SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
ยีนและโครโมโซม
การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม
วอเตอร ์ ซัตตัน
เป็ นบุคคลแรกที่เสนอ ทฤษฏี
โครโมโซมในการถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรม
โดยเสนอ สิ่งที่เรียกว่า ยีน นั้น
น่าจะอยู่บนโครโมโซม เพราะ มี
เหตุการณ์หลายอย่างที่ยีนและ
โครโมโซมมีความสอดคล้องกัน
เหตุการณ์ความสอดคล้องของยีนและ
โครโมโซม
1. ยีนมี 2 ชุด โครโมโซมก็มี 2 ชุด
2. ยีนและโครโมโซมสามารถ
ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูก
หลานได้
3. ขณะมีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
– chromosome – เข้าคู่ –
แยก
- gene มีการแยกตัวของ allele
4. การแยกตัวของ chromosome
5. ขณะเกิดการสืบพันธุ ์
egg + sperm = zygoyeเป็ นไป
อย่างสุ่ม
chromosome,alleleจาก egg ,
sperm
รวมอย่างสุ่ม
6. ทุก cell ที่พัฒนาจาก zygote
จะมี
chromosome 1/2 จากพ่อ 1/2
จากแม่
1 1
การค้นพบสารพันธุกรรม
พ.ศ. 2412
โยฮันน์ ฟรีดริช มีเชอรี
(Johann Friedrich Miescher)
ได้ศึกษา
สารประกอบอินทรีย์จากนิวเคลียส
ของเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ติดมากับ
ผ้าพันแผลของนิวเคลียสจากสเปิ ร ์ม
ของปลา
พบว่า
พ.ศ. 2545
อาร ์ฟอยล์เกน (R. Feulgen)
นักเคมีชาวเยอรมัน
ได้ทดลองย้อมสี กรดนิวคลีอิค ด้วยสี
ฟุคชิน (fuchsin) พบว่า มีสีม่วงแดง
หนาแน่นที่บริเวณโครโมโซม จึงสรุปว่า
DNA อยู่ที่โครโมโซม
พ.ศ. 2471
เอฟ กริฟฟิ ท (Fm. Griffith)
ทาการทดลองโดย
ฉีดแบคทีเรีย (streptococcus
pneumoniae) ทาทาให้เกิดโรคปอด
บวมเข้าไปในหนู แบคทีเรียที่ฉีดเข้า
ไปนี้มี 2 สายพันธุ ์ คือ
1. S-train เป็ นสายพันธุ ์ที่มีผิว
เรียบ มีสารห่อหุ้ม
เซลล์(capsule) ทาให้เกิดโรค
ปอดบวม
่
เขาได้ฉีดเชื้อแบคทีเรียเข้าไปในหนู
ทดลองและสังเกตผลดังนี้
กรณีที่ 1
ฉีดแบคทีเรียสายพันธุ ์R เข้าไป
ในหนูทดลอง
ผลปรากฏว่าหนูไม่ตาย
กรณีที่ 2
ฉีดแบคทีเรียสายพันธุ ์S เข้าไป
ในหนูทดลอง
ผลปรากฏว่าหนูตาย
กรณีที่ 3
ฆ่าแบคทีเรียสายพันธุ ์S ด้วย
ความร้อยแล้วทิ้งไว้
ให้เย็น จากนั้นฉีดเข้าไปในหนู
ทดลอง
ผลปรากฏว่าหนูไม่ตาย
กรณีที่ 4
นาแบคทีเรียสายพันธุ ์S ที่ฆ่า
ให้ตายด้วยความร้อน
แล้วทิ้งไว้ให้เย็น นาไปเลี้ยงปะปนกับ
แบคทีเรียสายพันธุ ์R
เมื่อนาเลือดของหนูที่ตาย
ไป
ตรวจสอบพบว่า
มีแบคทีเรียนสายพันธุ ์S
แสดงว่า แบคทีเรียสายพันธุ ์R
เปลี่ยนแปลงเป็ น
สายพันธุ ์S ได้ โดยกระบวนการ
transformation
คือ
ต้องมีสารพันธุกรรมจาก
แบคทีเรียสายพันธุ ์S ซึ่งตายแล้ว
่
พ.ศ. 2487
นักวิทยาศาสตร ์ชาวอเมริกัน 3
คน คือ
* โอ ที แอเวอรี (O.T. Avery)
* ซี แมคลอยด์(C. Macleod)
* เอ็ม แมคคาร ์ที (M.
McCarty)
ทาการทดลองต่อจาก กริฟฟิ ท โดน
นาแบคทีเรียสายพันธุ ์S มาทาให้
หลอด ก. เติมเอนไซม์
Rnase
(ribonuclease) เพื่อ
ย่อยสลาย RNA
