SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
มื่อวันที่ 9 – 13 มีนาคม 2561 ที่ผ่านมา สถาบันการจัดการ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ร่วมจัดนิทรรศการและสัมมนา
ในงานประชุมวิชาการ สวทช. ประจาปี 2561xครั้งที่14x(NSTDA
Annual Conference: NAC2018) ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์
ประเทศไทย จ.ปทุมธานี
สท. ได้นาเสนอการใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ประยุกต์ใช้จัดการการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าในภาคการเกษตร
ภายใต้แนวคิดนาเสนอ “กิน-อยู่ รู้ค่า (Waste Less Save More)
เพื่อให้ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Sustainable Development Goals: SDGs) ในการขจัดความหิวโหย
บรรลุความมั่นคงทางอาหาร ส่งเสริมเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน (SDG
2: Zero Hunger) และสร้างแผนการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน (SDG
12:Responsible Consumption and Production) โดยนาเสนอเทคโนโลยี
ที่เกี่ยวข้องดังนี้
• การเพาะปลูกด้วย "เทคโนโลยีไอที“
• การผลิตปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกองในวงตาข่าย
• จุลินทรีย์ย่อยสลายวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร
• ผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมจากการแปรรูปข้าว
• นวัตกรรมกระดาษฟางข้าวอินทรีย์ผลิตภัณฑ์จากบ้านสามขา
• พิรุณ 4 มันสาปะหลังสายพันธุ์ใหม่
• เพิ่มผลผลิตมันสาปะหลัง ลดรายจ่าย รายได้เพิ่ม ใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
• บ้านนาเยีย: มุ่งสู่ชุมชนเกษตร Zero Waste
• ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดิน
• หนอนแม่โจ้: ผู้เปลี่ยนขยะอินทรีย์สู่อาหารสัตว์โปรตีนสูง
• โรงเรือนอัจฉริยะและโรงเรือนเกษตรดิจิทัล (สาหรับเห็ด)
นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมทากระถางปลูกผักจากกระดาษฟางข้าว
ซึ่งมีผู้สนใจเข้าเยี่ยมชมบูธและร่วมทากิจกรรมเป็นจานวนมาก
สท. ร่วมงานประชุมวิชาการ สวทช. ประจาปี 2561
NSTDA Annual Conference : NAC2018
เ
1
17
มีนาคม 2561
สท. ยังร่วมจัดสัมมนาในหัวข้อต่างๆ ดังนี้
• เกษตรกรปรับตัวอย่างไรในยุคไทยแลนด์ 4.0
• การบริหารจัดการน้าใต้ดินอย่างยั่งยืน
• Smart IOT for Agriculture
• โรงเรือนปลูกพืช: ความจาเป็นของเกษตรยุค 4.0 ?
• เทคนิคการเลี้ยงหนอนแม่โจ้เพื่อผลิตโปรตีนอาหารสัตว์
• การแยกขยายรังชันโรงด้วยวิธีอย่างง่าย
• การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานน้าผึ้งไทย
นอกจากนี้ สท. ยังได้จัดกิจกรรม Live ผ่าน Facebook AGRITEC ในหัวข้อ “Smart Technology
สาคัญแค่ไหน” และ “เรื่องหนอน หนอน กับการกาจัดขยะอินทรีย์”
2
การปลูกพืชในระบบโรงเรือนของประเทศไทย
เริ่มใช้กับการปลูกผักที่มาจากต่างแดนและมีราคา
แพง แต่จากสภาพภูมิอากาศโลกที่เปลี่ยนแปลง
ความไม่แน่นอนของฤดูกาล ภัยธรรมชาติ และการ
ระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช ทาให้เกิดความ
สูญเสียทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เกษตรกรจึง
เริ่มให้ความสนใจการปลูกพืชในระบบโรงเรือนมากขึ้น
โดยมองว่าสามารถปลูกพืชในทั้งปี ควบคุมและ
ป้องกันโรคและแมลงศัตรูพืชได้ และจะทาให้ได้ผล
ผลิตที่มีคุณภาพ
• โรงเรือนปลูกพืชจาเป็นแค่ไหนในการทาเกษตรยุค
ปัจจุบัน?
• จริงหรือไม่ถ้ามีโรงเรือนปลูกพืชแล้ว ได้ผลผลิตที่ดี
แน่นอน?
• มีโรงเรือนแล้วปลูกพืชได้ทุกชนิด?
• โรงเรือนปลูกพืชมีหลากหลายรูปแบบ รูปแบบใด
จึงเหมาะสม? ฯลฯ
หลากคาถามที่ชวนให้เกษตรกรหาคาตอบ
ก่อนที่เกษตรกรจะตัดสินใจลงทุน “โรงเรือนปลูกพืช”
สักหลังหนึ่ง
สท. โดยฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตร
ชุมชน จึงได้จัดกิจกรรมเสวนาเรื่อง “โรงเรือนปลูก
พืช: ความจาเป็นของเกษตรยุค 4.0?” ในงาน
ประชุมวิชาการประจาปี สวทช. ครั้งที่ 14 (NAC2018)
เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2561 ณ อาคารศูนย์ประชุม
อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี เพื่อให้
เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้มีประสบการณ์
จากการปลูกพืชในระบบโรงเรือนกับผู้ที่สนใจทั่วไป
การเสวนาครั้งนี้ มีผู้ร่วมเสวนา 3..ท่าน คือ คุณ
พงษ์พัฒน์ แก้วพะเนาว์ ผู้ก่อตั้งสวนแก้วพะเนาว์ และ
เป็น Young Smart Farmer จังหวัดมหาสารคาม คุณ
ธนิดา ขุนนา กรรมการผู้จัดการบริษัทคลีนฟาร์ม
จากัด จังหวัดสระบุรี และคุณนริชพันธ์ เป็นผลดี
ผู้ช่วยวิจัยอาวุโส ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์
(TMEC) และดาเนินรายการ โดยคุณวิลาวัณย์ เอื้อวงศ์
กูล นักวิชาการอิสระ มีผู้เข้าร่วมเสวนา 97 คน ความพึง
พอใจจากผู้เข้าร่วมเสวนาร้อยละ 98.78
การเสวนาเริ่มด้วยคุณพงษ์พัฒน์ แก้วพะเนาว์
ได้เล่าถึง “ประสบการณ์งานเกษตรในต่างแดนสู่การ
ประยุกต์ใช้ในเมืองไทย” ว่า ตนได้มีโอกาสไปฝึกงานทาง
ตอนใต้ของประเทศอิสราเอล ซึ่งมีลักษณะภูมิอากาศ
ใกล้เคียงเมืองไทยมาก โดยเฉพาะจังหวัดมหาสารคาม
ถิ่นกาเนิดของตน เนื่องจากมีอากาศที่ร้อน ผืนดินเป็น
ทะเลทราย แต่ก็ไม่ได้เป็นอุปสรรคต่อการปลูกพืช
เพราะมีการนาเทคโนโลยีโรงเรือนมาปรับใช้ และ
โรงเรือนที่อิสราเอลใช้จะมีหลากหลายรูปแบบ บนพื้นที่
