SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
การเขียนโปรแกรม
      ภาษาซี


              โดย
    วิจักษณ์ ศรีสัจจะเลิศวาจา
     ดุษฎี   ประเสริฐธิติพงษ์




   ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
         พฤษภาคม 2545
1.แนะนำา ภาษาซี
     Introduction to C Programming
     Language
     ----------------------------------------
     -------------------------------
       ภาษาโปรแกรม (Programming Languages) ทีมีการคิดค้นขึ้นมา
                                                     ่
ใช้กับคอมพิวเตอร์นั้นมีหลายพันภาษา แต่ภาษาที่เป็นที่รู้จักและเป็นที่
นิยมใช้ทั่วไปนั้นอาจจะมีเพียงหลายสิบภาษา เช่น โคบอล (COBOL)
ปาสคาล (Pascal) เดลไฟล์ (Delphi) วิชวลเบสิก (Visual Basic) ซี (C)
จาวา (Java) เป็นต้น ซึ่งแต่ละภาษา สร้างขึ้น ด้วยวัตถุประสงค์ที่แตก
ต่างกันและมีจุดเด่นของภาษาที่ต่างกัน ภาษาซี C Programming
Language) เป็นภาษาเชิงโครงสร้างที่มีการออกแบบโปรแกรมใน
ลักษณะโมดูลทีมีจุดเด่นในเรื่องของประสิทธิภาพการ ทำา งานที่เร็ว มี
                 ่
ความยืดหยุ่นในการเขียนโปรแกรมสูง
       เนื่องจากมีผู้ผลิตคอมไพเลอร์เพื่อใช้แปลภาษาซีหลายบริษัท
ตัวอย่างต่าง ๆ ทีนำาเสนอในหนังสือเล่มนี้ เป็นตัวอย่างทีนำาเสนอโดยใช้
                   ่                                   ่
คอมไพเลอร์ของ Turbo C เวอร์ชัน 3.0 ของบริษัทบอร์ดแลนด์ โดย
พยายามเขียนใน รูปแบบที่เป็นมาตรฐานหากผู้อ่านนำา ไปใช้กับคอมไพ
เลอร์ของบริษัทอื่นจะได้มีการปรับแก้ไม่มากนัก เพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นภาพ
การพัฒนาโปรแกรมเชิงโครงสร้างอย่างชัดเจน
       1. ประวัติความเป็นมา
       ภาษาซีได้รับการพัฒนาขึ้นโดยเดนนิสริทชี (Dennis Ritchie) ขณะ
ทีทำา งานอยู่ที่เบลแล็บบอราทอรี(Bell Laboratories) โดยพัฒนาขึ้นจาก
   ่
หลักการพื้นฐานของภาษาบี (B) และซี พี แอล (BCPL) ในช่วงปี
ค.ศ.1971 ถึง 1973 แต่ได้เพิ่มชนิดข้อมูลและความสามารถอื่น ๆ ให้มาก
ขึ้น และนำา ภาษาซีไปใช้พัฒนาระบบปฏิบัติการยูนิกซ  (UNIX) บน
เครื่องคอมพิวเตอร์ DEC PDP-11 ภาษาซีเป็นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย
ในช่วงต้นทศวรรษที1980 จนกระทั่งมีความพยายามกำาหนดมาตรฐาน
                      ่
ของภาษาเพื่อให้สามารถใช้ภาษาซีได้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ใด ๆ ในปี
ค.ศ. 1983 โดย ANSI (The American National Standards Institute)
ได้ตั้งคณะกรรมการ X3J11 เพื่อร่างมาตรฐานดังกล่าว และได้รับการ
ตรวจสอบและยอมรับโดย ANSI และ ISO (The International
Standards Organization) โดยมีการตีพีมพ์มาตรฐานของภาษาซีในปี
ค.ศ. 1990 จากความมีประสิทธิภาพและสามารถทำางานบนเครื่อง
คอมพิวเตอร์ใด ๆ ของภาษาซีจึงได้มีการนำา ภาษาซีไปใช้ในการพัฒนา
ระบบปฏิบัติการต่าง ๆ และใช้เป็นต้นแบบของภาษาอื่น ๆ ทีสำาคัญใน
                                                     ่
ปัจจุบัน เช่น ซีพลัสพลัส (C++) จาวา (Java) เป็นต้น




       2. รูปแบบโปรแกรมภาษาซี
       ในการเขียนภาษาโปรแกรม ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องศึกษารูปแบบ
พื้นฐานของภาษา และไวยากรณ์ของภาษานั้น รูปแบบพื้นฐานของภาษา
จะเขียนโปรแกรมในลักษณะของโมดูลคือมีการแบ่งออกเป็นส่วนย่อย ๆ
ที่เรียกว่า ฟังก์ชัน (Function) แสดงดังตัวอย่างที่ 1.1 และรูปที่ 1.1
       ตัวอย่างที่ 1.1 แสดงตัวอย่างโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
          #include <stdio.h>

          void main( ) {
          /* Display message to standard output */
          printf(“My first program.”);
          }




     ผลการทำา งานของโปรแกรม

     My first program.