หลอด ข. เติมเอนไซม์
โปรตีเอส
(protease) เพื่อย่อย
สลายโปรตีน
หลอด ค. เติมเอนไซม์
Dnase
(deoxyribonuclease)
เพื่อย่อย
สลาย DNA
หลอด ง. ไม่การเติม
ผลการทดลอง
1. ส่วนผสมของ
แบคทีเรียสายพันธุ ์R
กับสารสกัดจากสาย
พันธุ ์S ที่ทาให้ตาย
ด้วยความร้อน ใน
ภาวะที่มีเอนไซม์
Dnase จะไม่พบ
แบคทีเรียสายพันธุ ์S
ที่เกิดใหม่
2. ส่วนผสมของ
แบคทีเรียสายพันธุ ์R
จากสารสกัดจากสาย
การทดลองนี้ทาให้ได้ข้อสรุปว่า กรดนิวคลีอิคชนิด
DNA เป็ นสารพันธุกรรม
การทดลองของกริฟฟิ ท แอเวอรี่ และคณะ ทาให้ได้
ข้อสรุปที่ชัดเจนว่า DNA เป็ นสาร
พันธุกรรมที่ทาหน้าที่ ควบคุมและถ่ายทอดลักษณะ
โครโมโซม
รูปร่างของโครโมโซม
จากการศึกษาพบว่าตาแหน่งของ
เซนโทรเมียร ์มีผลทาให้โครโมโซม
แตกต่างกัน 4 แบบ คือ
1. เทโลเซนทริกโครโมโซม
เป็ นโครโมโซมที่มีเซนโทรเมียร ์
อยู่ตรงปลายสุด
ทาให้มองเห็นเป็ นแท่งหรือมีแขน
2. อะโครเซนทริกโครโมโซม
เป็ นโครโมโซมที่มีเซนโทรเมียร ์
ค่อนไปทางส่วนปลาย
ด้านใดด้านหนึ่ง มองเห็นโครโมโซม
เป็ นแท่ง มีแขน 2 ข้าง
ยาวแตกต่างกัน
3. ซับเมทาเซนทริกโครโมโซม
เป็ นโครโมโซมที่เซนโทรเมียร ์ไม่
อยู่ตรงกลาง ทาให้
แขน 2 ข้างยาวไม่เท่ากัน มองคล้าย
รูปตัวเจ (J)
4. เมทาเซนทริกโครโมโซม
เป็ นโครโมโซมที่มีเซนโทรเมียร ์
อยู่ตรงกลางพอดี
ทาให้แขน 2 ข้าง ยาวเท่ากัน
มองเห็นคล้ายรูปตัววี (V)
ขนาดของโครโมโซม
โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
มีขนาดแตกต่างกัน
และมีการผันแปรตามระยะต่าง ๆ
ของการแบ่งเซลล์
จานวนโครโมโซม
โครโมโซมในร่างกายสิ่งมีชีวิตจะมี
จานวนแตกต่างกัน
Autosome เป็ น chromosomeที่
ควบคุมลักษณะ
ต่างๆของร่างกาย
Sex – chromosome ควบคุม ,
กาหนดเพศ
chromosome X ,
Cell ร่างกาย มีจานวน
chromosome 2 ชุด เรียกว่า
ดิพลอย์(diploid) = 2n
Cell สืบพันธุ ์มีจานวน
chromosome 1 ชุด เรียกว่า
แฮพลอยด์(haploid) = 1n
สิ่งมีชีวิ
ต
จานวนchro
mosome
สิ่งมีชี
วิต
จานวนchrom
osome
มนุษย์ 46 สน 24
ลิงชิม
แพนซี
48 กะหล่า
ปลี
18
ม้า 64 ถั่ว
ลันเตา
14
แมว 38 ฝ
้ าย 52
หนู 40 มะเขือ
เทศ
24
ไก่ ยาสูบ
บทบาทในการกาหนดเพศของ
chromosome
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ใช้
chromosome XY
44 + XX , 44 + XY
นก ไก่ ผีเสื้อ ครึ่งบก-ครึ่งน้า เลื้อย
คลาน
ใช้ chromosome XY
♀ = XY ( ZW ) ♂ = XX ( ZZ
)
ในแมลงพวก ตั๊กแตน จิ้งหรีด ใช้
chromosome
XO เป็ นตัวกาหนดเพศ
♀ = XX , 22 + XX gamete 11
+X , 11+X
♂ = XO , 22 + XO gamete 11
+X , 11+O
พวก ผึ้ง ต่อ แตน มดไม่มี Sex –
chromosome
กาหนดเพศโดยอาศัยชุดของ
chromosome
Parthenogesis ผึ้งนางพญา 2n =
32 , ♂ n = 16
♀สร้าง cell สืบพันธุ ์ n = 16
♂สร้าง cell สืบพันธุ ์n = 16
Sperm + cell ไข่ ลูก ♀ 2n
= 32
cell ไข่ ลูก ♂ n =
16
ส่วนประกอบของโครโมโซม
โครโมโซมประกอบด้วยสารพวก นิ
วคลีโอโปรตีน