เกษตรขนาดใหญ่มีทั้งการปลูกพืชในโรงเรือนและนอก
โรงเรือน เพื่อประกันความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ
เกษตรกรหรือนักลงทุนจะต้องไม่ลืมว่าธุรกิจเกษตรมี
ความเสี่ยงเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นสภาพ
ภูมิอากาศโลกที่เปลี่ยนแปลง ความไม่แน่นอนของ
ฤดูกาล ภัยธรรมชาติ และการระบาดของโรคและแมลง
ศัตรูพืช
จากนั้น คุณธนิดา ขุนนา เล่าถึง “ปลูกพืชผักใน
โรงเรือนช่วยเพิ่มผลผลิตอย่างไร” ...แรกเริ่มตนเป็นคน
ชอบทานผักและในช่วงนั้นสุขภาพไม่ค่อยแข็งแรงจึง
อยากปลูกผักที่ปลอดภัยไว้ทานเองและมองว่าสามารถ
ทาเป็นธุรกิจได้จึงขยับขยายทาเป็นธุรกิจ
โรงเรือนปลูกพืช: ความจาเป็นของเกษตรยุค 4.0 ?
3
17
มีนาคม 2561
ผู้ร่วมเสวนา บรรยากาศในห้องเสวนา
การแลกเปลี่ยนของผู้ร่วมฟังเสวนา
ซึ่งที่ดินของตนในพื้นที่จังหวัดสระบุรีเป็นดินเหนียวจัด ไม่สามารถปลูกผักได้ จึงได้หาวิธีการปลูกผักใหม่จนได้
แนวคิด “ปลูกด้วยดิน บนแคร่ ในโรงเรือน” ซึ่งหัวใจของการทาเกษตรคือ ดิน ดินต้องปรุงให้เหมาะสม
กับพืชที่ปลูก ซึ่งดินดีต้องเย็น เมื่อปรุงดินได้ที่แล้ว และปลูกในโรงเรือนลดความเสี่ยงที่จะมาจากสภาพ
ภูมิอากาศที่แปรปรวน สามารถวางแผนการปลูกได้ตลอดทั้งปี ปริมาณผลผลิตที่ได้ค่อนข้างแน่นอน
คุณนริชพันธ์ เป็นผลดี นาเสนอในประเด็น “นวัตกรรมโรงเรือนอัจฉริยะ”...ตนเป็นนักวิจัย ไม่มี
ความรู้เกี่ยวกับเกษตรเลย แต่การออกแบบเทคโนโลยีก็ทาให้ต้องเรียนรู้เกี่ยวกับการทาเกษตร และได้นา
เทคโนโลยีที่ตนเองประดิษฐ์ขึ้นมาใช้กับการปลูกมะเขือเทศในโรงเรือน ซึ่งสามารถลดการใช้แรงงานคน
ในช่วงสุดท้ายของการเสวนา ผู้ดาเนินรายการได้ให้ผู้ร่วมเสวนาแลกเปลี่ยนมุมมอง “เกษตรยุค 4.0”
ของแต่ละท่าน โดยผู้ร่วมเสวนาร่วมให้นิยาม “เกษตรยุค 4.0” ว่า คือ ความรู้ การวางแผน และการบริหาร
จัดการ เพราะมองว่าการจะทาเกษตรในยุค 4.0 ให้ประสบความสาเร็จได้นั้นจะต้องมีความรู้รอบด้าน ความรู้
ความเข้าใจเป็นเรื่องสาคัญที่จะนามาช่วยในการวางแผนและบริหารจัดการ สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาได้
ทันเวลา ปัจจุบันพบว่า สภาพภูมิอากาศโลกมีความเปลี่ยนแปลง ความไม่แน่นอนของฤดูกาล ภัยธรรมชาติ
และการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช ดังนั้น เพื่อให้สามารถวางแผนการผลิตได้แน่นอน จึงจาเป็นต้องนา
เทคโนโลยีมาปรับใช้ นอกจากมีโรงเรือนแล้วการปรับปรุงบารุงดินก็เป็นเรื่องสาคัญ ดินต้องเย็นพืชจึงจะงาม
เพราะถ้าหมักดินไม่สมบูรณ์ ปรับปรุงดินไม่เหมาะสมพืชก็ไม่สามารถดูดซึบสารอาหารจากดินไปใช้ในการ
สังเคราะห์แสงได้ ส่งผลต่อการเจริญเติบโต รวมทั้งการรู้จักสังเกต เพื่อสามารถรับมือและป้องกันโรคและ
แมลงศัตรูพืชได้
4
อ.ชุมพลบุรี จ.สุรินทร์ เป็นพื้นที่ที่อยู่ในเขต
พื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ สัตว์น้าในพื้นที่ที่ขึ้นชื่อของ
อาเภอคือ “ปลาไหล” ปลาไหลที่นี่มีรสชาติอร่อย
หลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ชาวบ้านจะออกล่าหาปลาไหล
จังหวัดได้ให้ความสาคัญวิถีชีวิตดังกล่าว จึงได้จัด
งานเทศกาลปลาไหลและข้าวหอมมะลิใหม่เป็น
ประจาทุกปี อีกทั้งปลาไหลในพื้นที่ค่อนข้างหายาก
มากขึ้น ขณะที่มีความต้องการมาก จึงมีพ่อค้ามารับ
ซื้อในพื้นที่ ราคากิโลกรัมละ 120-180 บาท
จากความสาคัญดังกล่าว ฝ่ายถ่ายทอด
เทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน จึงได้หารือกับ
เกษตรกรและชาวบ้านในพื้นที่ และอาจารย์นิชาภา
เฉตระการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ จัดฝึกอบรมการเลี้ยง
ปลาไหลโดยถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงจาก
ชาวบ้านในพื้นที่ที่สามารถเลี้ยงได้แล้วไปสู่ชุมชนใน
พื้นที่ เนื้อหาการอบรมประกอบด้วย ความรู้ทั่วไป
เกี่ยวกับปลาไหล การเพาะเลี้ยงปลาไหล และการ
ทาผลิตภัณฑ์จากปลาไหล การอบรมนี้ได้ฝึก
ปฏิบัติการเลี้ยงปลาไหลในบ่อซีเมนต์ การทาที่อยู่
อาศัยของปลาไหลในรูปแบบต่างๆ
กิจกรรมดังกล่าวมีเกษตรกรเข้าร่วมทั้งหมด
54 ราย และได้ดาเนินการติดตามการนาไปปฏิบัติ
จริงจานวน 4 รายในพื้นที่บ้านวังศิลา และบ้านยาง
ชุม ตาบลศรีณรงค์ อาเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
จากการติดตามผลการเลี้ยงพบว่า หลังจาก
เกษตรกรได้มาฝึกอบรมกับโครงการ มีบางรายสนใจ
เลี้ยงเพื่อเป็นรายได้เสริมและนาไปทดลองเลี้ยงที่
บ้าน โดยขุดหาแหล่งปลาไหลบริเวณใกล้บ้าน เพื่อ
นามาเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ทั้งบ่อเหลี่ยมและวงซีเมนต์
พร้อมทั้งนาดินที่ขุดปลาไหลได้มาใส่ในบ่อเลี้ยงด้วย
ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า “ดินขี้ปลาไหล” หากไม่นาดินที่
ขุดพบปลาไหลมาด้วย ปลาไหลที่นามาเลี้ยงต่อจะมี
อัตรารอดต่ามากหรือตายทั้งหมด
ในบ่อเลี้ยงปลาไหลจะต้องมีดินและน้า
เนื่องจากพฤติกรรมของปลาไหลไม่ชอบอยู่ในน้า
ตลอดเวลา และจาเป็นต้องมีที่ให้ปลาไหลได้ซ่อนตัว
เมื่อเลี้ยงไปช่วงเวลาหนึ่งปลาไหลจะผสมพันธุ์ วางไข่
ฟักเป็นตัว เมื่อในบ่อมีจานวนประชากรปลาไหล
หนาแน่นมากขึ้น จะต้องขยายไปเลี้ยงยังบ่ออื่น โดย
สังเกตจากปลาไหลออกมาจากการซ่อนตัวอยู่ในดิน
ติดตามลงพื้นที่การเลี้ยงปลาไหล อาเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
5
ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน ได้ลงพื้นที่ติดตามเกษตรกรจานวน 4 ราย มี 2 ราย คือ
