = r2 ( cos 2 + isin 2 )
1.       sincos irz
2.       sincos
11
i
rz
3.     21212121 sincos   irrzz
4.     2121
2
1
2
1
sincos   i
r
r
z
z
ทฤษฎีบทของเดอมัวร์
ถ้า z = r ( cos + isin ) และ 
 In จะได้ว่า
     ninrz nn
sincos 
รำกที่ n ของจำนวนเชิงซ้อน
ถ้า z = r ( cos + isin ) แล้วรากที่ n ของ z แทนด้วย zk











 





 

n
k
i
n
k
rz n
k
 2
sin
2
cos
เมื่อ k = 0 , 1 , 2 , … , n-1

www.tutorferry.com T. 0998230343
45
เรขำคณิตวิเครำะห์ (เปอร์เซ็นต์จำนวนข้อสอบ 3%)
 เรขำคณิต
ระยะทางระหว่างจุดสองจุด
1. ถ้า  1 1,0P x และ  2 2 ,0P x อยู่บนแกน X หรือถ้า  1 1,P x y และ  2 2 ,P x y ขนานแกน X
1 2 1 2PP x x 
2. ถ้า  1 10,P y และ  2 20,P y อยู่บนแกน Y หรือถ้า  1 1,P x y และ  2 2,P x y ขนานแกน Y
1 2 1 2PP y y 
3. ถ้า  1 1 1,P x y และ  2 2 2,P x y เป็นจุดในระนาบแล้ว
   
2 2
1 2 1 2 1 2PP x x y y   
จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด
ถ้า  ,P x y เป็นจุดกึ่งกลางระหว่างจุด  1 1 1,P x y และ  2 2 2,P x y แล้ว
1 2
2
x x
x


1 2
2
y y
y


จุดแบ่งระหว่างจุดสองจุด
ให้  1 1 1,P x y และ  2 2 2,P x y เป็นจุดในระนาบแล้ว ถ้า  ,P x y เป็นจุดบนเส้นตรง 1 2PP โดยที่
1 2 1 2: :PP PP r r แล้ว
2 1 1 2
1 2
r x r x
x
r r



2 1 1 2
1 2
r y r y
y
r r



จุดรวมมวล หรือจุดตัดกันของเส้นมัธยฐาน
ให้  1 1,A x y ,  2 2,B x y และ  3 3,C x y เป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม ABC ถ้า  ,P x y เป็น
จุดรวมมวลของรูปสามเหลี่ยม ABC แล้ว
1 2 3
3
x x x
x
 

1 2 3
3
y y y
y
 

เส้นมัธยฐาน คือ เส้นที่ลากจากจุดยอดไปแบ่งครึ่งฐาน
www.tutorferry.com T. 0998230343
46
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมใด ๆ
ให้  1 1,A x y ,  2 2,B x y และ  3 3,C x y เป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม ABC
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC = 1 2 2 3 3 1 1 3 2 1 3 2
1
2
x y x y x y x y x y x y    
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมใด ๆ
ให้  1 1,A x y ,  2 2,B x y ,  3 3,C x y และ  4 4,D x y เป็นจุดยอดของรูปสี่เหลี่ยม ABCD
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ABCD = 1 2 2 3 3 4 4 1 1 4 2 1 3 2 4 3
1
2
x y x y x y x y x y x y x y x y      
 เส้นตรง
ความชันของเส้นตรง
ให้ L เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด  1 1 1,P x y และ  2 2 2,P x y โดยที่ 1 2x x
m เป็นความชันของเส้นตรง L
1 2
1 2
y y
m
x x



m > 0 เส้นตรงทามุมแหลมกับแกน X
m < 0 เส้นตรงทามุมป้านกับแกน X
m = 0 เส้นตรงขนานกับแกน X
m หาค่าไม่ได้ เส้นตรงขนานกับแกน Y
ถ้า  เป็นมุมที่เส้นตรงทากับแกน X แล้ว tanm 
เส้นขนานและเส้นตั้งฉาก
ให้เส้นตรง 1L และ 2L มีความชัน 1m และ 2m ตามลาดับ
1. 1 2//L L ก็ต่อเมื่อ 1 2m m
2. 1 2L L ก็ต่อเมื่อ 1 2 1m m  
มุมระหว่างเส้นตรง
ให้เส้นตรง 1L และ 2L มีความชัน 1m และ 2m ตามลาดับ ถ้า  เป็นมุมระหว่างเส้นตรง 1L
และ 2L โดยที่ 0 90  แล้ว
1 2
1 2
tan
1
m m
m m




www.tutorferry.com T. 0998230343
47
สมการเส้นตรง
1. เส้นตรงขนานแกน X
y = b
ความชัน = 0
ตัดแกน Y ที่จุด ( 0 , b )
2. เส้นตรงขนานแกน Y
x = a
ไม่มีความชัน
ตัดแกน X ที่จุด ( a , 0 )
3. เส้นตรงที่ไม่ขนานแกน X และไม่ขนานแกน Y
3.1 มีความชันเท่ากับ m และผ่านจุด  1 1x , y
 1 1y y m x x  
ความสัมพันธ์ คือ     1 1x, y RxR y y m x x   
3.2 ผ่านจุด  1 1x , y และ  2 2x , y
1 1 2
1 1 2
y y y y
x x x x
 

 
สมการเส้นตรงในรูปมาตรฐาน
y mx c 
ความชัน = m
ระยะตัดแกน X = c
m
 , ระยะตัดแกน Y = c
จุดตัดแกน X คือ c
,0
m
 
 
 
, จุดตัดแกน Y คือ  0,c
สมการเส้นตรงในรูปทั่วไป
Ax By C 0  
ความชัน = A
B

ระยะตัดแกน X = C
A
 , ระยะตัดแกน Y = C
B

จุดตัดแกน X คือ C
,0
A
 
 
 
, จุดตัดแกน Y คือ C
0,
B
 
 
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท

More Related Content

What's hot

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
Aon Narinchoti
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
kroojaja
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต
pairtean
 

What's hot (19)

สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซต
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
Set
SetSet
Set
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต
 
สับเซต
สับเซตสับเซต
สับเซต
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set(เซต)
Set(เซต)Set(เซต)
Set(เซต)
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
11อินเตอร์เซก
11อินเตอร์เซก11อินเตอร์เซก
11อินเตอร์เซก
 

Viewers also liked

41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 341 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
Tutor Ferry
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
Coverslide Bio
 

Viewers also liked (20)

วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
 
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงานวิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
 
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
 
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 341 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
Ged reasoning through_language_arts_language_section
Ged reasoning through_language_arts_language_sectionGed reasoning through_language_arts_language_section
Ged reasoning through_language_arts_language_section
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
คณิต ม.3
คณิต ม.3คณิต ม.3
คณิต ม.3
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 

Similar to เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท

Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
yinqpant
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
krutew Sudarat
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
Pasit Suwanichkul
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
wisita42
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
Thidarat Termphon
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง
Chwin Robkob
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
aass012
 

Similar to เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท (20)

สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
01real
01real01real
01real
 
Real
RealReal
Real
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
 

More from Tutor Ferry

More from Tutor Ferry (13)

Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
 
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์ สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
Ged reasoning through_language_arts_reading_section
Ged reasoning through_language_arts_reading_sectionGed reasoning through_language_arts_reading_section
Ged reasoning through_language_arts_reading_section
 
Ged social studies Test
Ged social studies TestGed social studies Test
Ged social studies Test
 
Ged Science Test
Ged Science TestGed Science Test
Ged Science Test
 
Ged Mathematical Test
Ged Mathematical Test Ged Mathematical Test
Ged Mathematical Test
 
Ged Mathematical Test
Ged Mathematical TestGed Mathematical Test
Ged Mathematical Test
 
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTSศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
 
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFEศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
 
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT Universityศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 

เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท

  • 1. www.tutorferry.com T. 0998230343 1 PAT 1 คณิตศาสตร์ เจาะลึกแนวข้อสอบ PAT 1 พร้อมเนื้อหาสรุปสูตรและทฤษฎี 1. เซต เน้นเรื่องเพาเวอร์เซต สับเซต ผลต่างของเซต การหาจานวนสมาชิกของเซต 2. จานวนจริง เรื่องอสมการค่าสัมบูรณ์ อสมการพหุนาม สมการพหุนาม สมบัติของ โอเปอเรเตอร์ การหาค่าโอเปอเรเตอร์ที่กาหนด 3. ฟังก์ชัน เรื่อง โดเมนของฟังก์ชัน ฟังก์ชัน 1-1 ฟังก์ชันคอมโพสิท อินเวอร์สของฟังก์ชัน ฟังก์ชันเวียนเกิด 4. เมทริกซ์ เน้นเรื่องการบวก ลบ คูณ เมตริกซ์ det และอินเวอร์สของเมตริกซ์มิติ 2x2 5. Expo & Log ออกการแก้สมการและอสมการ Expo การแก้สมการและอสมการ Log 6. จานวนเชิงซ้อน เน้นเรื่องค่าสัมบูรณ์ อินเวอร์สและสังยุคของจานวนเชิงซ้อน การบวกและ คูณจานวนเชิงซ้อน
  • 2. www.tutorferry.com T. 0998230343 2 7. เรขาคณิตวิเคราะห์ ออกเรื่องระยะห่างระหว่างจุด 2 จุด ความชันของเส้นตรงระหว่างจุด 2 จุด ระยะระหว่างจุดกับเส้นตรง สมการเส้นตรง เส้นตรงที่ตั้งฉากกัน พื้นที่รูปสามเหลี่ยม 8. ฟังก์ชันตรีโกณมิติ เรื่องเอกลักษณ์ของตรีโกณมิติ กฎ cosine ผลบวกและผลต่างของ ฟังก์ชันตรีโกณมิติ อินเวอร์สของฟังก์ชันตรีโกณมิติ สูตรมุม 2 เท่า สมการตรีโกณมิติ 9. เวกเตอร์ เน้นเรื่องเวกเตอร์ที่ขนานและตั้งฉากกัน ขนาดของผลบวกและผลต่างของ เวกเตอร์ ค่าสัมบูรณ์ของผลบวกและผลต่างของเวกเตอร์ ผลคูณแบบ dot 10.ลาดับและอนุกรม เน้นๆเรื่องลาดับเลขคณิต ลาดับเรขาคณิต ลิมิตของลาดับ อนุกรม อนันต์ อนุกรม 1 + 2 + ... + n 11.แคลคูลัส ออกเรื่องลิมิตของฟังก์ชัน ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ อนุพันธ์ฟังก์ชัน คอมโพสิท อินทิเกรต อินทิกรัลจากัดเขต ภาคตัดกรวย ออกเรื่องวงรี วงกลมไฮเพอร์โบลา พาราโบลา 12.กาหนดการเชิงเส้น เรื่องค่าต่าสุดและสูงสุดของฟังก์ชันเป้าหมาย 13.ตรรกศาสตร์ ออกเรื่องการหาค่าความจริงของประพจน์ การหาค่าความจริงของตัวบ่ง ปริมาณ นิเสธของตัวบ่งปริมาณ สัจนิรันดร์ ปัญหาเชิงตรรกะ ออกเกี่ยวกับปัญหาเชาวน์ ทางคณิตศาสตร์ การหาค่าตัวเลขที่หายไป จัตุรัสกล เป็นต้น 14.ความน่าจะเป็น เน้นเรื่องกฎการนับ การจัดหมู่ การเรียงสับเปลี่ยน ยูเนียนของเหตุการณ์ 15.สถิติ ออกเรื่องค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม มัธยฐาน ฐานนิยม พิสัย ค่า มาตรฐาน ความแปรปรวน สัมประสิทธิ์การแปรผัน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ควอร์ไทล์ เปอร์เซ็นไทล์
  • 3. www.tutorferry.com T. 0998230343 3 เซต (เปอร์เซ็นต์จานวนข้อสอบ 3.75%)  สับเซต และเพาเวอร์เซต A เป็นสับเซตของ B เมื่อสมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B เขียนแทนด้วย A B A ไม่เป็นสับเซตของ B เมื่อมีสมาชิกอย่างน้อย 1 ตัว ของ A ไม่เป็นสมาชิกของ B เขียนแทนด้วย A B ตัวอย่างเช่น ถ้า  1,2A  สับเซตของ A มี 4 สับเซต คือ      , 1 , 2 , 1,2 ข้อสังเกต 1. ถ้า  n A เป็นจานวนสมาชิกของ A แล้วจานวนสับเซตของ   2 n A A  2. เซตว่างเป็นสับเซตของทุกเซต 3. เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวมันเอง เพาเวอร์เซต : เพาเวอร์เซตของ A คือเซตที่มีสมาชิกเป็นสับเซตทั้งหมดของ A เขียนแทนด้วย P ( A ) ตัวอย่างเช่น  1,2A          , 1 , 2 , 1,2P A  ข้อสังเกต จานวนสมาชิกของ  P A เท่ากับ   2 n A หรือ      2 n A n P A   การดาเนินการของเซต หมายถึง การกระทาที่จะเกิดเซตใหม่ หรือ การสร้างเซตใหม่จากเซตที่กาหนดให้ 1. ยูเนียน :  A B x x Aor B    2. อินเตอร์เซกชัน :  A B x x A x B   และ 3. คอมพลีเมนต์ :  A x x x A   และ 4. ผลต่าง :  A B x x A x B   และ  B A x x B x A   และ A B A B
  • 4. www.tutorferry.com T. 0998230343 4  ทฤษฎีของเซต 1. กฎการสลับที่ 1.1 A B B A   1.2 A B B A   2. กฎการเปลี่ยนกลุ่ม 2.1    A B C A B C     2.2    A B C A B C     3. กฎการแจกแจง 3.1      A B C A B A C      3.2      A B C A B A C      4. กฎเดอมอร์แกน 4.1  A B A B     4.2  A B A B     5. สมบัติของผลต่าง A A A B A B
  • 5. www.tutorferry.com T. 0998230343 5 5.1 U A A  5.2   / A B A A B A B      6. สมบัติของเพาเวอร์เซต 6.1 A B เมื่อ    P A P B 6.2 P     A P B P A B   6.3  P(A) P B = P(A B)  จำนวนสมำชิกของเซตจำกัด 1.      n A n A n U  2.        n A B n A n B n A B     3.      n A B n A n A B    4.  n A B C n(A) n(B) n(C) n(A B) n(A C) n(B C) n(A B C)              
  • 6. www.tutorferry.com T. 0998230343 6 จำนวนจริง (เปอร์เซ็นต์จานวนข้อสอบ 6.75%)  สมบัติของจำนวนจริง ถ้า a , b และ c  R 1. สมบัติการเท่ากัน 1.1 สมบัติการสะท้อน a a 1.2 สมบัติการสมมาตร ถ้า a b แล้ว b a 1.3 สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a b และ b c แล้ว a c 1.4 สมบัติการบวกด้วยจานวนที่เท่ากัน ถ้า a b แล้ว a c b c   1.5 สมบัติการคูณด้วยจานวนที่เท่ากัน ถ้า a b แล้ว ac bc จำนวนจริง จำนวนตรรกยะ จำนวนเต็มจำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม ศูนย์จำนวนเต็มลบจำนวนเต็มบวกหรือจำนวนนับ จำนวนอตรรกยะ
  • 7. www.tutorferry.com T. 0998230343 7 2. สมบัติการบวกและการคูณ สมบัติ กำรบวก กำรคูณ 2.1 ปิด a b R  ab R 2.2 การสลับที่ a b b a   ab ba 2.3 การเปลี่ยนหมู่ ( ) ( )a b c a b c     ( ) ( )ab c a bc 2.4 การมีเอกลักษณ์ มีจานวนจริง 0 เป็นเอกลักษณ์ การบวกซึ่ง 0 0a a a    มีจานวนจริง 1 เป็นเอกลักษณ์ การคูณ ซึ่ง 1 1a a a    2.5 การมีอินเวอร์ส มีจานวนจริง a เป็นอินเวอร์ส การบวกของ a ( ) 0 ( )a a a a      มีจานวนจริง 1 a หรือ 1 a เป็น อินเวอร์สการคูณของ a เมื่อ 0a  1 1 1a a a a      2.6 การแจกแจง ( )a b c ab ac    กำรนำสมบัติของจำนวนจริงไปแก้สมกำร 1. การแยกตัวประกอบ 1.1 สมการกาลัง 2 ตัวแปรเดียว ที่อยู่ในรูป 2 0x bx c   ทาได้โดยหา d และ e ที่ de c และ d e b  ทาให้ 2 ( )( ) 0x bx c x d x e      จะได้คาตอบของสมการคือ d และ e 1.2 สมการกาลัง 2 ตัวแปรเดียว ที่อยู่ในรูป 2 0ax bx c   หา , ,d e f และ g ที่ de c , fg a และ dg ef b  ทาให้ 2 ( )( ) 0ax bx c fx d gx e      จะได้คาตอบของสมการคือ d f  และ e g  2. การทาเป็นกาลัง 2 สมบูรณ์ โดยใช้แนวคิดดังนี้ 2 2 2 2 ( )x ax a x a    2 2 2 2 ( )x ax a x a    2 2 ( )( )x a x a x a    3. ใช้สูตร 2 4 2 b b ac x a     3.1 ถ้า 2 4 0b ac  จะมี 2 คาตอบ
  • 8. www.tutorferry.com T. 0998230343 8 3.2 ถ้า 2 4 0b ac  จะมี 1 คาตอบ 3.3 ถ้า 2 4 0b ac  ไม่มีคาตอบที่เป็นจานวนจริง 4. ทฤษฎีเศษเหลือ และทฤษฎีตัวประกอบ สาหรับแก้สมการตัวแปรเดียวที่มีกาลังสูงกว่า 2  ทฤษฎีเศษเหลือ : เมื่อ 1 1 1 0( ) ...n n n np x a x a x a x a     ถ้าหาร ( )p x ด้วย x c จะเหลือเศษ ( )p c  ทฤษฎีตัวประกอบ : x c เป็นตัวประกอบของ ( )p x เมื่อ ( ) 0p c   สมบัติกำรไม่เท่ำกัน  สมบัติไตรวิภาค : ถ้า a และ b R แล้ว a b , a b และ a b จะเป็นจริงเพียงอย่างใด อย่าง หนึ่ง  สมบัติการไม่เท่ากัน , ,a b c R 1. สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a b และ b c แล้ว a c 2. สมบัติการบวกด้วยจานวนเท่ากัน ถ้า a b แล้ว a c b c   3. สมบัติการคูณด้วยจานวนเท่ากันที่ไม่เป็นศูนย์ 3.1 ถ้า a b และ 0c  แล้ว ac bc 3.2 ถ้า a b และ 0c  แล้ว ac bc  ช่วงและกำรแก้อสมกำร  ช่วง เมื่อเอกภพสัมพัทธ์เป็นเซตของจานวนจริง และ a b 1. ช่วงเปิด ( , )a b หมายถึง a x b  2. ช่วงปิด  ,a b หมายถึง a x b  3. ช่วงครึ่งเปิดหรือช่วงครึ่งปิด  ,a b หมายถึง a x b    
  • 9. www.tutorferry.com T. 0998230343 9 4. ช่วงครึ่งเปิด หรือ ช่วงครึ่งปิด  ,a b หมายถึง a x b  5. ช่วง ( , )a  หมายถึง x a 6. ช่วง  ,a  หมายถึง x a 7. ช่วง  ,a หมายถึง x a 8. ช่วง  ,a หมายถึง x a 9. ช่วง  ,  หมายถึง x R  การแก้อสมการ มีขั้นตอนดังนี้ 1. จัดอสมการให้อยู่ในรูป พหุนาม หรือเศษส่วนพหุนาม ถ้ากาลังมากกว่า 1 ให้แยกตัวประกอบจนมีกาลัง เป็น 1 และสัมประสิทธิ์ตัวแปรเป็นบวก ดังนี้ 1.1 รูปพหุนาม     1 2 ... 0nx a x a x a    1.2 รูปเศษส่วนพหุนาม           1 2 1 2 ... 0 ... n n x a x a x a x b x b x b        ข้อสังเกต เครื่องหมายอสมการอาจเป็น  ,  ,  ,  2. กรณีเศษส่วนพหุนาม  1.2 ให้หมายเหตุไว้ว่า 1x b , 2b , ... , nb   