     ระวัง - การพิมพ์ตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็กต่างกัน จะ
ทำา ให้เกิดความผิดพลาด
         - ตรวจสอบว่ามีการพิมพ์ข้อความต่าง ๆ เหมือนกับตัวอย่าง
รูปที่ 1.1 แสดงส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
          ส่วนประกอบที่ 1 ส่วนหัว (Header) จะเป็นส่วนที่อยูที่ตอนต้น
                                                                ่
ของโปรแกรม โดยอยู่นอกส่วนที่
เรียกกว่าฟังก์ชัน ทีส่วนนหัวของโปรแกรมจะประกอบด้วยคำา สั่งที่
เป็นการกำาหนดค่าหรือกำาหนดตัวแปรต่าง ๆ คำาสั่งในที่ขึ้นต้นด้วย
สัญลักษณ์ # เป็นคำา สั่งที่เรียกว่า ตัวประมวลผลก่อน (Preprocessor)
คือคำา สั่งที่จะได้รับการทำาก่อนที่จะมีการคอมไพล์โปรแกรม ตัวประมวล
ผลก่อน ที่สำาคัญของภาษาซีแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้
          • # include
          ในภาษาซีจะมีฟังก์ชันมาตรฐานที่ผู้ผลิตคอมไพเลอร์ได้จัด
เตรียมไว้ให้ ซึ่งมักจะเกี่ยวข้อง
          กับการรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูล การคำานวณ และอื่น ๆ ซึ่งผู้
เขียนโปรแกรมสามารถ
          เรียกใช้งานได้ทันที โดยไม่ต้องเขียนโปรแกรมแกรมเอง ใน
ตัวอย่างจะมีการใช้คำา สั่ง
          printf( ) ซึ่งเป็นคำา สั่งที่ใช้แสดงข้อความออกทางอุปกรณ์
แสดงผลมาตรฐาน เช่น จอภาพ
          คำาสั่ง printf( ) เป็นการเรียกใช้ฟังก์ชันมาตรฐานซึ่งอยู่ในกลุมที่
                                                                       ่
เรียกว่า Standard Input
          and Output เมื่อจะเรียกใช้ฟังก์ชันใดในกลุมดังกล่าว จะต้อง
                                                      ่
บอกให้คอมไพเลอร์ไปอ่าน
          ค่าที่อยูในอินคลูชไฟล์ที่ชื่อ stdio.h มาไว้ที่ส่วนต้นของ
                   ่
โปรแกรม โดยใช้คำา สั่ง
                     #include <stdio.h>
          เพราะฉะนั้นผู้เขียนโปรแกรมควรจะศึกษาฟังก์ชันมาตรฐานที่
คอมไพเลอร์แต่ละบริษัทได้
เตรียมไว้ให้วาคำา สั่งใดใช้คู่กับอินคลูชไฟล์ใด
                     ่
       • # define
       ใช้สำา หรับการกำาหนดค่าคงที่ ตัวอย่างเช่น
                 #define YES 1
       คำาสั่งดังกล่าวเป็นการกำาหนดว่า หากทีใดในโปรแกรมมีคำา ว่า
                                               ่
YES จะถูกแทนที่ด้วยค่าทาง
       ขวามือ ในที่นี้คือ 1

         นอกจากในสว่นหัวของโปรแกรมอาจจะมีการประกาศตัวแปร
และส่วนของการประกาศโปรโตไทปไว้ที่ส่วนหัวของโปรแกรมได้อีกด้วย
ซึ่งจะกล่าวถึงในบทต่อ ๆ ไป




ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม หรือต้องการ Down load เนื้อหาฉบับสมบูรณ์
ได้ที่นhttp://pittajarn.lpru.ac.th/~nukit/c/CProgrammingV2.pdf
       ี่

More Related Content

What's hot

ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีFair Kung Nattaput
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีKomkai Pawuttanon
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีrussana
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีdechathon
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมikanok
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีBipor Srila
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีBipor Srila
 