นายวันชัย กันทรบุตร และนางสายสมร จารุวันโน ที่ประสบความสาเร็จในการเลี้ยง เกษตกรสามารถแยก
เพศได้ และบริหารจัดการการเลี้ยงได้ดี หลังจากเลี้ยงไปแล้วประมาณ 6-7 เดือน ขายได้ประมาณ 30
กิโลกรัม โดยขายกิโลกรัมละ 180-200 บาท
ขณะที่เกษตรกรอีก 2 ราย คือ นางสาราญ สุขสอาด และนายบุญจันทร์ บุญสด ยังประสบปัญหา
เรื่องการเลี้ยงปลาไหล เนื่องจากเลี้ยงแล้วปลาตาย เพราะนาปลาชนิดอื่นไปเลี้ยงร่วมด้วย รวมทั้งไม่ดูแล
จัดการความสะอาดของบ่อเลี้ยง
จากการวิเคราะห์องค์ความรู้ในการถ่ายทอดการเลี้ยงปลาไหลในบ่อซีเมนต์โดยอาจารย์
นิชาภา เฉตระการ ด้วยการใช้ความรู้และความเชี่ยวชาญจากครอบครัวซึ่งเลี้ยงปลาไหลมาเป็นระยะ
เวลานานไม่ต่ากว่า 20 ปี และอาจารย์เป็นคนในพื้นที่เล็งเห็นว่าควรมีการอนุรักษ์วิถีชีวิต จึงมุ่งหวังที่จะ
สนับสนุนให้เกษตรกรหรือชาวบ้านในพื้นที่เกิดรายได้ในครัวเรือน จึงเกิดการฝึกอบรมเพื่อกระตุ้นให้
ชาวบ้านเห็นความสาคัญ โดยการถอดบทเรียนจากสิ่งที่ครอบครัวมีอยู่มาแนะนาและประยุกต์ให้กับ
ชาวบ้านในพื้นที่
6
วันที่ 27 มีนาคม 2561 ณ โรงแรมตะมาลี จ.นครศรีธรรมราช สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เกษตร (สท.) ร่วมกับศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจาภูมิภาค ภาคใต้ (ศวภ.3) และ
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช จัดกิจกรรมให้ความรู้เทคโนโลยี 3 เรื่อง ได้แก่ 1. โรงเรือน
พลาสติกสาหรับการผลิตพืชผักคุณภาพ วิทยากรโดย คุณเลอทีชา เมืองมีศรี ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและ
ชุมชน 2. สารรักษาสภาพน้ายางธรรมชาติไร้แอมโมเนีย วิทยากรโดย คุณนันทินา มูลประสิทธิ์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะ
และวัสดุแห่งชาติ 3. นวัตกรรมถุงหายใจได้ Active PAK ยืดอายุผักผลไม้สด วิทยากรโดย คุณชนิต วานิกานุกูล
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ มีเกษตรกรเข้าร่วมประมาณ 30 คน โดยกลุ่มเกษตรกรที่มาเข้าร่วมส่วนใหญ่
ปลูกผักและได้รับถุงไปทดลองใช้บรรจุผัก จากสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช แต่ยังขาด
ความรู้ความเข้าใจในการแพ็คบรรจุทาให้ผักเสีย ทางวิทยากรจึงให้ความรู้เกี่ยวกับการบรรจุที่ถูกต้อง ข้อจากัดและ
ข้อควรระวัง และจัดถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีโรงเรือน และสารรักษาสภาพน้ายางเพิ่มเติม ซึ่งได้รับความสนใจ
จากเกษตรกร ภาคบ่ายได้ไปเยี่ยมชมวิสาหกิจชุมชนบารอกัตฟาร์มผักไฮโดรโพนิกส์ พร้อมสาธิตการบรรจุผักกับถุง
หายใจได้ พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
สท.ร่วมกับ ศวภ. 3 และสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช ให้ความรู้เกษตรกรในพื้นที่
17
มีนาคม 2561
7
“สวทช.ภาคเหนือ” กับ “บทบาทการถ่ายทอดเทคโนโลยีในพื้นที่ภาคตะวันออก”
ภายใต้โครงการเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi)
เมื่อวันที่ 15-16 กุมภาพันธ์ 2561 สวทช.
ภาคเหนือ ได้ลงพื้นที่พบปะกลุ่มเกษตรกร ชุมชน
หน่วยงานท้องถิ่น และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง
ในพื้นที่จ.ตราด จ.จันทบุรี และจ.ฉะเชิงเทรา เพื่อรวบรวม
ข้อมูลและสร้างความร่วมมือการทางาน โดยได้รับโจทย์
ความต้องการจากเกษตรกร/ชุมชน ได้แก่
กลุ่มลาไยแปลงใหญ่ อ.โป่งน้าร้อน จ.จันทบุรี (ลาไย
ล้นตลาด เกษตรกรต้องการองค์ความรู้การจัดการแปลง
เพื่อผลิตลาไยคุณภาพ ลดค่าใช้จ่ายแรงงานเก็บลาไยและ
การแปรรูปผลิตภัณฑ์ลาไยให้มีมูลค่าสูงขึ้น)
กลุ่มผลิตและแปรรูปสับปะรด บ้านเนินดินแดง
อ.เมือง จ.ตราด (เกษตรกรต้องการองค์ความรู้การผลิต
สับปะรดปลอดภัย และต้องการแปรรูปสับปะรดเป็น
ผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม)
กลุ่มเกษตรกรปากน้าโจ้โล้ อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา
(เกษตรกรต้องการพัฒนาและแปรรูปมะม่วงเป็น
ผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆ เพื่อต่อยอดผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม
เพิ่มช่องทางการจัดจาหน่ายและขยายกลุ่มลูกค้าให้
กว้างขวางขึ้น)
สวทช.ภาคเหนือ ได้วิเคราะห์และจับคู่
เทคโนโลยีที่พร้อมถ่ายทอดสู่ชุมชนและความ
ต้องการของพื้นที่เร่งด่วน จึงได้จัดกิจกรรมอบรม
ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปลาไยเพื่อเพิ่ม
มูลค่า และ การจัดการแปลงเพื่อผลิตลาไย
คุณภาพด้วยวิธีการตัดแต่งกิ่งและควบคุมทรง
พุ่ม” เป็นกิจกรรมแรกในวันที่ 23-24..มีนาคม
2561 ให้กับกลุ่มเกษตรกรและหน่วยงานในพื้นที่
(กลุ่มลาไยแปลงใหญ่ กลุ่ม Young SmartxFarmer
สานักงานเกษตรอาเภอโป่งน้าร้อน และศูนย์
ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประจาภูมิภาค ภาคตะวันออก ศวภ.4) โดยเชื่อมโยง
เทคโนโลยีที่ถ่ายทอดจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้
(วิทยากรโดย ผศ.พาวิน มะโนชัย รองอธิการบดี
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และดร.ชนันท์ภัสร์ ราษฎร์นิยม
รองคณบดี คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยแม่โจ้)
17
มีนาคม 2561
8
ผลการดาเนินงานถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการแปลง
เพื่อผลิตลาไยคุณภาพโดยการตัดแต่งกิ่งและควบคุม