  • 10. www.tutorferry.com T. 0998230343 10 3. พจน์ที่เหมือนกันของเศษส่วนให้ดาเนินการโดยใช้สมบัติของเลขยกกาลัง 4. ทาส่วนให้หายไป โดยคูณด้วยพจน์ที่เหมือนกันแต่มีกาลังเป็นเลขคู่ซึ่งไม่ทาให้เครื่องหมายอสมการ เปลี่ยน เช่น คูณด้วย   2 1x b 5. เมื่ออสมการอยู่ในรูปพหุนาม  1.1 ถ้าเครื่องหมายอสมการเป็น  หรือ  ให้หมายเหตุไว้ว่า 1x a , 2a , ... , na แต่ต้องไม่ตรงกับ 1b , 2b , ... , nb ที่เป็นตัวส่วน 6. เขียนเส้นจานวนระบุตาแหน่งของ 1a , 1b , 2a , 2b , ... , na , nb โดยเรียงจากน้อยไปหามาก เฉพาะพจน์ที่กาลังเป็นเลขคี่ 7. ใส่เครื่องหมาย  , - สลับกันไป โดยเริ่มจากช่องขวาสุดให้เป็น + เสมอ 8. ถ้าเครื่องหมายอสมการเป็น  หรือ  ให้เลือกช่วง + ถ้าเครื่องหมายอสมการเป็น  หรือ  ให้เลือกช่วง - 9. นาคาตอบที่ได้จากข้อ 8 มายูเนียนกัน และนาไปยูเนียนกับข้อ 5 โดยตัดคาตอบที่ยกเว้นในข้อ 2 ออกไปด้วย  ค่าสัมบูรณ์ : ค่าสัมบูรณ์ของ x หมายถึงระยะจากจุด 0 ถึง x บนเส้นจานวน เขียนแทนด้วย x สมบัติของค่าสัมบูรณ์ x , y  R 1. x ถ้า 0x  x  0 ถ้า 0x  x ถ้า 0x  จะเห็นว่า x มีได้ค่าเดียว ซึ่งมากกว่าหรือเท่ากับ 0  x  0 1.1 x  x ถ้า x  0 1.2 x  x ถ้า x  0 2. x  x 3. xy  x y 4. x y  x y ; 0y  -+ -- + - +
  • 11. www.tutorferry.com T. 0998230343 11 5. x y  y x 6. x y  y x 7. 2 x  2 x 8. x y  x + y 9. x y  x - y ถ้า 0a  10. ถ้า x  a แล้ว x  a หรือ x  a 11. ถ้า x  a แล้ว a x a   12. ถ้า x  a แล้ว a x a   13. ถ้า x  a แล้ว x a  หรือ x a 14. ถ้า x  a แล้ว x a  หรือ x a ถ้า 0a  15. ถ้า x  a แล้ว เซตคาตอบ   16. ถ้า x  a แล้ว เซตคาตอบ   17. ถ้า x  a แล้ว เซตคาตอบ   18. ถ้า x  a แล้ว x R 19. ถ้า x  a แล้ว x R
  • 12. www.tutorferry.com T. 0998230343 12 ทฤษฎีจำนวน  กำรหำรลงตัว 1. ให้ a และ b เป็นจานวนเต็ม โดยที่ b  0 b หาร a ลงตัว ก็ต่อเมื่อ มีจานวนเต็ม c ที่ทาให้ a = bc เรียก b ว่าเป็น ตัวหารของ a และเรียก a ว่าเป็น พหุคูณของ b b a แทน b หาร a ลงตัว b † a แทน b หาร a ไม่ลงตัว 2. ให้ a , b และ c เป็นจานวนเต็ม โดยที่ a  0 และ b  0 ถ้า a b และ b c แล้ว a c 3. ถ้า a และ b เป็นจานวนเต็มบวก ซึ่ง a b แล้ว a  b 4. ถ้า a , b และ c เป็นจานวนเต็ม โดยที่ a b และ a c แล้ว a (bx + cy) เมื่อ x และ y เป็นจานวนเต็มใด ๆ 5. จานวนเต็มบวก p เป็นจานวนเฉพาะ ก็ต่อเมื่อ p  1 และถ้าจานวนเต็ม x หาร p ลงตัว แล้ว x เป็นสมาชิกของ  1, 1, ,p p   ขั้นตอนวิธีกำรหำร 1. ถ้า a และ b เป็นจานวนเต็ม โดยที่ b  0 แล้วจะมีจานวนเต็ม q และ r ชุดเดียว ซึ่ง a bq r  โดย 0 r b  เรียก q ว่า ผลหาร และ r ว่า เศษเหลือ 2. จานวนเต็ม a เป็นจานวนคู่ ก็ต่อเมื่อ สามารถเขียน a = 2k เมื่อ k เป็นจานวนเต็ม จานวนเต็ม a เป็นจานวนคี่ ก็ต่อเมื่อ สามารถเขียน a = 2k + 1 เมื่อ k เป็นจานวนเต็ม 3. ให้ b เป็นจานวนเต็มที่มากกว่า 1 จานวนเต็มบวก n ใด ๆ สามารถเขียนในรูปการกระจาย ฐาน b ได้เป็น 1 1 1 0...k k k kn a b a b a b a      เมื่อ k เป็นจานวนเต็ม และ 0 1 1, ,..., ,k ka a a a เป็นจานวนเต็มที่ไม่เป็นลบและน้อยกว่า b และ 0ka   ตัวหำรร่วมมำก 1. ให้ a และ b เป็นจานวนเต็ม โดยที่ a และ b ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน จานวนเต็มบวก d ที่มีค่า มากที่สุด ซึ่ง d a และ d b เรียกว่าเป็น ตัวหารร่วมมาก ( ห.ร.ม. ) ของ a และ b ใช้สัญลักษณ์ ( a , b ) แทน ห.ร.ม. ของ a และ b
  • 13. www.tutorferry.com T. 0998230343 13 2. กาหนดให้ a และ b เป็นจานวนเต็มบวก โดยที่ b < a โดยใช้ขั้นตอนวิธีการหารไปเรื่อย ๆ จะได้ว่า 1 1 1 1 2 2 2 1 1 2 3 3 3 2 2 1 1 1 1 ;0 ;0 ;0 ;0 0 k k k k k k k k k a bq r r b b rq r r r r r q r r r r r q r r r r r q                        ดังนั้น kr ซึ่งเป็นเศษตัวสุดท้ายที่ไม่ใช่ศูนย์จะเป็น ห.ร.ม. ของ a และ b 3. ผลจากขั้นตอนวิธีของยุคลิด ทาให้ได้ว่า ถ้า d = ( a , b ) แล้ว จะมีจานวนเต็ม x และ y ที่ทาให้ d = ax + by 4. ให้ 1 2, ,..., na a a เป็นจานวนเต็มบวกที่ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน จานวนเต็มบวก D ที่มีค่ามากที่สุด ซึ่ง 1 2, ,..., nD a D a D a เรียกว่าเป็น ตัวหารร่วมมาก ( ห.ร.ม. ) ของ 1 2, ,..., na a a ใช้สัญลักษณ์  1 2, ,..., na a a แทน ห.ร.ม. ของ 1 2, ,..., na a a 5.     1 2 1 1 2 1, ,..., , , ,..., ,n n n na a a a a a a a  6. จานวนเต็ม a และ b เป็นจานวนเฉพาะสัมพัทธ์ ก็ต่อเมื่อ ( a , b ) = 1 7. a และ b เป็นจานวนเฉพาะสัมพัทธ์ ก็ต่อเมื่อ มีจานวนเต็ม x และ y ที่ทาให้ ax + by = 1 8. กาหนดจานวนเต็ม a , b และจานวนเฉพาะ p ถ้า p ab จะได้ p a หรือ p b  ตัวคูณร่วมน้อย 1. ให้ a , b เป็นจานวนเต็มที่ไม่เป็นศูนย์จานวนเต็มบวก c ที่มีค่าน้อยที่สุด ซึ่ง a c และ b c เรียกว่า ตัวคูณร่วมน้อย ( ค.ร.น. ) ของ a และ b ใช้สัญลักษณ์ [ a , b ] แทน ค.ร.น. ของ a และ b 2. ให้ 1 2, ,..., na a a เป็นจานวนเต็มที่ไม่เป็นศูนย์จานวนเต็มบวก C ที่มีค่าน้อยที่สุด ซึ่ง 1 2, ,..., na C a C a C เรียกว่า ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) ของ 1 2, ,..., na a a ใช้สัญลักษณ์  1 2, ,..., na a a แทน ค.ร.น. ของ 1 2, ,..., na a a 3.    1 2 1 1 2 1, ,..., , , ,..., ,n n n na a a a a a a a     4. ถ้า a และ b เป็นจานวนเต็มบวก แล้ว ab = ( a , b )[ a , b ]
  • 14. www.tutorferry.com T. 0998230343 14 ฟังก์ชัน (เปอร์เซ็นต์จำนวนข้อสอบ 7.5%)  คู่อันดับ (Ordered pairs) : คู่อันดับ (a , b) มี a เป็นสมาชิกตัวหน้า และ b เป็นสมาชิกตัวหลัง เมื่อสลับตาแหน่งจะได้คู่อันดับใหม่ต่างจากเดิม ยกเว้นกรณีที่ a = b นั่นคือ (a , b) = (c , d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d  ผลคูณคำร์ทีเซียน (Cartesian product) : ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และเซต B คือ เซตของ คู่อันดับ (a , b) ทั้งหมด โดยที่ a A และ b B เขียนแทนด้วย A B   A B a,b a A b B   และ ข้อสรุปเกี่ยวกับผลคูณคำร์ทีเซียน 1.    A B C (A B) A C      2.      A B C A B A C      3.      A B C A B A C      4.      A B C A C B C      5.      A B C A C B C      6.      A B C A C B C      7.        A B B A A B A B       8.        A B B A A B A B       9.        A B C D A C B D       10.        A B C D A C B D       11. ถ้า A B และ C D แล้ว A C B D   12. ถ้า A,B   แล้ว A B B A   ก็ต่อเมื่อ A B 13. A B   ก็ต่อเมื่อ A   หรือ B   14. ถ้า A B A C   และ A   แล้ว B C 15. ถ้า A, B เป็นเซตจากัด แล้ว n(A B) n(A) n(B)   16. ถ้า A เป็นเซตอนันต์ และ B   แล้ว A B เป็นเซตอนันต์  ควำมสัมพันธ์ (Relations) : r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ r A B   ข้อสังเกต 1. r เป็นความสัมพันธ์ใน A เมื่อ r A A  2. ถ้า (a ,b)  r หมายถึง a มีความสัมพันธ์ r กับ b เขียนแทนด้วย a r b /