What's hot (16)

C lu
C luC lu
C lu
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
Learn 2
Learn 2Learn 2
Learn 2
 
Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 

Similar to การเขียนโปรแกรมภาษาซี

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 

Similar to การเขียนโปรแกรมภาษาซี (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
vb.net
vb.netvb.net
vb.net
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 

การเขียนโปรแกรมภาษาซี

  • 1. การเขียนโปรแกรม ภาษาซี โดย วิจักษณ์ ศรีสัจจะเลิศวาจา ดุษฎี ประเสริฐธิติพงษ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พฤษภาคม 2545
  • 2. 1.แนะนำา ภาษาซี Introduction to C Programming Language ---------------------------------------- ------------------------------- ภาษาโปรแกรม (Programming Languages) ทีมีการคิดค้นขึ้นมา ่ ใช้กับคอมพิวเตอร์นั้นมีหลายพันภาษา แต่ภาษาที่เป็นที่รู้จักและเป็นที่ นิยมใช้ทั่วไปนั้นอาจจะมีเพียงหลายสิบภาษา เช่น โคบอล (COBOL) ปาสคาล (Pascal) เดลไฟล์ (Delphi) วิชวลเบสิก (Visual Basic) ซี (C) จาวา (Java) เป็นต้น ซึ่งแต่ละภาษา สร้างขึ้น ด้วยวัตถุประสงค์ที่แตก ต่างกันและมีจุดเด่นของภาษาที่ต่างกัน ภาษาซี C Programming Language) เป็นภาษาเชิงโครงสร้างที่มีการออกแบบโปรแกรมใน ลักษณะโมดูลทีมีจุดเด่นในเรื่องของประสิทธิภาพการ ทำา งานที่เร็ว มี ่ ความยืดหยุ่นในการเขียนโปรแกรมสูง เนื่องจากมีผู้ผลิตคอมไพเลอร์เพื่อใช้แปลภาษาซีหลายบริษัท ตัวอย่างต่าง ๆ ทีนำาเสนอในหนังสือเล่มนี้ เป็นตัวอย่างทีนำาเสนอโดยใช้ ่ ่ คอมไพเลอร์ของ Turbo C เวอร์ชัน 3.0 ของบริษัทบอร์ดแลนด์ โดย พยายามเขียนใน รูปแบบที่เป็นมาตรฐานหากผู้อ่านนำา ไปใช้กับคอมไพ เลอร์ของบริษัทอื่นจะได้มีการปรับแก้ไม่มากนัก เพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นภาพ การพัฒนาโปรแกรมเชิงโครงสร้างอย่างชัดเจน 1. ประวัติความเป็นมา ภาษาซีได้รับการพัฒนาขึ้นโดยเดนนิสริทชี (Dennis Ritchie) ขณะ ทีทำา งานอยู่ที่เบลแล็บบอราทอรี(Bell Laboratories) โดยพัฒนาขึ้นจาก ่ หลักการพื้นฐานของภาษาบี (B) และซี พี แอล (BCPL) ในช่วงปี ค.ศ.1971 ถึง 1973 แต่ได้เพิ่มชนิดข้อมูลและความสามารถอื่น ๆ ให้มาก ขึ้น และนำา ภาษาซีไปใช้พัฒนาระบบปฏิบัติการยูนิกซ  (UNIX) บน เครื่องคอมพิวเตอร์ DEC PDP-11 ภาษาซีเป็นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย ในช่วงต้นทศวรรษที1980 จนกระทั่งมีความพยายามกำาหนดมาตรฐาน ่ ของภาษาเพื่อให้สามารถใช้ภาษาซีได้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ใด ๆ ในปี ค.ศ. 1983 โดย ANSI (The American National Standards Institute) ได้ตั้งคณะกรรมการ X3J11 เพื่อร่างมาตรฐานดังกล่าว และได้รับการ ตรวจสอบและยอมรับโดย ANSI และ ISO (The International