ทรงพุ่ม อ.โป่งน้าร้อน จ.จันทบุรี
เกษตรกรผู้เข้าร่วมอบรม ได้แก่ กลุ่มผู้ปลูกลาไยแปลงใหญ่
อ.โป่งน้าร้อน และเกษตรกรพื้นที่ อ.สอยดาว จ.จันทบุรี ได้รับ
การถ่ายทอดความรู้เทคนิคการตัดแต่งกิ่งลาไย การควบคุม
ทรงพุ่ม รวมทั้งได้สาธิตตัดแต่งทรงสี่เหลี่ยมและทรงฝาชีหงาย
ซึ่งเหมาะกับลาไยที่มีอายุน้อยและปลูกในระยะชิด ในพื้นที่
ตัวอย่างของ ศพก.โป่งน้าร้อน (แปลงสาธิตของประธาน ศพก.)
ส่วนการตัดแต่งทรงเปิดกลางพุ่ม ซึ่งเหมาะกับลาไยอายุเกิน
10.ปี ขึ้นไปและมีลาต้นสูงใหญ่ ดาเนินการในแปลงตัวอย่างของ
เกษตรกรต้นแบบ ม.5 อ.โป่งน้าร้อน
ทั้งนี้ เกษตรกรให้ความสนใจเข้าร่วมอบรมทั้งสิ้น 52 ราย จาก
16 หมู่บ้าน และคาดว่าจะเกิดเกษตรกรแกนนาอย่างน้อย 5-6
รายในพื้นที่ที่นาเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ต่อ ตลอดจนเกิดการ
สร้างเจ้าหน้าที่ส่งเสริม (เกษตรตาบล) เพื่อเป็นวิทยากรร่วม
ขยายผลเทคโนโลยีและผลักดันให้เกิดการจัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้
ของชุมชนในพื้นที่ ศพก.โป่งน้าร้อน ร่วมกับสานักงานเกษตร
อาเภอโป่งน้าร้อนต่อไป
ผลการดาเนินงานถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิต
ภัณฑ์จากลาไย จ.จันทบุรี โดยความร่วมมือกับเครือข่าย
สถาบันการศึกษาในพื้นที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี
เกษตรกรผู้เข้าร่วมอบรม ได้แก่ กลุ่มผลิตและแปรรูปลาไย
อ.โป่งน้าร้อน จานวน 59 ราย จาก 9 หมู่บ้าน ได้รับถ่ายทอด
เทคโนโลยีและสามารถแปรรูปผลิตภัณฑ์ลาไย 4 ชนิด เช่น
ลาไยผงอบแห้งแบบโฟมเมท แยมลาไย เยลลี่ลาไย และ
ลาไยลอยแก้ว เกษตรกรที่เข้าร่วมอบรมวางแผนที่จะนาองค์
ความรู้ที่ได้ไปผลิตผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลาไยของกลุ่ม โดย
ได้รับการสนับสนุนจากสานักงานเกษตรอาเภอโป่งน้าร้อน
การอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี
การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากลาไย
ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
วิทยาเขตจันทบุรี อ.เขาคิชกูฎ จ.จันทบุรี
แผนงานการดาเนินการต่อในพื้นที่
สวทช.ภาคเหนือ จะประสานงานต่อเนื่องกับประธานศูนย์ ศพก.โป่งน้าร้อน ประธานกลุ่ม YSF และเจ้าหน้าที่ส่งเสริม
(เกษตรตาบล) สานักงานเกษตรอาเภอโป่งน้าร้อน จ.จันทบุรี เพื่อให้คาแนะนาและติดตามผลในพื้นที่ รวมทั้งเชื่อมโยงการ
ทางานร่วมกับ ศวภ.4 เพื่อขยายผลการทางานร่วมกันต่อไป ทั้งนี้เทคโนโลยีที่ถ่ายทอดจะถูกนาไปขยายผลต่อในศูนย์
เรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร (ศพก.) ในงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยี (FieldDay) ช่วง
พฤษภาคม 2561xนอกจากนี้ สวทช.ภาคเหนือจะเร่งประสานเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องและเป็นความต้องการของพื้นที่เพื่อ
อบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีในประเด็นอื่นๆ ต่อไป เช่น การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วง การจัดการแปลงเพื่อผลิต
สับปะรดปลอดภัย และการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสับปะรดเพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
9
“ทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่” กลุ่มบ้านหนองเงือก ต.แม่แรง อ.ป่าซาง จ.ลาพูน
การประชุมและการนาเสนอของแกนนากลุ่มฯ
กลุ่ม Young Smart Farmer จังหวัดลาพูน
เกษตรกรกลุ่มบ้านหนองเงือกได้มีการรวมกลุ่มจัดตั้ง
โครงการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการเกษตรรุ่น
ใหม่ เพื่อผลักดันและจุดประกายให้เกิดทายาทเกษตรกรรุ่น
ใหม่ขึ้นในชุมชน โดยดาเนินการคัดเลือกเกษตรกรต้นแบบ
จากเกณฑ์การประเมินเป็น หัวข้อ ได้แก่
1. การปรับเปลี่ยนแนวคิดด้านเกษตร
2. การพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการเกษตรเบื้องต้น
3. การผลักดันให้เป็นธุรกิจเกษตร
4. การเตรียมพร้อมเข้าสู่ตลาดสากล เพื่อสร้างและสนับสนุน
เกษตรกรรุ่นใหม่ ที่นา วทน. ปรับใช้ในอาชีพเกษตรกร และ
เกิดความมั่นคงในอาชีพของตนเอง
ฝ่ายพัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรกรและชุมชน ร่วมกับ
สวทช.ภาคเหนือ ลงพื้นที่บ้านหนองเงือก ต.แม่แรง อ.ป่า
ซาง จ.ลาพูน จัดเวทีให้ข้อมูลการเชื่อมโยงงานทางด้าน วทน.
กับส่วนงานที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดความรู้ และหน่วยงาน
ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อเป็นแหล่งความรู้ในการพัฒนา
รวมถึงการประยุกต์ใช้ วทน. เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่
เหมาะสมในพื้นที่ เช่น การเลือกใช้วัสดุปลูกเมล่อนโดย
พิจารณาวัสดุที่เหมาะสมในพื้นที่และใช้เชื้อจุลินทรีย์ในการ
ปรับสภาพให้เหมาะสม
ซี่ง นายอดิศักดิ์ สุขโต เกษตรกรรุ่นใหม่ ทายาทของ
เกษตรกรในพื้นที่ผู้รับการประเมิน ได้กล่าวถึงการนาความรู้
ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในเรื่องการควบคุมระบบ
น้าหยดและปุ๋ยในโรงเรือนปลูกเมล่อนมาใช้ในอาชีพเกษตรกร
เพื่อลดขั้นตอนในการทางาน เพิ่มเวลาในการเรียนรู้ และ
บริหารจัดการฟาร์ม สร้างเครือข่ายกลุ่มเกษตรกรทั้งภายใน
หมู่บ้านและต่างอาเภอ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลการทางาน และ
ร่วมกันพัฒนาการทาเกษตรด้วย วทน. อย่างต่อเนื่อง
17
มีนาคม 2561
10