  • 15. www.tutorferry.com T. 0998230343 15 3. ถ้า (a , c)  r หมายถึง a ไม่มีความสัมพันธ์ r กับ c เขียนแทนด้วย a r c  กราฟของความสัมพันธ์ : กาหนดให้ R เป็นเซตของจานวนจริง r เป็นสับเซตของ R R กราฟของความสัมพันธ์ r คือ เซตของจุดในระนาบ โดยที่แต่ละจุดแทนสมาชิกของความสัมพันธ์ r กราฟของความสัมพันธ์อาจเป็น จุด เส้น หรือ อาณาบริเวณ ถ้ามีเส้นทึบ แสดงว่าทุกจุดบน เส้นทึบรวมอยู่ในกราฟ แต่ถ้ามีเส้นประ แสดงว่าทุกจุดในแนวเส้นประไม่รวมอยู่ในกราฟ  โดเมน และ เรนจ์ของความสัมพันธ์ ให้ r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B โดเมนของ r คือ เซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใน r เขียนแทนด้วย Dr  rD a A b B (a,b) rมี ซึ่ง    เรนจ์ของ r คือ เซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใน r เขียนแทนด้วย Rr  rR b B a A (a,b) r   มี ซึ่ง  ข้อสังเกต rD A และ rR B  อินเวอร์สของความสัมพันธ์ : อินเวอร์สของความสัมพันธ์ r เขียนแทนด้วย 1 r โดยที่     1 r y,x x, y r    ข้อสังเกต ถ้า r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B จะได้ว่า 1. 1 r จะเป็นความสัมพันธ์จาก B ไป A 2. 1 rr D R  และ 1 rr R D  3. กราฟของ r และ 1 r มีเส้นตรง y = x เป็นแกนสมมาตร  ฟังก์ชัน (Function) : คือความสัมพันธ์ซึ่งสาหรับคู่อันดับ 2 คู่ใด ๆ ของความสัมพันธ์นั้น ถ้า มีสมาชิกตัวหน้าเท่ากันแล้ว สมาชิกตัวหลังต้องเท่ากัน ฟังก์ชัน f คือ ความสัมพันธ์ ซึ่งสาหรับ x, y และ z ใด ๆ ถ้า  x, y f และ  x,z f แล้ว y z ถ้า  x, y f และ  x,z f แล้ว y z จะได้ว่า f ไม่เป็นฟังก์ชัน  การพิจารณาว่าความสัมพันธ์ใดเป็นฟังก์ชันหรือไม่ อาจพิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์ โดยลากเส้นขนานแกน Y ถ้าไม่มีเส้นใดตัดกราฟมากกว่า 1 จุด ความสัมพันธ์นั้นเป็นฟังก์ชัน แต่ถ้ามีเส้นใดตัด มากกว่า 1 จุด ความสัมพันธ์นั้นไม่เป็นฟังก์ชัน
  • 16. www.tutorferry.com T. 0998230343 16  ข้อตกลงเกี่ยวกับสัญลักษณ์ของฟังก์ชัน ในกรณีที่ความสัมพันธ์ f เป็นฟังก์ชัน เราจะเขียน y = f(x) แทน  x, y f เรียกว่า ค่าของฟังก์ชัน f ที่ x หรือ เอฟเอ็กซ์       f f D x x, y f R y x, y f      ชนิดของฟังก์ชัน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ฟังก์ชันพีชคณิต (algebraic function) เป็นฟังก์ชันที่อยู่ในรูปตัวแปรอิสระและมีเครื่องหมายในทางพีชคณิต เช่น บวก ลบ คูณ หาร กรณฑ์ ค่าสัมบูรณ์ และเลขยกกาลัง (ในกรณีที่ตัวแปรอิสระเป็นเลขชี้กาลังจะไม่จัด อยู่ในกลุ่มนี้) ตัวอย่างเช่น 1.1 ฟังก์ชันตรรกยะ เป็นฟังก์ชันที่อยู่ในรูปเศษส่วนพหุนาม P(x) f(x) Q(x)  เมื่อ P(x) และ Q(x) เป็นฟังก์ชันพหุนาม และ Q(x) 0 1.2 ฟังก์ชันพหุนาม (polynomial function) n n 1 2 n n 1 2 1 0f(x) a x a x ....... a x a x a       โดยที่ n n 1 2 1 0a ,a ,......,a ,a a เป็นค่าคงตัว และ n เป็นจานวนเต็มบวก หรือ ศูนย์ ข้อสังเกต ฟังก์ชันพหุนาม เป็นฟังก์ชันตรรกยะที่  Q x เท่ากับ 1 สาหรับฟังก์ชันพหุนามที่ มีกาลังน้อยกว่า 3 ได้แก่ ฟังก์ชันคงตัว ฟังก์ชันเชิงเส้น และฟังก์ชันกาลังสอง 1.3 ฟังก์ชันคงตัว (constant function) 0f(x) a เมื่อ 0a R ถ้าให้ 0a b จะได้ว่า f(x) b x y = f(x) f
  • 17. www.tutorferry.com T. 0998230343 17 มีกราฟเป็นเส้นตรงที่ขนานแกน X มีระยะตัดแกน Y เท่ากับ b โดยตัดแกน Y ที่จุด (o,b) 1.4 ฟังก์ชันเชิงเส้น (linear function) ได้แก่ ฟังก์ชันกาลัง 1 ( 1a 0 ) และ ฟังก์ชันคงตัว ( 1a 0 ) 1 0f(x) a x a  ; 1a 0 หรือ f(x) ax b  ; a 0 - กราฟเป็นเส้นตรง มีระยะตัดแกน Y เท่ากับ b - ตัดแกน Y ที่จุด  0,b - ตัดแกน X ที่จุด ( b ,0 a       - ความชัน = a - ถ้า a > 0 กราฟทามุมแหลมกับแกน X - ถ้า a < 0 กราฟทามุมป้านกับแกน X 1.5 ฟังก์ชันเอกลักษณ์ (identity function) f(x) = x เป็นฟังก์ชันเชิงเส้นที่ a = 1 และ b = 0 1.6 ฟังก์ชันกาลัง 2 (quadratic function) 2 f(x) ax bx c   ; a 0 - กราฟเป็นเส้นโค้ง เรียกว่า พาราโบลา - ถ้า a > 0 กราฟหงาย - ถ้า a < 0 กราฟคว่า รูปมาตรฐาน คือ 2 f(x) a(x h) k   ; a 0 - จะมี จุดวกกลับ หรือ จุดยอดที่ (h,k) - ถ้า a > 0 เรียกว่า จุดต่าสุด โดยมีค่าต่าสุด = k - ถ้า a < 0 เรียกว่า จุดสูงสุด โดยมีค่าสูงสุด = k - เส้นสมมาตร คือ เส้นตรง x = h รูปทั่วไป คือ   2 f x ax bx c   ; 0a  จัดเป็นรูปมาตรฐานโดยใช้หลักกาลัง 2 สมบูรณ์ จะมี จุดวกกลับหรือจุดยอดที่ 2 4 , 2 4 b ac b a a       ค่าต่าสุดหรือค่าสูงสุด 2 2 4 2 4 4 b ac b b f c a a a                จุดวกกลับอาจเขียนเป็น , 2 2 b b f a a           เส้นสมมาตร คือ เส้นตรง 2 b x a  
  • 18. www.tutorferry.com T. 0998230343 18 1.7 ฟังก์ชันตรรกยะอื่น ๆ เช่น 1.7.1 ฟังก์ชันกาลังสาม   3 f x x 1.7.2 ฟังก์ชันส่วนกลับ   1 f x x  ; 0x  1.8 ฟังก์ชันอตรรกยะ เช่น 1.8.1 ฟังก์ชันรากที่ 2  f x x ; 0x  1.8.2 ฟังก์ชันรากที่ 3   3 f x x 1.9 ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ ( absolute value function)  ตัวอย่ำง เช่น  f x x a b   มีกราฟเป็นเส้นตรง 2 เส้น คือ  f x x a b   เมื่อ x a และ  f x a x b   เมื่อ x a มีเส้นสมมาตร คือ เส้นตรง x a และเส้นสมมาตรผ่านจุด  ,a b 1.10 ฟังก์ชันขั้นบันได ( Step function)  ตัวอย่ำง เช่น   3; 2 2; 2 1 1;1 3 2; 3 x x f x x x                 f x x  x หมายถึง จานวนเต็มที่มากที่สุดที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ x 2. ฟังก์ชันอดิศัย (transcendental function) คือ ฟังก์ชันที่ไม่ใช่ฟังก์ชันพีชคณิต ได้แก่ 2.1 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเซียล (exponential function) หรือฟังก์ชันเลขชี้กาลัง   x f x a ; 0a  และ 1a  fD R และ fR R  - กราฟเป็นเส้นโค้ง ผ่านจุด  0,1 เพราะ 0 1a 
  • 19. www.tutorferry.com T. 0998230343 19 - ถ้า 1a  เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้น y จะมีค่าเพิ่มขึ้น (ฟังก์ชันเพิ่ม) - ถ้า 0 1 a เมื่อ x เพิ่ม y ลด (ฟังก์ชันลด) - 1 2 x x a a เมื่อ 1 2x x - ถ้า 0b  และ 1b  แล้ว x x a b และ a b เมื่อ 0x - 0x a  เมื่อ 0a  2.2 ฟังก์ชันลอการิทึม เช่น   logaf x x ; 0a  และ 1a  fD R  และ fR R 2.3 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ เช่น   sinf x x fD R และ  1,1fR   ฟังก์ชันอื่น ๆ ที่น่าสนใจ 1. ฟังก์ชันที่เป็นคาบ ( periodic function ) เช่น f ( x + k ) = f ( x ) 2. ฟังก์ชันคู่และฟังก์ชันคี่ ( even function and odd function ) f ( -x ) = f ( x ) ; even function f ( -x ) = -f ( x ) ; odd function 3. ฟังก์ชันเพิ่มและฟังก์ชันลด ถ้า 2 1x x แล้ว    2 1f x f x ; ฟังก์ชันเพิ่ม ถ้า 2 1x x แล้ว    2 1f x f x ; ฟังก์ชันลด  ลักษณะของฟังก์ชัน แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ 1. ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง (one-to-one function) คือ ฟังก์ชันที่ไม่มีสมาชิกตัวหลังของสองคู่อันดับใด ๆ เหมือนกัน แต่สมาชิกตัวหน้าต่างกัน f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ก็ต่อเมื่อ ถ้า  1,x y f และ  2 ,x y f แล้ว 1 2x x การพิจารณาว่าฟังก์ชันใดเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งหรือไม่ อาจพิจารณาจากกราฟของฟังก์ชัน โดยลากเส้น ขนานแกน X ถ้าไม่มีเส้นใดตัดกราฟมากกว่า 1 จุด ฟังก์ชันนั้นเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง แต่ถ้ามีเส้นใดตัด มากกว่า 1 จุด ฟังก์ชันนั้นไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ( many-to-one function )
  • 20. www.tutorferry.com T. 0998230343 20 2. ฟังก์ชันจาก A ( function from A ) f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B หมายถึง ฟังก์ชัน f มีโดเมนเท่ากับเซต A และมีเรนจ์เป็นสับเซตของ B เขียนแทนด้วย :f A B โดยที่ fD A และ fR B 3. ฟังก์ชันทั่วถึง ( onto function ) f เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B หมายถึง ฟังก์ชัน f มีโดเมนเท่ากับเซต A และมีเรนจ์เท่ากับเซต B เขียนแทนด้วย : onto f A B โดยที่ fD A และ fR B หมายเหตุ f เป็นฟังก์ชันจาก A ไปไม่ทั่วถึง B หมายถึง ฟังก์ชัน f มีโดเมนเท่ากับเซต A และมีเรนจ์ ไม่เท่ากับเซต B เขียนแทนด้วย : onto f A B โดยที่ fD A และ fR B ( onto หมายถึง ไม่ทั่วถึง ) ข้อสังเกต ถ้ากาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B เขียนแทนด้วย :f A B สามารถจาแนกลักษณะ ของฟังก์ชันได้ 4 ลักษณะ ดังนี้ 1. f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B เขียนแทนด้วย 1 1 : onto f A B  2. f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปไม่ทั่วถึง B เขียนแทนด้วย 1 1 : onto f A B  3. f ไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B เขียนแทนด้วย 1 : many onto f A B  4. f ไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปไม่ทั่วถึง B เขียนแทนด้วย 1 : many onto f A B   ฟังก์ชันคอมโพสิท ( composite function ) ให้ f และ g เป็นฟังก์ชัน โดยที่ f gR D   ฟังก์ชันคอมโพสิทของ f และ g ซึ่งเขียนแทนด้วย สัญลักษณ์ gof สาหรับทุก ๆ ค่าของ x ซึ่งอยู่ในโดเมนของ f และ f ( x ) อยู่ในโดเมนของ g ( gof ) ( x ) = g ( f ( x ) ) gof fD D และ gof gR R ถ้า 1 1 : onto f A B  และ 1 1 : onto g B C  แล้ว 1 1 : onto gof A C 