ในสภาวะที่เซลล์ยังไม่อยู่ในระยะแบ่ง
เซลล์ จะอยู่ในสภาพ
เป็ นเส้นใยขนาดเล็กที่สานพันกันไป
มาในนิวเคลียส
เรียกว่า เส้นใยโครมาทิน
(chromatin)
โปรตีนที่เป็ นองค์ประกอบของโคร
มาทิน 2 ชนิดคือ
1. histone chromosomal
protein
หมายถึง โปรตีนฮิสโตน ซึ่ง
ประกอบด้วย
กรดอะมิโน ที่มีสมบัติเป็ นเบส
เป็ นส่วนมาก
เช่น ไลซีน อาร ์จินีน อัสทิดีน
เป็ นต้น
ช่วยทาให้โปรตีนเกาะกับ
DNA ได้ดี
2. non-hostone
chomosomal protein
หมายถึงโปรตีนอื่น ๆ ที่ไม่ใช่
ฮิสโทน ซึ่ง
ประกอบด้วยกรดอะมิโน ที่มี
สมบัติเป็ นกรด
มีหน้าที่แตกต่างกันหลาย
แบบ เช่น
เกี่ยวข้องกับการจาลองตัวเอง
ของ DNA หรือ
สารพันธุกรรมทั้งหมดของ
โครโมโซม 1 ชุด ของสิ่งมีชีวิต
หนึ่ง ๆ เรียกว่า genome
สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีขนาดของ
จีโนมและจานวนยีนแตกต่าง
กัน
สิ่งมีชีวิต ขนาดของ
genome
( ล้านคู่เบส
)
จานวน
gene
โดยประม
าณ
มนุษย์ 3,200 80,000
หนู 3,000 80,000
แมลงหวี่ 120 10,000
หนอนตัวกลม 100 13,000
พืชวงศ์ผักกาด 100 25,000
องค์ประกอบทางเคมีของ DNA
DNA เป็ นกรดนิวคลีอิคชนิด
หนึ่ง ซึ่งเป็ นพอลิเมอร ์(polymer)
สายยาว ประกอบด้วยหน่วยย่อย
หรือ
มอนอเมอร ์(monomer) ที่เรียกว่า นิ
วคลีโอไทด์(nucleotide)
แต่ละนิวคลีโอไทด์ประกอบด้วย
1. น้าตาลเพนโทส (pentose sugar)
มีคาร ์บอน 5 อะตอม คือ น้าตาลดีออกซีไร
โบส
(deoxyribose)
โครงสร้างของนิวคลีโอไทด์ซึ่งประกอบด้วย
น้าตาลดีออกซีไรโบส
2. ไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous
base)
เป็ นโครงสร้างปะกอบด้วยวงแหวนที่มี
อะตอมของคาร ์บอน
และไนโตรเจน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
คือ
2.1 เบสพิวรีน (purine)
มี 2 ชนิด คือ อะดีนีน (adenine
หรือ A) และ
กวานีน (guanine หรือ G)
2.2 เบสไพริมิดีน(pyrimidine) มี 2
ชนิด คือ
เบส 4 ชนิดที่เป็ นองค์ประกอบของนิ
วคลีโอไทด์
3. หมู่ฟอสเฟต ( PO4
3- )
โครงสร้างของเบสและน้าตาล
ที่เป็ องค์ประกอบ
ของกรดนิวคลีอิค ดังภาพ
แทน O
แทน C
แทน H
แทน N
การประกอบขึ้นเป็ นคลีนิวโอไทด์นั้น
ทั้งสามส่วน
ประกอบกันโดยมีน้าตาลเป็ นแกนหลัก
มีไนโตรจีนัสเบส อยู่ที่คาร ์บอน
ตาแหน่งที่ 1 และ
หมู่ฟอสเฟตมีคาร ์บอนอยู่ที่ตาแหน่งที่
5
ดังนั้นนิวคลีโอไทด์ใน DNA จึงมี 4
ชนิด ดังภาพ
แทน O
แทน C
แทน H
จากการวิเคราะห์ส่วนประกอบ
ทางเคมีของ DNA พบว่า
มีเบสน้าตาลดีออกซีไรโบสและ
หมู่ฟอสเฟตเป็ นจานวนวนมาก จึง
เป็ นไปได้ว่า DNA ประกอบด้วยนิวคลี
โอไทด์จานวนมากมาเชื่อมต่อกัน
นิวคลีโอไทด์จานวนมากนี้มา
เชือมต่อกันเป็ นโมเลกุลของ DNA ได้
โดยการเชื่อมดังกล่าวเกิดจากการ
สร้างพันธะโควาเลนซ ์ระหว่างหมู่
ฟอสเฟตของนิวคลีโอไทด์หนึ่งกับ
หมู่ไฮดรอกซิลอยู่ที่คาร ์บอนตาแหน่ง
ที่ 3 ของน้าตาลในนิวคลีโอไทด์หนึ่ง
จะเห็นว่าสายด้าน
หนึ่งมีจะมีหมู่
ฟอสเฟตเชื่อมอยู่
กับน้าตาลดีออกซี