More Related Content

Similar to E news-march-2018-final

ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยSomporn Isvilanonda
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนAnantaya
 
การเขียนขอทุนวิจัย2562
การเขียนขอทุนวิจัย2562การเขียนขอทุนวิจัย2562
การเขียนขอทุนวิจัย2562Prachyanun Nilsook
 
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทายอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทายsomporn Isvilanonda
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah102
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTMinistry of Science and Technology
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3Utai Sukviwatsirikul
 
แนะนำ BOI Fair
แนะนำ BOI Fairแนะนำ BOI Fair
แนะนำ BOI FairSMEfriend
 

Similar to E news-march-2018-final (17)

ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
E news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-finalE news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-final
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
 
การเขียนขอทุนวิจัย2562
การเขียนขอทุนวิจัย2562การเขียนขอทุนวิจัย2562
การเขียนขอทุนวิจัย2562
 
20120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-220120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-2
 
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทายอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3
 
แนะนำ BOI Fair
แนะนำ BOI Fairแนะนำ BOI Fair
แนะนำ BOI Fair
 
E news-november-2017-final
E news-november-2017-finalE news-november-2017-final
E news-november-2017-final
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
 

More from นางสาวขวัญธิดา ดงหลง (10)

E news-june-2018-final
E news-june-2018-finalE news-june-2018-final
E news-june-2018-final
 
E news-june-2018-final
E news-june-2018-finalE news-june-2018-final
E news-june-2018-final
 
E news-may-2018-final
E news-may-2018-finalE news-may-2018-final
E news-may-2018-final
 
E news-april-2018-final
E news-april-2018-finalE news-april-2018-final
E news-april-2018-final
 
Agritec book 2017
Agritec book 2017Agritec book 2017
Agritec book 2017
 
Agritec book 2017
Agritec book 2017Agritec book 2017
Agritec book 2017
 
E news-january-2018-final
E news-january-2018-finalE news-january-2018-final
E news-january-2018-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 