  • 21. www.tutorferry.com T. 0998230343 21  ฟังก์ชันอินเวอร์ส ( Inverse function ) ให้ f เป็นฟังก์ชัน 1 f  จะเป็นฟังก์ชัน ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง และเรียกฟังก์ชัน 1 f  ว่า ฟังก์ชันอินเวอร์ส โดยที่     1 f y,x x, y f    ข้อสังเกต ถ้า 1 1 : onto f A B  จะได้ว่า 1. 1 11 : onto f B A  2. 1 ff D R  และ 1 ff R D  3. กราฟของ f และ 1 f  มีเส้นตรง y = x เป็นแกนสมมาตร 4.  f  ก็ต่อเมื่อ  1 f   5.  1 fof x x  ; ฟังก์ชันเอกลักษณ์ 6.  1 f of x x  ; ฟังก์ชันเอกลักษณ์  พีชคณิตของฟังก์ชัน ( Algebra of function ) คือ การสร้างฟังก์ชันใหม่ โดยนาฟังก์ชันเดิม อย่างน้อย 2 ฟังก์ชันมา บวก ลบ คูณ หาร ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันที่มี fD และ gD เป็นโดเมนของ f และ g ตามลาดับ       f g f gf g x, y y f x g x ;D D D            f g f gf g x, y y f x g x ;D D D            fg f gfg x, y y f x g x ;D D D             f f g g f xf x, y y ;D D D x g x 0 g g x               ข้อสังเกต 1. f g f g fg f gD D D D D     2.   0f f g g D D D x g x    3.       f g x f x g x   4.       f g x f x g x   5.       fg x f x g x  6.       f xf x g g x       เมื่อ   0g x  
  • 22. www.tutorferry.com T. 0998230343 22 ระบบสมกำรเชิงเส้นและเมทริกซ์ (เปอร์เซ็นต์จำนวนข้อสอบ 4.25%) เมทริกซ์ คือ ชุดของจานวน mn ตัว  m,n I  ซึ่งเขียนเรียงกัน m แถว n หลัก ภายในเครื่องหมายวงเล็บ 11a 12a 1na แถวที่ 1 21a 22a 2na แถวที่ 2 m1a m2a mna แถวที่ m หลักที่ 1 หลักที่ 2 หลักที่ n เรียก aij ว่าเป็นสมาชิก ( entry ) ในแถวที่ i และหลักที่ j ของเมทริกซ์ หรือเรียกว่าเป็นสมาชิกใน ตาแหน่งที่ ij ของเมทริกซ์ เมื่อ i 1,2,...,m และ j 1,2,...,n เรียกเมทริกซ์ที่มี m แถว n หลัก ว่าเป็น mxn เมทริกซ์ และเรียก mxn ว่าเป็นมิติของเมทริกซ์ ซึ่งอาจเขียนเมทริกซ์ได้อีกแบบ คือ ij mxn A a    หมายถึง เมทริกซ์ A เป็น m x n เมทริกซ์ที่มีสมาชิกในตาแหน่งที่ ij เป็น ija เมื่อ i 1,2,...,m และ j 1,2,...,n กำรเท่ำกันของเมทริกซ์ ให้ ij mxn A a    และ ij mxn B b    A เท่ากับ B ก็ต่อเมื่อ ij ija b สาหรับทุก i 1,2,...,m และ j 1,2,...,n เขียนแทนด้วย A B ข้อสังเกต A B เมื่อ 1. มีมิติต่างกัน 2. มีมิติเดียวกัน แต่มีสมาชิกที่อยู่ในตาแหน่งเดียวกัน ต่างกันอย่างน้อย 1 ตัว กำรบวกเมทริกซ์ ให้ ij mxn A a    และ ij mxn B b    A บวกกับ B คือเมทริกซ์ ij mxn c   เมื่อ ij ij ijc a b  สาหรับทุก i 1,2,..,m และ j 1,2,...,n เขียนแทนด้วย A B
  • 23. www.tutorferry.com T. 0998230343 23 ข้อสังเกต เมทริกซ์ 2 เมทริกซ์บวกกันได้เมื่อมีมิติเดียวกัน โดยนาสมาชิกที่อยู่ในตาแหน่งเดียวกันมาบวกกัน ถ้า มิติต่างกันไม่สามารถหาผลบวกได้ กำรคูณเมทริกซ์ด้วยค่ำคงตัว ให้ ij mxn A a    และ c เป็นค่าคงตัว ผลคูณของ c และ A คือ เมทริกซ์ ij mxn b   เมื่อ bij = caij สาหรับทุก i 1,2,...,m และ j 1,2,...,n เขียนแทนด้วย cA ข้อสังเกต 1.    A B A 1 B A B       เมื่อ A และ B มีมิติเดียวกัน 2. ให้ ij ijmxn mxn A a ,B b        และ ,B เป็นค่าคงตัว จะได้ว่า ij mxn A B c      เมื่อ ij ij ijc a b   สาหรับทุก i 1,2,...,m และ j 1,2,...,n 3. เมทริกซ์ที่มีมิติ m x n และสามารถทุกตาแหน่งเป็นศูนย์เรียกว่า เมทริกซ์ศูนย์แทนด้วย 0mxn หรือ 0 สมบัติที่เกี่ยวข้องกับกำรบวกเมทริกซ์และกำรคูณเมทริกซ์ด้วยค่ำคงตัว กาหนดให้ A,B,C,O มีมิติ mxn และ c,d เป็นค่าคงตัว 1. A B มีมิติ mxn 2. สมบัติการสลับที่ A B B A   3. สมบัติการเปลี่ยนหมู่    A B C A B C     4. การมีเอกลักษณ์การบวก A O A O A    เมื่อ O เป็นเอกลักษณ์การบวก 5. การมีตัวผกผันการบวก    A A O A A      เมื่อ A เป็นตัวผกผันการบวกของ A 6.  c A B cA cB   7.  c d A cA dA   8.    cd A c dA 9. 1A A 10. 0A 0
  • 24. www.tutorferry.com T. 0998230343 24 กำรคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์ ถ้า ij mxn A a    และ  nxrijbB  แล้ว A คูณ B คือ เมทริกซ์  mxrijc เมื่อ ij i1 1j i2 2 j in njc a b a b ... a b    สาหรับทุก i 1,2,...,m และ j 1,2,...,r 11a 12a 1na 11b 12b 1rb 21a 22a 2na 21b 22b 2rb = m1a m2a mna n1b n2b nrb n 1k k1 k 1 a b   n 1k k2 k 1 a ,b   n 1k kr k 1 a b   n 2k k1 k 1 a b   n 2k k2 k 1 a b   n 2k kr k 1 a b   n mk k1 k 1 a b   n mk k2 k 1 a b   n mk kr k 1 a b   เมื่อ n ik kj ij ij i2 2j in nj k 1 a b a b a b ... a b      ข้อสังเกต 1. AB จะหาค่าได้เมื่อ A มีจานวนหลักเท่ากับจานวนแถวของ B เท่านั้น 2. AB BA ( AB อาจจะเท่ากับ BA หรือไม่เท่ากันก็ได้) 3. ถ้า A เป็น nxn เมทริกซ์ ' A A 2 A AA 3 2 A AA
  • 25. www.tutorferry.com T. 0998230343 25 k k 1 A AA   เมื่อ k I  และ k 1 เมทริกซ์เอกลักษณ์ สาหรับจานวนเต็มบวก n ใด ๆ จะให้  nxnjkn iI  มีสมาชิกดังนี้ l เมื่อ j k 0 เมื่อ j k เรียก In ว่าเป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์ มิติ nxn อาจเขียนเป็น I ข้อสังเกต 1. n nAI A I A  2. ถ้า AB A BA  แล้ว B อาจจะเท่ากับ In หรือไม่เท่ากับ In ก็ได้ เมทริกซ์สลับเปลี่ยน ให้ ij mxn A a    ถ้า  nxmijbB  มีสมบัติว่า bij = aji ทุก 1,2,...,i n และ 1,2,...,j m แล้ว เรียก B ว่าเป็น เมทริกซ์สลับเปลี่ยนของ A แทนด้วย At ข้อสังเกต ถ้า A เป็น mxn เมทริกซ์แล้ว At จะเป็น nxm เมทริกซ์ที่มีแถวที่ i เหมือนหลักที่ i ของ A ทุก 1,2,...,i n สมบัติที่เกี่ยวข้องกับกำรคูณเมทริกซ์และเมทริกซ์สลับเปลี่ยน ถ้า , ,ij ij ijmxn nxp pxq A a B b C c             แล้ว 1.    A BC AB C 2. 0 0mxn mxnA  3. 0 0nxp mxpA  4. mI A A 5. nAI A 6.      cA B A cB c AB  เมื่อ c คือค่าคงตัว 7.  A B D AB AD   เมื่อ D เป็น nxp เมทริกซ์ 8.  A E B AB EB   เมื่อ E เป็น mxn เมทริกซ์ 9.   t t t A F A F   เมื่อ F เป็น mxn เมทริกซ์ 10.   t t t AB B A 11.   t t A A
  • 26. www.tutorferry.com T. 0998230343 26 12.  t t cA cA เมื่อ c เป็นค่าคงตัว ข้อสังเกต 1.   2 2 2 2A B A AB B    2.    2 2 A B A B A B    ทั้ง 2 กรณีจะเท่ากัน เมื่อ AB BA ตัวผกผันกำรคูณของเมทริกซ์ ( อินเวอร์สกำรคูณ ) ให้ A เป็น n xn เมทริกซ์ ถ้า B เป็น n x n เมทริกซ์ที่มีสมบัติ ว่า nAB BA I  แล้วจะเรียก B ว่า เป็น ตัวผกผันการคูณของ A และเขียนแทน B ด้วย A-1 ข้อสังเกต 1. nI เป็นเอกลักษณ์การคูณในเซตของเมทริกซ์ที่มีมิติ n x n 2. ในระบบจานวนจริง เซต  0R  สมาชิกทุกตัวมีตัวผกผัน การคูณ แต่ในเมทริกซ์ อาจมีเมทริกซ์ที่ไม่เท่ากับ onxn และไม่มีตัวผกผันการคูณ 3. a b ถ้า A  และ 0ad bc  c d 1 1 d b A c aad bc          กำรหำตัวผกผันกำรคูณของเมทริกซ์ เมื่อ A เป็น 2 x 2 เมทริกซ์ เราหา 1 A ได้จากการสร้างเมทริกซ์ที่มีสมาชิกของเมทริกซ์ได้จากการแก้ ระบบสมการเชิงเส้น 4 ตัวแปรและประกอบด้วย 4 สมการ ดังนั้นถ้า A เป็น n x n เมทริกซ์ การหา 1 A ต้อง แก้ระบบสมการเชิงเส้น 2 n ตัวแปร จานวน 2 n ตัวแปร จานวน 2 n สมการซึ่งจะไม่สะดวกในทางปฏิบัติ ดีเทอร์มิแนนต์ ให้   11xaA  เรียก a ว่าเป็นดีเทอร์มิแนนต์ของ A ซึ่ง a จะเป็นทั้งสมาชิกและ ดีเทอร์มิแนนต์ของ A ไมเนอร์และตัวประกอบร่วมเกี่ยว ให้ ij nxn A a    เมื่อ 2n  ไมเนอร์ของ ija คือ ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ที่ได้จากการตัดแถวที่ i และ หลักที่ j ของ A ออก เขียนแทนด้วย  ijM A