ไรโบสที่คาร ์บอน
ตาแหน่งที่ 5 เรียก
ปลายด้านนี้ว่าเป็ น
ปลาย 5/ ( อ่านว่า 5
ไพร ์ม )
และอีกปลายด้าน
หนึ่งจะมีหมู่
ไฮดรอกซิลที่
โครงสร้างของ DNA
ปี พ.ศ. 2493 – 2494
เอ็ม เอช เอฟ วิลคินส์( M. H.F
Wilkins ) และโรซาลินด์
แฟรงคลิน (Rosalind Franklin)
นักฟิ สิกส์ชาวอังกฤษ ศึกษา
โครงสร้างของ DNA ในสิ่งมีชีวิต
ชนิดต่าง ๆ โดยใช้เทคนิค เอกซ ์
เรย์ดิฟแฟรกชัน (X-ray
diffraction) ด้วยการฉายรังสี
เอกซ ์ผ่านผลึก DNA
การหักเหของรังสีเอกซ ์ทาให้
เกิดภาพบนแผ่นฟิ ล์ม ได้ภาพถ่าย
ที่ชัดเจนมาก
จากภาพถ่ายนี้นักฟิ สิกส์แปล
ผลได้ว่าโครงสร้างของ DNA จาก
สิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ มีลักษณะที่
ปี พ.ศ. 2496
เจ ดี วอตสัน (J.D. Watson) นัก
ชีวเคมีชาวอเมริกัน และ เอฟ คริก
(F. Crick) นักฟิ สิกส์ชาวอังกฤษ ได้
เสนอแบบจาลองโครงสร้างโมเลกุล
ของ DNA ที่สมบูรณ์ที่สุด โดย
รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ จากโครงสร้าง
ทางเคมีของส่วนประกอบของโมเลกุล
DNA จากผลการทดลองของ
ชาร ์กาฟฟ
์ คือ
1. DNA
โมเลกุลหนึ่งประกอบ
ขึ้นจากพอลินิวคลี
โอไทด์
2 สาย สายทั้งสอง
ยึดกันด้วยพันธะ
ไฮโดรเจน
(Hydrogen born)
ระหว่างคู่เบส A กับ
T ด้วย พันธะ
ไฮโดรเจน 2 พันธะ
2. พอลินิวคลีโอ
ไทด์ 2 สาย ใน
โมเลกุล DNAนั้น แต่
ละสายจะมีทิศทาง
จากปลาย 5/ ไปยัง 3/
สวนทางกันและพัน
กันบิดเป็ นเกลียวคู่
(Double helix)
เวียนขวาตามเข็ม
นาฬิกาเกลียวแต่ละ
รอบห่างเท่า ๆ กัน
และมีคู่เบสจานวน
เท่ากัน
3. โครงสร้างเกลียวคู่ทาให้
โครงสร้างของ DNA
มีลักษณะคล้ายบันใดเวียนโดย
มีน้าตาลน้าตาล
ดีออกซีไรโบสจับกันหมู่ฟอต
เฟตเป็ นราวบันใด
(backbones) และบันใดแต่ละ
ชั้นคือคู่เบส
1 คู่
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม มีลักษณะ
สาคัญคือ
ประการแรก ต้องสามารถเพิ่ม
จานวนตัวเองได้โดยมี
ลักษณะเหมือนเดิมเพื่อให้สามารถ
ถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรมจากรุ่นพ่อแม่ไปยังรุ่น
ลูก
ประการที่สอง สามารถควบคุมให้
เซลล์สังเคราะห์
สารต่างๆเพื่อแสดงลักษณะทาง
พันธุกรรมให้ปรากฏ
ประการที่สาม ต้องสามารถ
การสังเคราะห์DNA
DNA Replication
การจาลองโมเลกุลของ DNA
หมายถึง
การสังเคราะห์โมเลกุลของ
DNA ขึ้นมาใหม่อีก
1 โมเลกุล ซึ่งเหมือนโมเลกุลเดิมทุก
ประการ
วอตสันและคริก ได้เสนอว่า ในการ
จาลองตัวเองของ
DNA พิอลินิวคลีโอไทด์2 สาย
แยกออกจากกัน
1. เอนไซม์เฮลิเคส (helicase) เข้าสลาย
พันธะไฮโดรเจนที่จุดใดจุดหนึ่งบน
เกลียวคู่ เรียกจุดนี้ว่าทางแยกของการ
ลอกแบบ หรือ เรพลิเคชันฟอร ์ค
พอลินิวคลีโอไทด์2 สาย จะพัน
รอบกันและบิด
เป็ นเกลียวเป็ น DNA ใหม่ 2
โมเลกุล โดย
DNA แต่ละโมเลกุลประกอบด้วย
พอลินิวคลีโอไทด์
สายเก่า 1 สายและสายใหม่ 1
สาย เรียกการ
จาลองลักษณะนี้เรียกว่า แบบกึ่ง
อนุรักษ์
(semi conservative)
ยีนและโครโมโซม.pptx