E news-march-2018-final

  • 1. มื่อวันที่ 9 – 13 มีนาคม 2561 ที่ผ่านมา สถาบันการจัดการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ร่วมจัดนิทรรศการและสัมมนา ในงานประชุมวิชาการ สวทช. ประจาปี 2561xครั้งที่14x(NSTDA Annual Conference: NAC2018) ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย จ.ปทุมธานี สท. ได้นาเสนอการใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ประยุกต์ใช้จัดการการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าในภาคการเกษตร ภายใต้แนวคิดนาเสนอ “กิน-อยู่ รู้ค่า (Waste Less Save More) เพื่อให้ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ในการขจัดความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร ส่งเสริมเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน (SDG 2: Zero Hunger) และสร้างแผนการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน (SDG 12:Responsible Consumption and Production) โดยนาเสนอเทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องดังนี้ • การเพาะปลูกด้วย "เทคโนโลยีไอที“ • การผลิตปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกองในวงตาข่าย • จุลินทรีย์ย่อยสลายวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร • ผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมจากการแปรรูปข้าว • นวัตกรรมกระดาษฟางข้าวอินทรีย์ผลิตภัณฑ์จากบ้านสามขา • พิรุณ 4 มันสาปะหลังสายพันธุ์ใหม่ • เพิ่มผลผลิตมันสาปะหลัง ลดรายจ่าย รายได้เพิ่ม ใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน • บ้านนาเยีย: มุ่งสู่ชุมชนเกษตร Zero Waste • ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดิน • หนอนแม่โจ้: ผู้เปลี่ยนขยะอินทรีย์สู่อาหารสัตว์โปรตีนสูง • โรงเรือนอัจฉริยะและโรงเรือนเกษตรดิจิทัล (สาหรับเห็ด) นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมทากระถางปลูกผักจากกระดาษฟางข้าว ซึ่งมีผู้สนใจเข้าเยี่ยมชมบูธและร่วมทากิจกรรมเป็นจานวนมาก สท. ร่วมงานประชุมวิชาการ สวทช. ประจาปี 2561 NSTDA Annual Conference : NAC2018 เ 1 17 มีนาคม 2561
  • 2. สท. ยังร่วมจัดสัมมนาในหัวข้อต่างๆ ดังนี้ • เกษตรกรปรับตัวอย่างไรในยุคไทยแลนด์ 4.0 • การบริหารจัดการน้าใต้ดินอย่างยั่งยืน • Smart IOT for Agriculture • โรงเรือนปลูกพืช: ความจาเป็นของเกษตรยุค 4.0 ? • เทคนิคการเลี้ยงหนอนแม่โจ้เพื่อผลิตโปรตีนอาหารสัตว์ • การแยกขยายรังชันโรงด้วยวิธีอย่างง่าย • การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานน้าผึ้งไทย นอกจากนี้ สท. ยังได้จัดกิจกรรม Live ผ่าน Facebook AGRITEC ในหัวข้อ “Smart Technology สาคัญแค่ไหน” และ “เรื่องหนอน หนอน กับการกาจัดขยะอินทรีย์” 2
  • 3. การปลูกพืชในระบบโรงเรือนของประเทศไทย เริ่มใช้กับการปลูกผักที่มาจากต่างแดนและมีราคา แพง แต่จากสภาพภูมิอากาศโลกที่เปลี่ยนแปลง ความไม่แน่นอนของฤดูกาล ภัยธรรมชาติ และการ ระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช ทาให้เกิดความ สูญเสียทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เกษตรกรจึง เริ่มให้ความสนใจการปลูกพืชในระบบโรงเรือนมากขึ้น โดยมองว่าสามารถปลูกพืชในทั้งปี ควบคุมและ ป้องกันโรคและแมลงศัตรูพืชได้ และจะทาให้ได้ผล ผลิตที่มีคุณภาพ • โรงเรือนปลูกพืชจาเป็นแค่ไหนในการทาเกษตรยุค ปัจจุบัน? • จริงหรือไม่ถ้ามีโรงเรือนปลูกพืชแล้ว ได้ผลผลิตที่ดี แน่นอน? • มีโรงเรือนแล้วปลูกพืชได้ทุกชนิด? • โรงเรือนปลูกพืชมีหลากหลายรูปแบบ รูปแบบใด จึงเหมาะสม? ฯลฯ หลากคาถามที่ชวนให้เกษตรกรหาคาตอบ ก่อนที่เกษตรกรจะตัดสินใจลงทุน “โรงเรือนปลูกพืช” สักหลังหนึ่ง สท. โดยฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตร ชุมชน จึงได้จัดกิจกรรมเสวนาเรื่อง “โรงเรือนปลูก พืช: ความจาเป็นของเกษตรยุค 4.0?” ในงาน ประชุมวิชาการประจาปี สวทช. ครั้งที่ 14 (NAC2018) เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2561 ณ อาคารศูนย์ประชุม อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี เพื่อให้ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้มีประสบการณ์ จากการปลูกพืชในระบบโรงเรือนกับผู้ที่สนใจทั่วไป การเสวนาครั้งนี้ มีผู้ร่วมเสวนา 3..ท่าน คือ คุณ พงษ์พัฒน์ แก้วพะเนาว์ ผู้ก่อตั้งสวนแก้วพะเนาว์ และ เป็น Young Smart Farmer จังหวัดมหาสารคาม คุณ ธนิดา ขุนนา กรรมการผู้จัดการบริษัทคลีนฟาร์ม จากัด จังหวัดสระบุรี และคุณนริชพันธ์ เป็นผลดี ผู้ช่วยวิจัยอาวุโส ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (TMEC) และดาเนินรายการ โดยคุณวิลาวัณย์ เอื้อวงศ์ กูล นักวิชาการอิสระ มีผู้เข้าร่วมเสวนา 97 คน ความพึง พอใจจากผู้เข้าร่วมเสวนาร้อยละ 98.78 การเสวนาเริ่มด้วยคุณพงษ์พัฒน์ แก้วพะเนาว์ ได้เล่าถึง “ประสบการณ์งานเกษตรในต่างแดนสู่การ ประยุกต์ใช้ในเมืองไทย” ว่า ตนได้มีโอกาสไปฝึกงานทาง ตอนใต้ของประเทศอิสราเอล ซึ่งมีลักษณะภูมิอากาศ ใกล้เคียงเมืองไทยมาก โดยเฉพาะจังหวัดมหาสารคาม ถิ่นกาเนิดของตน เนื่องจากมีอากาศที่ร้อน ผืนดินเป็น ทะเลทราย แต่ก็ไม่ได้เป็นอุปสรรคต่อการปลูกพืช เพราะมีการนาเทคโนโลยีโรงเรือนมาปรับใช้ และ โรงเรือนที่อิสราเอลใช้จะมีหลากหลายรูปแบบ บนพื้นที่ เกษตรขนาดใหญ่มีทั้งการปลูกพืชในโรงเรือนและนอก โรงเรือน เพื่อประกันความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ เกษตรกรหรือนักลงทุนจะต้องไม่ลืมว่าธุรกิจเกษตรมี ความเสี่ยงเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นสภาพ ภูมิอากาศโลกที่เปลี่ยนแปลง ความไม่แน่นอนของ ฤดูกาล ภัยธรรมชาติ และการระบาดของโรคและแมลง ศัตรูพืช จากนั้น คุณธนิดา ขุนนา เล่าถึง “ปลูกพืชผักใน โรงเรือนช่วยเพิ่มผลผลิตอย่างไร” ...แรกเริ่มตนเป็นคน ชอบทานผักและในช่วงนั้นสุขภาพไม่ค่อยแข็งแรงจึง อยากปลูกผักที่ปลอดภัยไว้ทานเองและมองว่าสามารถ ทาเป็นธุรกิจได้จึงขยับขยายทาเป็นธุรกิจ โรงเรือนปลูกพืช: ความจาเป็นของเกษตรยุค 4.0 ? 3 17 มีนาคม 2561