  • 27. www.tutorferry.com T. 0998230343 27 ตัวอย่ำงเช่น ถ้า 11 12 21 22 a a A a a        จะได้ว่า  11 22M A a  12 21M A a  21 12M A a  22 11M A a ตัวประกอบร่วมเกี่ยว ให้ ij nxn A a    เมื่อ 2n  ตัวประกอบร่วมเกี่ยวของ ija คือ ผลคูณของ  1 i j  และ  ijM A เขียนแทนด้วย Cij(A)      1 i j ij ijC A M A    ตัวอย่ำงเช่น ถ้า 11 12 21 22 a a A a a        จะได้ว่า         1 1 2 11 11 22 221 1C A M A a a               1 2 3 12 12 21 211 1C A M A a a                2 1 3 21 21 12 121 1C A M A a a                2 2 4 22 22 11 111 1C A M A a a       กำรหำดีเทอร์มิแนนต์ ของ n x n เมื่อ n  2 ให้ ij nxn A a    เมื่อ 2n  ดีเทอร์มิแนนต์ของ A คือ      11 11 12 12 1 1... n na c A a c A a c A   เขียนแทนด้วย  det A        11 11 12 12 1 1det ... n nA a c A a c A a c A    11a 12a 1na หรือ  det A  21a 22a 2na 1na 2na nna ตัวอย่ำงเช่น ถ้า 1211 21 22 a a A a a        จะได้ว่า      11 11 12 12det A a C A a C A     11 22 12 12a a a a   11 22 12 21a a a a 
  • 28. www.tutorferry.com T. 0998230343 28 กำรหำดีเทอร์มิแนนต์ของ n x n เมทริกซ์ เมื่อ n = 3 ถ้า 3 3ij x A a    จะได้ว่า 11a 12a 13a  det A  21a 22a 23a 31a 32a 33a      11 11 12 12 13 13a C A a C A a C A        11 11 12 12 13 13a M A a M A a M A   22 23 21 23 21 22 11 12 13 31 3232 33 31 33 a a a a a a a a a a aa a a a         11 22 33 32 23 12 21 33 31 23 13 21 32 31 32a a a a a a a a a a a a a a a         11 22 33 12 23 31 13 21 32 31 22 13 32 23 11 33 21 12a a a a a a a a a a a a a a a a a a      ข้อสังเกต เมื่อ 3 3ij x A a    การหา  det A ทาได้โดยนาหลักที่ 1 และ 2 ของ A มาเขียนต่อจากหลักที่ 3 ดังนี้ a31a22a13 32 23 11a a a 33 21 12a a a 11a 12a 13a 11a 12a 21a 22a 23a 21a 22a 31a 32a 33a 31a 32a 11 22 33a a a 12 23 31a a a 13 21 32a a a ให้ h  ผลบวกของผลคูณในแนวเฉียงจากซ้ายบนลงมาขวาล่าง 11 22 33 12 23 31 13 21 32a a a a a a a a a   และ k ผลบวกของผลคูณในแนวเฉียงจากซ้ายล่างขึ้นไปขวาบน 31 22 13 32 23 11 33 21 12a a a a a a a a a    det A h k  
  • 29. www.tutorferry.com T. 0998230343 29 สมบัติของดีเทอร์มิแนนต์ กาหนดให้ ij nxn A a    เมื่อ 2n  1.        12 12det ...ij ij in inA a C A a C A a C A    ทุก 1,2,...,i n (กระจายตามแถวที่ i) 2.        2 2det ...ij ij j j nj njA a C A a C A a C A    ทุก 1,2,...,i n (กระจายตามแถวที่ j) 3. ถ้า A มีสมาชิกในแถวใดแถวหนึ่งหรือหลักใดหลักหนึ่งเป็นศูนย์ทุกตัวแล้ว  det 0A  ( เป็นผลของสมบัติข้อ 1 และ 2 ) 4. ถ้า B ได้จากการสลับแถว 2 แถวหรือสลับหลัก 2 หลักของ A แล้ว    det detB A  5. ถ้า A มี 2 แถวเหมือนกันหรือหลัก 2 หลักเหมือนกันแล้ว  det 0A  (เป็นผลของสมบัติข้อ 4 ) 6.    det dett A A 7. ถ้า B เกิดจากการคูณสมาชิกในแถวใดแถวหนึ่งหรือหลักใดหลักหนึ่งของ A ด้วยค่าคงตัว c แล้ว    det detB c A 8. ถ้า B ได้จาก A โดยสมาชิกแถวที่ j ของ B ได้มาจากการคูณแถวที่ i ของ A ด้วยค่าคงตัว c และนาไป บวกกับแถวที่ j ของ A เมื่อ i j แล้ว    det detB A (สมบัติข้อนี้ยังคงเป็นจริงเมื่อเปลี่ยนจากแถวเป็นหลัก ) 9.    det detn cA c A เมื่อ c เป็นค่าคงตัว ( เป็นผลของสมบัติข้อ 7 ) 10.      det det detAB A B เมื่อ B เป็น n x n เมทริกซ์ 11.  det 1nI  12. ถ้า ij nxn A a    โดยที่ 0ija  เมื่อ i j แล้ว   11 22det ... nnA a a a 13. ถ้า ij nxn B B    โดยที่ 0ijb  เมื่อ i j แล้ว   11 22det ... nnB b b b 14. ถ้า  det 0A  แล้ว     1 1 det det A A   เมทริกซ์เอกฐำนและเมทริกซ์ไม่เอกฐำน ให้ A เป็น n x n เมทริกซ์ A เป็นเมทริกซ์เอกฐาน เมื่อ  det 0A  A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน เมื่อ  det 0A  เมทริกซ์ผูกพัน ให้ A เป็น n x n เมทริกซ์ เมื่อ 2n  เมทริกซ์ผูกพันของ A คือ   t ijC A   แทนด้วย  adj A     t ijadj A C A   
  • 30. www.tutorferry.com T. 0998230343 30 สรุปได้ว่ำ 1. A      det nadj A adj A A A I  2. A มีตัวผกผันการคูณก็ต่อเมื่อ A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐานและ  det 0A  จะได้ว่า    1 1 det A adj A A   3. ถ้า  det 0A  และมีมิติ nxn จะได้ว่า     1 det det n adj A A         กำรใช้เมทริกซ์แก้ระบบสมกำรเชิงเส้น กาหนดระบบสมการเชิงเส้นที่มี m สมการ และ n ตัวแปร 11 1 12 2 1 1n na x a x a x b    22 221 1 2 2n na x a x a x b    1 1 2 2m m mn n ma x a x a x b    สมการเมทริกซ์ที่สัมพันธ์กับระบบสมการนี้ คือ 11a 12a 1na x1 1b 21a 22a 2na x2 = 2b 1ma 2ma mna xn mb A X B จะได้ว่า AX B ถ้า m = n และ  det 0A  แล้วเราสามารถหาคาตอบของระบบได้จาก 1 X A B 
  • 31. www.tutorferry.com T. 0998230343 31 กฎของครำเมอร์ เมื่อกาหนดระบบสมการเชิงเส้นที่มี n สมการ และ n ตัวแปรโดย AX = B เป็นสมการเมทริกซ์ที่ สัมพันธ์กับระบบของสมการนี้ 11a 12a 1na x1 1b ให้ A = 21a 22a 2na , X  x2 , B = 2b 1na 2na nna xn nb ถ้า  det 0A  แล้ว คาตอบของระบบสมการนี้ คือ             1 2 1 2 det det det , ,..., det det det n n A A A X X X A A A    เ มื่อ iA คือ เมทริกซ์ที่ได้จากการแทนหลักที่ i ของ A ด้วยหลักของ B ทุก 1,2,...,i n เมทริกซ์แต่งเติม กาหนดระบบสมการเชิงเส้นที่มี m สมการ และ n ตัวแปร 11 1 12 2 1 1... n na x a x a x b    21 1 22 2 2 2... n na x a x a x b    1 1 2 2 ...m m mn n ma x a x a x b    เมทริกซ์แต่งเติม ของระบบสมการนี้ คือ 11a 12a 1na 1b 21a 22a 2na 2b 1ma 2ma mna mb กำรดำเนินกำรตำมแถว ให้ A เป็น m x n เมทริกซ์ เรียกการดาเนินการต่อไปนี้ว่าเป็นการดาเนินงานตามแถวกับ เมทริกซ์ A 1. สลับที่แถว i และ j ของ A เขียนบนแทนด้วย ijR 2. คูณแถวที่ i ด้วยค่าคงตัว 0c  เขียนแทนด้วย icR
  • 32. www.tutorferry.com T. 0998230343 32 3. เปลี่ยนแถวที่ i ของ A โดยนาค่าคงตัว c คูณแถวที่ j  j i แล้วนาไปบวกกับแถวที่ i เขียนแทน ด้วย i jR cR รูปแบบขั้นบันไดแบบแถว ให้ A เป็น m x n เมทริกซ์ เรากล่าวว่า A มีรูปแบบขั้นบันไดแบบแถว เมื่อ A มีสมบัติต่อไปนี้ 1. ถ้า A มีแถวที่มีสมาชิกบางตัวไม่เท่ากับ 0 แล้วสมาชิกตัวแรก ( จากซ้ายไปขวา )ที่ไม่ใช่ 0 ต้องเป็น 1 เรียก 1 ตัวนี้ว่าเป็น 1 ตัวนาในแถว 2. ถ้า A มีแถวที่มีสมาชิกทุกตัวในแถวเท่ากับ 0 แถวเหล่านี้ต้องรวมกันอยู่ต่ากว่าแถวที่มีสมาชิกบางตัวไม่ เท่ากับ 0 3. ถ้า ija เป็น 1 ตัวนาในแถวที่ i และ  1i k a  เป็น 1 ตัวนาในแถวที่ i + 1 แล้ว j k ข้อสังเกต 1. ถ้าเมทริกซ์ B ได้จากเมทริกซ์ A ในการดาเนินการตามแถวแล้วจะกล่าวว่า B สมมูลแบบแถวกับ A แทนด้วย BA  2. A สมมูล แบบแถวกับเมทริกซ์ที่มีรูปแบบขั้นบันไดแบบแถว 3. เมื่อกาหนดระบบสมการเชิงเส้นมาให้ มีขั้นตอนหาคาตอบ ดังนี้ 11 1 12 2 1 1... n na x a x a x b    221 1 22 2 2... n na x a x a x b     an1x1 + an2x2 + … + annxn = bn 3.1 สร้างเมทริกซ์แต่งเติม 11a 12a 1na 1b 21a 22a 2na 2b 1na 2na ann nb 3.2 ดาเนินการตามแถวเพื่อให้ได้รูปแบบขั้นบันไดแบบแถว 1 o o 1c o 1 0 2c o o 1 nc