More Related Content

Similar to ยีนและโครโมโซม.pptx

ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯroom62group2
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมComputer ITSWKJ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมWichai Likitponrak
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfNoeyWipa
 
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 newเลิกเสี่ยง. ป่าน
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
7.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
7.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 25507.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
7.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550เลิกเสี่ยง. ป่าน
 
ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550Warangkana Chaiwan
 
7.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
7.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 25507.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
7.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550เลิกเสี่ยง. ป่าน
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 

Similar to ยีนและโครโมโซม.pptx (20)

ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
Dna
DnaDna
Dna
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซม
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
พันธูกรรม1
พันธูกรรม1พันธูกรรม1
พันธูกรรม1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
 
Mitosis1 [compatibility mode]
Mitosis1 [compatibility mode]Mitosis1 [compatibility mode]
Mitosis1 [compatibility mode]
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
7.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
7.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 25507.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
7.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
 
ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
 
7.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
7.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 25507.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
7.ข้อสอบ a netวิชาวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา- ปีการศึกษา 2550
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 

More from Kru Bio Hazad

วิเคราห์สารอาหาร.pdf
วิเคราห์สารอาหาร.pdfวิเคราห์สารอาหาร.pdf
วิเคราห์สารอาหาร.pdfKru Bio Hazad
 
อุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptx
อุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptxอุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptx
อุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptxKru Bio Hazad
 
monthly-2023-a4-l-1-th.pdf
monthly-2023-a4-l-1-th.pdfmonthly-2023-a4-l-1-th.pdf
monthly-2023-a4-l-1-th.pdfKru Bio Hazad
 