  • 4. ผู้ร่วมเสวนา บรรยากาศในห้องเสวนา การแลกเปลี่ยนของผู้ร่วมฟังเสวนา ซึ่งที่ดินของตนในพื้นที่จังหวัดสระบุรีเป็นดินเหนียวจัด ไม่สามารถปลูกผักได้ จึงได้หาวิธีการปลูกผักใหม่จนได้ แนวคิด “ปลูกด้วยดิน บนแคร่ ในโรงเรือน” ซึ่งหัวใจของการทาเกษตรคือ ดิน ดินต้องปรุงให้เหมาะสม กับพืชที่ปลูก ซึ่งดินดีต้องเย็น เมื่อปรุงดินได้ที่แล้ว และปลูกในโรงเรือนลดความเสี่ยงที่จะมาจากสภาพ ภูมิอากาศที่แปรปรวน สามารถวางแผนการปลูกได้ตลอดทั้งปี ปริมาณผลผลิตที่ได้ค่อนข้างแน่นอน คุณนริชพันธ์ เป็นผลดี นาเสนอในประเด็น “นวัตกรรมโรงเรือนอัจฉริยะ”...ตนเป็นนักวิจัย ไม่มี ความรู้เกี่ยวกับเกษตรเลย แต่การออกแบบเทคโนโลยีก็ทาให้ต้องเรียนรู้เกี่ยวกับการทาเกษตร และได้นา เทคโนโลยีที่ตนเองประดิษฐ์ขึ้นมาใช้กับการปลูกมะเขือเทศในโรงเรือน ซึ่งสามารถลดการใช้แรงงานคน ในช่วงสุดท้ายของการเสวนา ผู้ดาเนินรายการได้ให้ผู้ร่วมเสวนาแลกเปลี่ยนมุมมอง “เกษตรยุค 4.0” ของแต่ละท่าน โดยผู้ร่วมเสวนาร่วมให้นิยาม “เกษตรยุค 4.0” ว่า คือ ความรู้ การวางแผน และการบริหาร จัดการ เพราะมองว่าการจะทาเกษตรในยุค 4.0 ให้ประสบความสาเร็จได้นั้นจะต้องมีความรู้รอบด้าน ความรู้ ความเข้าใจเป็นเรื่องสาคัญที่จะนามาช่วยในการวางแผนและบริหารจัดการ สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาได้ ทันเวลา ปัจจุบันพบว่า สภาพภูมิอากาศโลกมีความเปลี่ยนแปลง ความไม่แน่นอนของฤดูกาล ภัยธรรมชาติ และการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช ดังนั้น เพื่อให้สามารถวางแผนการผลิตได้แน่นอน จึงจาเป็นต้องนา เทคโนโลยีมาปรับใช้ นอกจากมีโรงเรือนแล้วการปรับปรุงบารุงดินก็เป็นเรื่องสาคัญ ดินต้องเย็นพืชจึงจะงาม เพราะถ้าหมักดินไม่สมบูรณ์ ปรับปรุงดินไม่เหมาะสมพืชก็ไม่สามารถดูดซึบสารอาหารจากดินไปใช้ในการ สังเคราะห์แสงได้ ส่งผลต่อการเจริญเติบโต รวมทั้งการรู้จักสังเกต เพื่อสามารถรับมือและป้องกันโรคและ แมลงศัตรูพืชได้ 4
  • 5. อ.ชุมพลบุรี จ.สุรินทร์ เป็นพื้นที่ที่อยู่ในเขต พื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ สัตว์น้าในพื้นที่ที่ขึ้นชื่อของ อาเภอคือ “ปลาไหล” ปลาไหลที่นี่มีรสชาติอร่อย หลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ชาวบ้านจะออกล่าหาปลาไหล จังหวัดได้ให้ความสาคัญวิถีชีวิตดังกล่าว จึงได้จัด งานเทศกาลปลาไหลและข้าวหอมมะลิใหม่เป็น ประจาทุกปี อีกทั้งปลาไหลในพื้นที่ค่อนข้างหายาก มากขึ้น ขณะที่มีความต้องการมาก จึงมีพ่อค้ามารับ ซื้อในพื้นที่ ราคากิโลกรัมละ 120-180 บาท จากความสาคัญดังกล่าว ฝ่ายถ่ายทอด เทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน จึงได้หารือกับ เกษตรกรและชาวบ้านในพื้นที่ และอาจารย์นิชาภา เฉตระการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ จัดฝึกอบรมการเลี้ยง ปลาไหลโดยถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงจาก ชาวบ้านในพื้นที่ที่สามารถเลี้ยงได้แล้วไปสู่ชุมชนใน พื้นที่ เนื้อหาการอบรมประกอบด้วย ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับปลาไหล การเพาะเลี้ยงปลาไหล และการ ทาผลิตภัณฑ์จากปลาไหล การอบรมนี้ได้ฝึก ปฏิบัติการเลี้ยงปลาไหลในบ่อซีเมนต์ การทาที่อยู่ อาศัยของปลาไหลในรูปแบบต่างๆ กิจกรรมดังกล่าวมีเกษตรกรเข้าร่วมทั้งหมด 54 ราย และได้ดาเนินการติดตามการนาไปปฏิบัติ จริงจานวน 4 รายในพื้นที่บ้านวังศิลา และบ้านยาง ชุม ตาบลศรีณรงค์ อาเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ จากการติดตามผลการเลี้ยงพบว่า หลังจาก เกษตรกรได้มาฝึกอบรมกับโครงการ มีบางรายสนใจ เลี้ยงเพื่อเป็นรายได้เสริมและนาไปทดลองเลี้ยงที่ บ้าน โดยขุดหาแหล่งปลาไหลบริเวณใกล้บ้าน เพื่อ นามาเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ทั้งบ่อเหลี่ยมและวงซีเมนต์ พร้อมทั้งนาดินที่ขุดปลาไหลได้มาใส่ในบ่อเลี้ยงด้วย ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า “ดินขี้ปลาไหล” หากไม่นาดินที่ ขุดพบปลาไหลมาด้วย ปลาไหลที่นามาเลี้ยงต่อจะมี อัตรารอดต่ามากหรือตายทั้งหมด ในบ่อเลี้ยงปลาไหลจะต้องมีดินและน้า เนื่องจากพฤติกรรมของปลาไหลไม่ชอบอยู่ในน้า ตลอดเวลา และจาเป็นต้องมีที่ให้ปลาไหลได้ซ่อนตัว เมื่อเลี้ยงไปช่วงเวลาหนึ่งปลาไหลจะผสมพันธุ์ วางไข่ ฟักเป็นตัว เมื่อในบ่อมีจานวนประชากรปลาไหล หนาแน่นมากขึ้น จะต้องขยายไปเลี้ยงยังบ่ออื่น โดย สังเกตจากปลาไหลออกมาจากการซ่อนตัวอยู่ในดิน ติดตามลงพื้นที่การเลี้ยงปลาไหล อาเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ 5
  • 6. ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน ได้ลงพื้นที่ติดตามเกษตรกรจานวน 4 ราย มี 2 ราย คือ นายวันชัย กันทรบุตร และนางสายสมร จารุวันโน ที่ประสบความสาเร็จในการเลี้ยง เกษตกรสามารถแยก เพศได้ และบริหารจัดการการเลี้ยงได้ดี หลังจากเลี้ยงไปแล้วประมาณ 6-7 เดือน ขายได้ประมาณ 30 กิโลกรัม โดยขายกิโลกรัมละ 180-200 บาท ขณะที่เกษตรกรอีก 2 ราย คือ นางสาราญ สุขสอาด และนายบุญจันทร์ บุญสด ยังประสบปัญหา เรื่องการเลี้ยงปลาไหล เนื่องจากเลี้ยงแล้วปลาตาย เพราะนาปลาชนิดอื่นไปเลี้ยงร่วมด้วย รวมทั้งไม่ดูแล จัดการความสะอาดของบ่อเลี้ยง จากการวิเคราะห์องค์ความรู้ในการถ่ายทอดการเลี้ยงปลาไหลในบ่อซีเมนต์โดยอาจารย์ นิชาภา เฉตระการ ด้วยการใช้ความรู้และความเชี่ยวชาญจากครอบครัวซึ่งเลี้ยงปลาไหลมาเป็นระยะ เวลานานไม่ต่ากว่า 20 ปี และอาจารย์เป็นคนในพื้นที่เล็งเห็นว่าควรมีการอนุรักษ์วิถีชีวิต จึงมุ่งหวังที่จะ สนับสนุนให้เกษตรกรหรือชาวบ้านในพื้นที่เกิดรายได้ในครัวเรือน จึงเกิดการฝึกอบรมเพื่อกระตุ้นให้ ชาวบ้านเห็นความสาคัญ โดยการถอดบทเรียนจากสิ่งที่ครอบครัวมีอยู่มาแนะนาและประยุกต์ให้กับ ชาวบ้านในพื้นที่ 6