  • 33. www.tutorferry.com T. 0998230343 33 3.3 เมทริกซ์ที่ได้จาก 3.2 จะเป็นเมทริกซ์แต่งเติมของระบบสมการที่มีคาตอบชุดเดียวกับระบบสมการที่กาหนด จะได้ว่า    1 2 1 2, ,..., , ,..,n nx x x c c c 4. การดาเนินการตามแถว บอกได้ว่า ระบบสมการที่กาหนดมีคาตอบเดียว มีความคาตอบเป็นอนันต์ หรือไม่มี คาตอบ 4.1 มีคาตอบเดียว ช่น 1 0 0 0 1c 0 1 0 0 2c 0 0 1 0 3c 0 0 0 1 4c    1 2 3 4 1 2 3 4, , , , , ,x x x x c c c c 4.2 มีคาตอบเป็นอนันต์ เช่น 1 1 0 0 1c 0 0 1 0 2c 0 0 0 1 3c เซตคาตอบ คือ   1 2 3 4 1 2 1 3 2 4 3, , , ,x x x x lX X c x c X c    อาจเขียนเป็น   1 2 2 3 1 2 1, , ,x x c c lX X c  หรือ   1 1 2 3 1,3 , ,c c c c lc R  4.3 ไม่มีคาตอบ เช่น 1 1a 2a 3a 1c 0 0 1 b 2c 0 0 0 0 3c ถ้าแถวใดมีสมาชิกเป็น 0 หมดทั้งแถว ระบบสมการนี้จะไม่มีคาตอบ กำรหำตัวผกผันโดยกำรดำเนินกำรตำมแถว กาหนดให้ A เป็น n x n เมทริกซ์ โดยที่  det 0A  11a 12a 1na A = 21a 22a 2na
  • 34. www.tutorferry.com T. 0998230343 34 1na an2 ann 1. เขียน  nA I (เฉพาะสมาชิก) 11a 12a 1na 1 0 0  nA I = 21a 22a 2na 0 1 0 1na an2 nna 0 0 1 2. ดาเนินการตามแถว จนได้  nI B 1 0 0 11b 12b 1nb  nI B  0 1 0 12b 22b 2nb 0 0 1 1nb 2nb nnb จะได้ว่า B เป็นตัวผกผันการคูณของ A 1 B A  
  • 35. www.tutorferry.com T. 0998230343 35 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และฟังก์ชันลอกำริทึม (เปอร์เซ็นต์จำนวนข้อสอบ 5.5%)  เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม ถ้า a R และ n I  แล้ว 1. ...n a a a a a a n a เรียกว่า เลขยกกาลัง a เรียกว่า ฐาน n เรียกว่า เลขชี้กาลัง 2. 0 1a  เมื่อ 0a  3. 1n n a a   เมื่อ 0a  4. 1 n n a a  เมื่อ 0a   รำกที่ n ของจำนวนจริง  รากที่ 2 : ถ้า ,a b R แล้ว b เป็นรากที่ 2 ของ a เมื่อ 2 b a ค่าหลักของรากที่ 2 ของ a แทนด้วย a เรียกว่า กรณฑ์ ที่ 2 ของ a 1. ถ้า 0a  รากที่ 2 ของ a คือ a และ a 2. ถ้า 0a  รากที่ 2 ของ a คือ 0 3. ถ้า 0a  ไม่มีรากที่ 2 ของ a ที่เป็นจานวนจริง สมบัติของกรณฑ์ที่ 2 ถ้า , 0a b  1. a b ab 2. a a bb  เมื่อ 0b   รากที่n ของจานวนจริง : ให้ n I  และ 1n  ถ้า ,a b R แล้ว b เป็นรากที่ n ของ a เมื่อ n b a ค่าหลักของรากที่ n ของ a แทนด้วย n a เรียกว่า กรณฑ์ที่ n ของ a เมื่อ n คือดัชนีของกรณฑ์  ข้อสังเกต 1. ถ้า 2n  จะเขียน แทน 2 2. 0 0n 3. 1 1n  4.   n n a a เมื่อ n a R 5. ถ้า 0a  แล้ว 0n a  n ตัว
  • 36. www.tutorferry.com T. 0998230343 36 6. ถ้า 0a  และ 6.1 n เป็นจานวนคี่ แล้ว 0n a  6.2 n เป็นจานวนคู่ แล้ว n a ไม่ใช่จานวนจริง a เมื่อ 0a  7. n n a  a เมื่อ 0a  และ n เป็นจานวนคี่ a เมื่อ 0a  และ n เป็นจานวนคู่ สมบัติของรากที่ n ถ้า n a , n b R 1. n n n a b ab 2. , 0 n n n a a b bb    การหาผลบวกและผลต่างของกรณฑ์ ทาได้เมื่อเป็นจานวนเดียวกัน ในกรณฑ์ที่มีดัชนีเท่ากัน โดยใช้สมบัติ การแจกแจงดังนี้ 1. กรณฑ์ที่ 2  a c b c a b c    a c b c a b c   2. กรณฑ์ที่ n  n n n a c b c a b c    n n n a c b c a b c    การหาผลคูณและผลหารของกรณฑ์ ถ้าดัชนีของกรณฑ์ต่างกัน ต้องทาให้เท่ากันก่อน แล้วใช้สมบัติของราก ที่ n ถ้า b , d > 0 จะได้ว่า n mmnm n (a b)(c d) (ac) b d nm mn mn a b a b c dc d  ; 0c   เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ 1. ถ้า ,a R n I   และ 1, n n a R 1 nn a a 2. ถ้า a R , m และ n I โดย m n เป็นเศษส่วนอย่างต่า และ 0n  , n a R โดยเมื่อ 0m  แล้ว 0a    1        mm m nn n a a a   1m nm mn na a a 
  • 37. www.tutorferry.com T. 0998230343 37 สมบัติของเลขยกกำลัง ถ้า ,m n เป็นจานวนตรรกยะ และ , , , m n n mn a a b a R 1. m n m n a xa a   2. m m n n a a a   0a  3.   nm mn a a 4.   nn n a xb ab 5. nn n a a b b        0b   ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ ฟังก์ชัน ( ){ }, ; 0, 1x f x y RxR y a a a+ = Î = > ¹ 1. fD R= , fR R+ = ( )0x a > 2. กราฟผ่านจุด ( )0,1 เพราะ 0 1a = 3. ถ้า a > 1 เป็นฟังก์ชันเพิ่ม และถ้า 0 < a < 1 เป็นฟังก์ชันลด 4. กราฟไม่ตัดแกน X แต่เข้าใกล้แกน X หรือมีแกน X เป็นเส้นกากับแนวนอน 5. เป็นฟังก์ชัน 1 – 1 จาก R ไปทั่วถึง R+ 1 1 : onto f R R- + ¾ ¾ ® 6. โดยสมบัติของฟังก์ชัน 1 – 1 จะได้ว่า x y a a= ก็ต่อเมื่อ x = y 7. ถ้า 0b > , 1b ¹ , a b¹ และ x x a b= แล้ว 0x = 8. ถ้า 0x > , 0y > และ m , n Î + I m n x = y ก็ต่อเมื่อ x = n m y  ฟังก์ชันลอกำริทึม ฟังก์ชันลอการิทึม คือ ฟังก์ชัน ( ){ }, log ; 0, 1af x y R xR y x a a+ = Î = > ¹ 1. เป็นฟังก์ชันผกผันของฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล 2. fD R+ = , fR R= 3. กราฟของ x y a= และ logay x= มีเส้นตรง y = x เป็นแกนสมมาตร 4. y x a= สามารถเขียนในรูป logay x= 5. กราฟผ่านจุด ( )1,0 เพราะ log 1 0a = 6. ถ้า a > 1 เป็นฟังก์ชันเพิ่ม และถ้า 0 < a < 1 เป็นฟังก์ชันลด 7. กราฟไม่ตัดแกน Y แต่เข้าใกล้แกน Y หรือมีแกน Y เป็นเส้นกากับแนวตั้ง
  • 38. www.tutorferry.com T. 0998230343 38 8. เป็นฟังก์ชัน 1 – 1 จาก R+ ไปทั่วถึง R 1 1 : onto f R R-+ ¾ ¾ ® 9. โดยสมบัติของฟังก์ชัน 1 – 1 จะได้ว่า log loga ax y= ก็ต่อเมื่อ x = y 10. จาก logay x= ก็ต่อเมื่อ y a x= loga x a x= และ log y ay a= สมบัติของลอกำริทึม เมื่อ , ,a M N R+ Î ที่ 1a ¹ และ k RÎ 1. log log loga a aMN M N= + 2. log log loga a a M M N N = - 3. log logk a aM k M= 4. log 1a a = 5. log 1 0a = 6. 1 log logk aa M M k = 7. 1 log log b a a b = 8. log log log c b c a a b = กำรหำค่ำลอกำริทึม 1. ลอการิทึมสามัญ หมายถึง ลอการิทึมฐาน 10 เช่น 10log 2 จะเขียนแทนด้วย log2 2. ถ้า 0 10n N N x= , 01 10N  และ n I จะได้ว่า 0log logN n N= + N คือ แอนติลอการิทึมของ log N 3. ลอการิทึมธรรมชาติ หรือลอการิทึมแบบเนเปียร์ หมายถึง ลอการิทึมฐาน e ( 2.718)e » เช่น log 2e จะเขียนแทนด้วย ln 2 log ln 2.3026log log x x x e = » ; log 0.4343e » 
  • 39. www.tutorferry.com T. 0998230343 39 จำนวนเชิงซ้อน (เปอร์เซ็นต์จำนวนข้อสอบ 4.5%)  จำนวนเชิงซ้อน  จำนวนจินตภำพ ( imaginary number ) ถ้า a R  จะได้ว่า a ai  เมื่อ 1i   และ 2 1i  ข้อสังเกต ถ้า n I  หรือศูนย์ จะได้ว่า 1. 4 0 1n i i  2. 4 1 1n i i i   3. 4 2 2 1n i i   4. 4 3 3n i i i   จำนวนจริง จำนวนตรรกยะ จำนวนเต็มจำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม ศูนย์จำนวนเต็มลบจำนวนเต็มบวกหรือจำนวนนับ จำนวนอตรรกยะ จำนวนเชิงซ้อน จำนวนจินตาำ
  • 40. www.tutorferry.com T. 0998230343 40  จำนวนเชิงซ้อน ( complex number ) จานวนเชิงซ้อน คือ คู่อันดับ ( a , b ) เมื่อ ,a b R ถ้า z เป็นจานวนเชิงซ้อน จะได้ว่า z = ( a , b ) = a + bi a คือ ส่วนจริง ( real part ) ของ z แทนด้วย Re ( z ) b คือ ส่วนจินตภาพ ( imaginary part ) ของ z แทนด้วย Im ( z ) เซตของจานวนเชิงซ้อน แทนด้วย C ข้อสังเกต 1. จานวนจริง คือ จานวนเชิงซ้อนที่มีส่วนจินตภาพเป็น ศูนย์ 2. จานวนเชิงซ้อนที่มีส่วนจริงเป็นศูนย์ แต่ส่วนจินตภาพไม่เป็นศูนย์ เรียกว่า จานวนจินตภาพแท้ 3. ทั้งจานวนจริงและจานวนจินตภาพเป็นสับเซตของจานวนเชิงซ้อน  สมบัติของจำนวนเชิงซ้อน กาหนดให้ , , , ,a b c d k R 1. สมบัติการเท่ากัน a + bi = c + di ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d 2. การบวกจานวนเชิงซ้อน ( a + bi ) + ( c + di ) = ( a + c ) + ( b + d )i 3. การคูณจานวนเชิงซ้อน 3.1 การคูณจานวนเชิงซ้อนด้วยจานวนจริง k( a + bi ) = ka + kbi 3.2 การคูณจานวนเชิงซ้อนด้วยจานวนจินตภาพ i i( a + bi ) = -b + ai 3.3 การคูณจานวนเชิงซ้อนด้วยจานวนเชิงซ้อน ( a + bi )( c + di ) = ( ac - bd ) + ( ad + bc )i 4. สมบัติการบวกและการคูณจานวนเชิงซ้อน ถ้า z1 , z2 , z3 เป็นจานวนเชิงซ้อน จะได้ว่า 4.1 สมบัติการสลับที่ z1 + z2 = z2 + z1 และ z1z2 = z2z1 4.2 สมบัติการเปลี่ยนหมู่ z1 + ( z2 + z3 ) = ( z1 + z2 ) + z3 z1( z2z3 ) = ( z1z2 )z3 4.3 สมบัติการแจกแจง z1( z2 + z3 ) = z1z2 + z1z3