  • 3. Standards Organization) โดยมีการตีพีมพ์มาตรฐานของภาษาซีในปี ค.ศ. 1990 จากความมีประสิทธิภาพและสามารถทำางานบนเครื่อง คอมพิวเตอร์ใด ๆ ของภาษาซีจึงได้มีการนำา ภาษาซีไปใช้ในการพัฒนา ระบบปฏิบัติการต่าง ๆ และใช้เป็นต้นแบบของภาษาอื่น ๆ ทีสำาคัญใน ่ ปัจจุบัน เช่น ซีพลัสพลัส (C++) จาวา (Java) เป็นต้น 2. รูปแบบโปรแกรมภาษาซี ในการเขียนภาษาโปรแกรม ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องศึกษารูปแบบ พื้นฐานของภาษา และไวยากรณ์ของภาษานั้น รูปแบบพื้นฐานของภาษา จะเขียนโปรแกรมในลักษณะของโมดูลคือมีการแบ่งออกเป็นส่วนย่อย ๆ ที่เรียกว่า ฟังก์ชัน (Function) แสดงดังตัวอย่างที่ 1.1 และรูปที่ 1.1 ตัวอย่างที่ 1.1 แสดงตัวอย่างโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น #include <stdio.h> void main( ) { /* Display message to standard output */ printf(“My first program.”); } ผลการทำา งานของโปรแกรม My first program. ระวัง - การพิมพ์ตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็กต่างกัน จะ ทำา ให้เกิดความผิดพลาด - ตรวจสอบว่ามีการพิมพ์ข้อความต่าง ๆ เหมือนกับตัวอย่าง
  • 4. รูปที่ 1.1 แสดงส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ส่วนประกอบที่ 1 ส่วนหัว (Header) จะเป็นส่วนที่อยูที่ตอนต้น ่ ของโปรแกรม โดยอยู่นอกส่วนที่ เรียกกว่าฟังก์ชัน ทีส่วนนหัวของโปรแกรมจะประกอบด้วยคำา สั่งที่ เป็นการกำาหนดค่าหรือกำาหนดตัวแปรต่าง ๆ คำาสั่งในที่ขึ้นต้นด้วย สัญลักษณ์ # เป็นคำา สั่งที่เรียกว่า ตัวประมวลผลก่อน (Preprocessor) คือคำา สั่งที่จะได้รับการทำาก่อนที่จะมีการคอมไพล์โปรแกรม ตัวประมวล ผลก่อน ที่สำาคัญของภาษาซีแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้ • # include ในภาษาซีจะมีฟังก์ชันมาตรฐานที่ผู้ผลิตคอมไพเลอร์ได้จัด เตรียมไว้ให้ ซึ่งมักจะเกี่ยวข้อง กับการรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูล การคำานวณ และอื่น ๆ ซึ่งผู้ เขียนโปรแกรมสามารถ เรียกใช้งานได้ทันที โดยไม่ต้องเขียนโปรแกรมแกรมเอง ใน ตัวอย่างจะมีการใช้คำา สั่ง printf( ) ซึ่งเป็นคำา สั่งที่ใช้แสดงข้อความออกทางอุปกรณ์ แสดงผลมาตรฐาน เช่น จอภาพ คำาสั่ง printf( ) เป็นการเรียกใช้ฟังก์ชันมาตรฐานซึ่งอยู่ในกลุมที่ ่ เรียกว่า Standard Input and Output เมื่อจะเรียกใช้ฟังก์ชันใดในกลุมดังกล่าว จะต้อง ่ บอกให้คอมไพเลอร์ไปอ่าน ค่าที่อยูในอินคลูชไฟล์ที่ชื่อ stdio.h มาไว้ที่ส่วนต้นของ ่ โปรแกรม โดยใช้คำา สั่ง #include <stdio.h> เพราะฉะนั้นผู้เขียนโปรแกรมควรจะศึกษาฟังก์ชันมาตรฐานที่ คอมไพเลอร์แต่ละบริษัทได้
  • 5. เตรียมไว้ให้วาคำา สั่งใดใช้คู่กับอินคลูชไฟล์ใด ่ • # define ใช้สำา หรับการกำาหนดค่าคงที่ ตัวอย่างเช่น #define YES 1 คำาสั่งดังกล่าวเป็นการกำาหนดว่า หากทีใดในโปรแกรมมีคำา ว่า ่ YES จะถูกแทนที่ด้วยค่าทาง ขวามือ ในที่นี้คือ 1 นอกจากในสว่นหัวของโปรแกรมอาจจะมีการประกาศตัวแปร และส่วนของการประกาศโปรโตไทปไว้ที่ส่วนหัวของโปรแกรมได้อีกด้วย ซึ่งจะกล่าวถึงในบทต่อ ๆ ไป ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม หรือต้องการ Down load เนื้อหาฉบับสมบูรณ์ ได้ที่นhttp://pittajarn.lpru.ac.th/~nukit/c/CProgrammingV2.pdf ี่