ดอกไม้ -สัตว์มีกระดูกสันหลัง.pdf
ดอกไม้ -สัตว์มีกระดูกสันหลัง.pdfดอกไม้ -สัตว์มีกระดูกสันหลัง.pdf
ดอกไม้ -สัตว์มีกระดูกสันหลัง.pdfKru Bio Hazad
 
ดอกไม้ ส่วนประกอบของหู.pdf
ดอกไม้ ส่วนประกอบของหู.pdfดอกไม้ ส่วนประกอบของหู.pdf
ดอกไม้ ส่วนประกอบของหู.pdfKru Bio Hazad
 
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdfสื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdfKru Bio Hazad
 
หินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdfหินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdfKru Bio Hazad
 
รวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptxรวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptxKru Bio Hazad
 
อวัยวะภายใน.pdf
อวัยวะภายใน.pdfอวัยวะภายใน.pdf
อวัยวะภายใน.pdfKru Bio Hazad
 
สัญลักษณ์แสดงส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า.pdf
สัญลักษณ์แสดงส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า.pdfสัญลักษณ์แสดงส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า.pdf
สัญลักษณ์แสดงส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า.pdfKru Bio Hazad
 
ติวชีววิทยา 2 การลำเลียงสารผ่านเซลล์.pdf
ติวชีววิทยา 2 การลำเลียงสารผ่านเซลล์.pdfติวชีววิทยา 2 การลำเลียงสารผ่านเซลล์.pdf
ติวชีววิทยา 2 การลำเลียงสารผ่านเซลล์.pdfKru Bio Hazad
 
Water_Cycle_watcchakrnam.pdf
Water_Cycle_watcchakrnam.pdfWater_Cycle_watcchakrnam.pdf
Water_Cycle_watcchakrnam.pdfKru Bio Hazad
 

More from Kru Bio Hazad (15)

วิเคราห์สารอาหาร.pdf
วิเคราห์สารอาหาร.pdfวิเคราห์สารอาหาร.pdf
วิเคราห์สารอาหาร.pdf
 
powerpoint7.pptx
powerpoint7.pptxpowerpoint7.pptx
powerpoint7.pptx
 
ppt1.pptx
ppt1.pptxppt1.pptx
ppt1.pptx
 
อุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptx
อุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptxอุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptx
อุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptx
 
monthly-2023-a4-l-1-th.pdf
monthly-2023-a4-l-1-th.pdfmonthly-2023-a4-l-1-th.pdf
monthly-2023-a4-l-1-th.pdf
 
ดอกไม้ -สัตว์มีกระดูกสันหลัง.pdf
ดอกไม้ -สัตว์มีกระดูกสันหลัง.pdfดอกไม้ -สัตว์มีกระดูกสันหลัง.pdf
ดอกไม้ -สัตว์มีกระดูกสันหลัง.pdf
 
ดอกไม้ ส่วนประกอบของหู.pdf
ดอกไม้ ส่วนประกอบของหู.pdfดอกไม้ ส่วนประกอบของหู.pdf
ดอกไม้ ส่วนประกอบของหู.pdf
 
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdfสื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
 
หินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdfหินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdf
 
บวก.pdf
บวก.pdfบวก.pdf
บวก.pdf
 
รวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptxรวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptx
 
อวัยวะภายใน.pdf
อวัยวะภายใน.pdfอวัยวะภายใน.pdf
อวัยวะภายใน.pdf
 
สัญลักษณ์แสดงส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า.pdf
สัญลักษณ์แสดงส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า.pdfสัญลักษณ์แสดงส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า.pdf
สัญลักษณ์แสดงส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า.pdf
 
ติวชีววิทยา 2 การลำเลียงสารผ่านเซลล์.pdf
ติวชีววิทยา 2 การลำเลียงสารผ่านเซลล์.pdfติวชีววิทยา 2 การลำเลียงสารผ่านเซลล์.pdf
ติวชีววิทยา 2 การลำเลียงสารผ่านเซลล์.pdf
 
Water_Cycle_watcchakrnam.pdf
Water_Cycle_watcchakrnam.pdfWater_Cycle_watcchakrnam.pdf
Water_Cycle_watcchakrnam.pdf
 

ยีนและโครโมโซม.pptx

Editor's Notes

  1. อออกะเ