  • 41. www.tutorferry.com T. 0998230343 41 5. เอกลักษณ์การบวก ( a , b ) + ( 0 , 0 ) = ( a , b ) = ( 0 , 0 ) + ( a , b ) นั้นคือ ( 0 , 0 ) เป็นเอกลักษณ์การบวกในระบบจานวนเชิงซ้อน 6. ตัวผกผันการบวก ( อินเวอร์สการบวก ) ถ้า z = ( a , b ) = a + bi ตัวผกผันการบวกของ z คือ -z = -a - bi 7. การลบจานวนเชิงซ้อน z1 - z2 = z1 + ( -z2 ) การลบจานวนเชิงซ้อน คือ การบวกด้วยตัวผกผันการบวกของจานวนเชิงซ้อน 8. เอกลักษณ์การคูณ ( a , b )( 1 , 0 ) = ( a , b ) = ( 1 , 0 )( a , b ) นั้นคือ ( 1 , 0 ) เป็นเอกลักษณ์การคูณในระบบจานวนเชิงซ้อน 9. ตัวผกผันการคูณ ( อินเวอร์สการคูณ ) ถ้า z = ( a , b ) = a + bi โดยที่ z  ( 0 , 0 ) ตัวผกผันการคูณของ z คือ 1 2 2 a bi z a b     10. การหารจานวนเชิงซ้อน 1 1 1 2 1 2 2 z z z z z z     การหารจานวนเชิงซ้อน คือ การคูณด้วยตัวผกผันการคูณของจานวนเชิงซ้อน  สังยุคของจำนวนเชิงซ้อน ( conjugate ) ถ้า z = a + bi สังยุคของ z แทนด้วย z z a bi a bi    ข้อสังเกต 2 2 zz a b  สมบัติของสังยุค 1. 1 Re( ) ( ) 2 z z z  , 1 Im( ) ( ) 2 z z z i   2. z z 3. 1 1 ( ) z z  เมื่อ (0,0)z  4. 1 2 1 2z z z z  
  • 42. www.tutorferry.com T. 0998230343 42 5. 1 2 1 2z z z z   6. 1 2 1 2z z z z 7. 1 1 2 2 z z z z       เมื่อ 2 (0,0)z  การนาสังยุคมาใช้ในการหารจานวนเชิงซ้อน ถ้า z1 = a + bi และ z2 = c + di โดยที่ 2 (0,0)z      1 2 1 2 2 2 z a bi a bi c di z c di c di c di z ac bd bc ad i z c d                     รำกที่ 2 ของจำนวนเชิงซ้อน ถ้า z = a + bi และ 2 2 c a b  แล้วรากที่ 2 ของ z คือ 2 2 c a c a i         เมื่อ 0b  2 2 c a c a i         เมื่อ b < 0 ข้อสังเกต 1. ถ้า z = ( 0 , 0 ) รากที่ 2 ของ z จะมีเพียงจานวนเดียว คือ ( 0 , 0 ) 2. ถ้า z  ( 0 , 0 ) รากที่ 2 ของ z จะมี 2 จานวนที่แตกต่างกัน 3. ถ้า z = ( a , 0 ) รากที่ 2 ของ z = , 0 , 0 a a a i a      4. ถ้า z = ( 0 , b ) รากที่ 2 ของ z = , 0 2 2 , 0 2 2 b b i b b b i b                  
  • 43. www.tutorferry.com T. 0998230343 43  กรำฟของจำนวนเชิงซ้อน จานวนเชิงซ้อนอยู่ในรูปของคู่อันดับ ( a , b ) โดย a เป็นส่วนจริง และ b เป็นส่วน- จินตภาพ ซึ่งแทนได้ด้วยจุดบนระนาบในระบบแกนมุมฉาก โดยแกนนอนเรียกว่า แกนจริง แกนตั้งเรียกว่า แกนจินต ภาพ และระนาบที่เกิดจากแกนทั้ง 2 เรียกว่า ระนาบเชิงซ้อน ให้ แกน X แทนแกนจริง และแกน Y แทนแกนจินตภาพ จานวนเชิงซ้อน 1 + 2i แทนได้ด้วย จุด ( 1 , 2 ) หรือแทนด้วยเวกเตอร์ที่มีจุด ( 0 , 0 ) เป็นจุดเริ่มต้น และจุด ( 1 , 2 ) เป็นจุดสิ้นสุด  ค่ำสัมบูรณ์ ( absolute value หรือ modulus ) ของจำนวนเชิงซ้อน ถ้า z = a + bi ค่าสัมบูรณ์ของจานวนเชิงซ้อน z คือจานวนจริง 2 2 a b เขียน แทนด้วย z หรือ a bi 2 2 z a bi a b    ข้อสังเกต a bi คือระยะทางจากจุดกาเนิด ( 0 , 0 ) ถึงจุด ( a , b ) ในระนาบเชิงซ้อน สมบัติของค่าสัมบูรณ์ 1. 22 z zz z  2. z z z   3. 1 1 z z  เมื่อ z  ( 0 , 0 ) 4. 1 2 1 2z z z z 5. 11 2 2 zz z z  เมื่อ z  ( 0 , 0 ) -1 -1 0 Y X 1 2 3 4 2 3 .( 1 , 2 ) ( 1 , 2 )
  • 44. www.tutorferry.com T. 0998230343 44 6. 1 2 1 2z z z z   7. 1 2 1 2z z z z   8. 2 2 2 2 1 2 1 2 1 22 2z z z z z z     9. 2 1 2 1 2 1 2( )( )z z z z z z    10. 2 1 2 1 2 1 2( )( )z z z z z z    ข้อสังเกต 1. 1 2z z คือระยะทางระหว่างจุด z1 และ z2 ในระนาบเชิงซ้อน 2. ถ้า z1 และ z2 เป็นจานวนเชิงซ้อน r เป็นจานวนจริงบวก 2.1  1 1 2z C z z r   คือเซตของจุดทั้งหมดในระนาบเชิงซ้อนที่มีระยะห่างจาก z1 เท่ากับ r ซึ่งก็คือเซตของจุดทั้งหมดที่อยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมที่มี z2 เป็นจุดศูนย์กลาง และมีรัศมี r  จำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว ถ้า z = x + yi เราสามารถเขียนในรูปเชิงขั้วได้ดังนี้ z = r ( cos + isin ) การคูณและการหารจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว กาหนดให้ z = r ( cos + isin ) , z1 = r1 ( cos 1 + isin 1 ) , z2 = r2 ( cos 2 + isin 2 ) 1.       sincos irz 2.       sincos 11 i rz 3.     21212121 sincos   irrzz 4.     2121 2 1 2 1 sincos   i r r z z ทฤษฎีบทของเดอมัวร์ ถ้า z = r ( cos + isin ) และ   In จะได้ว่า      ninrz nn sincos  รำกที่ n ของจำนวนเชิงซ้อน ถ้า z = r ( cos + isin ) แล้วรากที่ n ของ z แทนด้วย zk                      n k i n k rz n k  2 sin 2 cos เมื่อ k = 0 , 1 , 2 , … , n-1 
  • 45. www.tutorferry.com T. 0998230343 45 เรขำคณิตวิเครำะห์ (เปอร์เซ็นต์จำนวนข้อสอบ 3%)  เรขำคณิต ระยะทางระหว่างจุดสองจุด 1. ถ้า  1 1,0P x และ  2 2 ,0P x อยู่บนแกน X หรือถ้า  1 1,P x y และ  2 2 ,P x y ขนานแกน X 1 2 1 2PP x x  2. ถ้า  1 10,P y และ  2 20,P y อยู่บนแกน Y หรือถ้า  1 1,P x y และ  2 2,P x y ขนานแกน Y 1 2 1 2PP y y  3. ถ้า  1 1 1,P x y และ  2 2 2,P x y เป็นจุดในระนาบแล้ว     2 2 1 2 1 2 1 2PP x x y y    จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด ถ้า  ,P x y เป็นจุดกึ่งกลางระหว่างจุด  1 1 1,P x y และ  2 2 2,P x y แล้ว 1 2 2 x x x   1 2 2 y y y   จุดแบ่งระหว่างจุดสองจุด ให้  1 1 1,P x y และ  2 2 2,P x y เป็นจุดในระนาบแล้ว ถ้า  ,P x y เป็นจุดบนเส้นตรง 1 2PP โดยที่ 1 2 1 2: :PP PP r r แล้ว 2 1 1 2 1 2 r x r x x r r    2 1 1 2 1 2 r y r y y r r    จุดรวมมวล หรือจุดตัดกันของเส้นมัธยฐาน ให้  1 1,A x y ,  2 2,B x y และ  3 3,C x y เป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม ABC ถ้า  ,P x y เป็น จุดรวมมวลของรูปสามเหลี่ยม ABC แล้ว 1 2 3 3 x x x x    1 2 3 3 y y y y    เส้นมัธยฐาน คือ เส้นที่ลากจากจุดยอดไปแบ่งครึ่งฐาน
  • 46. www.tutorferry.com T. 0998230343 46 พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมใด ๆ ให้  1 1,A x y ,  2 2,B x y และ  3 3,C x y เป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม ABC พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC = 1 2 2 3 3 1 1 3 2 1 3 2 1 2 x y x y x y x y x y x y     พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมใด ๆ ให้  1 1,A x y ,  2 2,B x y ,  3 3,C x y และ  4 4,D x y เป็นจุดยอดของรูปสี่เหลี่ยม ABCD พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ABCD = 1 2 2 3 3 4 4 1 1 4 2 1 3 2 4 3 1 2 x y x y x y x y x y x y x y x y        เส้นตรง ความชันของเส้นตรง ให้ L เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด  1 1 1,P x y และ  2 2 2,P x y โดยที่ 1 2x x m เป็นความชันของเส้นตรง L 1 2 1 2 y y m x x    m > 0 เส้นตรงทามุมแหลมกับแกน X m < 0 เส้นตรงทามุมป้านกับแกน X m = 0 เส้นตรงขนานกับแกน X m หาค่าไม่ได้ เส้นตรงขนานกับแกน Y ถ้า  เป็นมุมที่เส้นตรงทากับแกน X แล้ว tanm  เส้นขนานและเส้นตั้งฉาก ให้เส้นตรง 1L และ 2L มีความชัน 1m และ 2m ตามลาดับ 1. 1 2//L L ก็ต่อเมื่อ 1 2m m 2. 1 2L L ก็ต่อเมื่อ 1 2 1m m   มุมระหว่างเส้นตรง ให้เส้นตรง 1L และ 2L มีความชัน 1m และ 2m ตามลาดับ ถ้า  เป็นมุมระหว่างเส้นตรง 1L และ 2L โดยที่ 0 90  แล้ว 1 2 1 2 tan 1 m m m m    
  • 47. www.tutorferry.com T. 0998230343 47 สมการเส้นตรง 1. เส้นตรงขนานแกน X y = b ความชัน = 0 ตัดแกน Y ที่จุด ( 0 , b ) 2. เส้นตรงขนานแกน Y x = a ไม่มีความชัน ตัดแกน X ที่จุด ( a , 0 ) 3. เส้นตรงที่ไม่ขนานแกน X และไม่ขนานแกน Y 3.1 มีความชันเท่ากับ m และผ่านจุด  1 1x , y  1 1y y m x x   ความสัมพันธ์ คือ     1 1x, y RxR y y m x x    3.2 ผ่านจุด  1 1x , y และ  2 2x , y 1 1 2 1 1 2 y y y y x x x x      สมการเส้นตรงในรูปมาตรฐาน y mx c  ความชัน = m ระยะตัดแกน X = c m  , ระยะตัดแกน Y = c จุดตัดแกน X คือ c ,0 m       , จุดตัดแกน Y คือ  0,c สมการเส้นตรงในรูปทั่วไป Ax By C 0   ความชัน = A B  ระยะตัดแกน X = C A  , ระยะตัดแกน Y = C B  จุดตัดแกน X คือ C ,0 A       , จุดตัดแกน Y คือ C 0, B      