  • 7. วันที่ 27 มีนาคม 2561 ณ โรงแรมตะมาลี จ.นครศรีธรรมราช สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม เกษตร (สท.) ร่วมกับศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจาภูมิภาค ภาคใต้ (ศวภ.3) และ สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช จัดกิจกรรมให้ความรู้เทคโนโลยี 3 เรื่อง ได้แก่ 1. โรงเรือน พลาสติกสาหรับการผลิตพืชผักคุณภาพ วิทยากรโดย คุณเลอทีชา เมืองมีศรี ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและ ชุมชน 2. สารรักษาสภาพน้ายางธรรมชาติไร้แอมโมเนีย วิทยากรโดย คุณนันทินา มูลประสิทธิ์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะ และวัสดุแห่งชาติ 3. นวัตกรรมถุงหายใจได้ Active PAK ยืดอายุผักผลไม้สด วิทยากรโดย คุณชนิต วานิกานุกูล ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ มีเกษตรกรเข้าร่วมประมาณ 30 คน โดยกลุ่มเกษตรกรที่มาเข้าร่วมส่วนใหญ่ ปลูกผักและได้รับถุงไปทดลองใช้บรรจุผัก จากสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช แต่ยังขาด ความรู้ความเข้าใจในการแพ็คบรรจุทาให้ผักเสีย ทางวิทยากรจึงให้ความรู้เกี่ยวกับการบรรจุที่ถูกต้อง ข้อจากัดและ ข้อควรระวัง และจัดถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีโรงเรือน และสารรักษาสภาพน้ายางเพิ่มเติม ซึ่งได้รับความสนใจ จากเกษตรกร ภาคบ่ายได้ไปเยี่ยมชมวิสาหกิจชุมชนบารอกัตฟาร์มผักไฮโดรโพนิกส์ พร้อมสาธิตการบรรจุผักกับถุง หายใจได้ พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สท.ร่วมกับ ศวภ. 3 และสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช ให้ความรู้เกษตรกรในพื้นที่ 17 มีนาคม 2561 7
  • 8. “สวทช.ภาคเหนือ” กับ “บทบาทการถ่ายทอดเทคโนโลยีในพื้นที่ภาคตะวันออก” ภายใต้โครงการเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) เมื่อวันที่ 15-16 กุมภาพันธ์ 2561 สวทช. ภาคเหนือ ได้ลงพื้นที่พบปะกลุ่มเกษตรกร ชุมชน หน่วยงานท้องถิ่น และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ในพื้นที่จ.ตราด จ.จันทบุรี และจ.ฉะเชิงเทรา เพื่อรวบรวม ข้อมูลและสร้างความร่วมมือการทางาน โดยได้รับโจทย์ ความต้องการจากเกษตรกร/ชุมชน ได้แก่ กลุ่มลาไยแปลงใหญ่ อ.โป่งน้าร้อน จ.จันทบุรี (ลาไย ล้นตลาด เกษตรกรต้องการองค์ความรู้การจัดการแปลง เพื่อผลิตลาไยคุณภาพ ลดค่าใช้จ่ายแรงงานเก็บลาไยและ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ลาไยให้มีมูลค่าสูงขึ้น) กลุ่มผลิตและแปรรูปสับปะรด บ้านเนินดินแดง อ.เมือง จ.ตราด (เกษตรกรต้องการองค์ความรู้การผลิต สับปะรดปลอดภัย และต้องการแปรรูปสับปะรดเป็น ผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม) กลุ่มเกษตรกรปากน้าโจ้โล้ อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา (เกษตรกรต้องการพัฒนาและแปรรูปมะม่วงเป็น ผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆ เพื่อต่อยอดผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม เพิ่มช่องทางการจัดจาหน่ายและขยายกลุ่มลูกค้าให้ กว้างขวางขึ้น) สวทช.ภาคเหนือ ได้วิเคราะห์และจับคู่ เทคโนโลยีที่พร้อมถ่ายทอดสู่ชุมชนและความ ต้องการของพื้นที่เร่งด่วน จึงได้จัดกิจกรรมอบรม ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปลาไยเพื่อเพิ่ม มูลค่า และ การจัดการแปลงเพื่อผลิตลาไย คุณภาพด้วยวิธีการตัดแต่งกิ่งและควบคุมทรง พุ่ม” เป็นกิจกรรมแรกในวันที่ 23-24..มีนาคม 2561 ให้กับกลุ่มเกษตรกรและหน่วยงานในพื้นที่ (กลุ่มลาไยแปลงใหญ่ กลุ่ม Young SmartxFarmer สานักงานเกษตรอาเภอโป่งน้าร้อน และศูนย์ ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจาภูมิภาค ภาคตะวันออก ศวภ.4) โดยเชื่อมโยง เทคโนโลยีที่ถ่ายทอดจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ (วิทยากรโดย ผศ.พาวิน มะโนชัย รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และดร.ชนันท์ภัสร์ ราษฎร์นิยม รองคณบดี คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้) 17 มีนาคม 2561 8
  • 9. ผลการดาเนินงานถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการแปลง เพื่อผลิตลาไยคุณภาพโดยการตัดแต่งกิ่งและควบคุม ทรงพุ่ม อ.โป่งน้าร้อน จ.จันทบุรี เกษตรกรผู้เข้าร่วมอบรม ได้แก่ กลุ่มผู้ปลูกลาไยแปลงใหญ่ อ.โป่งน้าร้อน และเกษตรกรพื้นที่ อ.สอยดาว จ.จันทบุรี ได้รับ การถ่ายทอดความรู้เทคนิคการตัดแต่งกิ่งลาไย การควบคุม ทรงพุ่ม รวมทั้งได้สาธิตตัดแต่งทรงสี่เหลี่ยมและทรงฝาชีหงาย ซึ่งเหมาะกับลาไยที่มีอายุน้อยและปลูกในระยะชิด ในพื้นที่ ตัวอย่างของ ศพก.โป่งน้าร้อน (แปลงสาธิตของประธาน ศพก.) ส่วนการตัดแต่งทรงเปิดกลางพุ่ม ซึ่งเหมาะกับลาไยอายุเกิน 10.ปี ขึ้นไปและมีลาต้นสูงใหญ่ ดาเนินการในแปลงตัวอย่างของ เกษตรกรต้นแบบ ม.5 อ.โป่งน้าร้อน ทั้งนี้ เกษตรกรให้ความสนใจเข้าร่วมอบรมทั้งสิ้น 52 ราย จาก 16 หมู่บ้าน และคาดว่าจะเกิดเกษตรกรแกนนาอย่างน้อย 5-6 รายในพื้นที่ที่นาเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ต่อ ตลอดจนเกิดการ สร้างเจ้าหน้าที่ส่งเสริม (เกษตรตาบล) เพื่อเป็นวิทยากรร่วม ขยายผลเทคโนโลยีและผลักดันให้เกิดการจัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้ ของชุมชนในพื้นที่ ศพก.โป่งน้าร้อน ร่วมกับสานักงานเกษตร อาเภอโป่งน้าร้อนต่อไป ผลการดาเนินงานถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิต ภัณฑ์จากลาไย จ.จันทบุรี โดยความร่วมมือกับเครือข่าย สถาบันการศึกษาในพื้นที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เกษตรกรผู้เข้าร่วมอบรม ได้แก่ กลุ่มผลิตและแปรรูปลาไย อ.โป่งน้าร้อน จานวน 59 ราย จาก 9 หมู่บ้าน ได้รับถ่ายทอด เทคโนโลยีและสามารถแปรรูปผลิตภัณฑ์ลาไย 4 ชนิด เช่น ลาไยผงอบแห้งแบบโฟมเมท แยมลาไย เยลลี่ลาไย และ ลาไยลอยแก้ว เกษตรกรที่เข้าร่วมอบรมวางแผนที่จะนาองค์ ความรู้ที่ได้ไปผลิตผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลาไยของกลุ่ม โดย ได้รับการสนับสนุนจากสานักงานเกษตรอาเภอโป่งน้าร้อน การอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากลาไย ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี อ.เขาคิชกูฎ จ.จันทบุรี แผนงานการดาเนินการต่อในพื้นที่ สวทช.ภาคเหนือ จะประสานงานต่อเนื่องกับประธานศูนย์ ศพก.โป่งน้าร้อน ประธานกลุ่ม YSF และเจ้าหน้าที่ส่งเสริม (เกษตรตาบล) สานักงานเกษตรอาเภอโป่งน้าร้อน จ.จันทบุรี เพื่อให้คาแนะนาและติดตามผลในพื้นที่ รวมทั้งเชื่อมโยงการ ทางานร่วมกับ ศวภ.4 เพื่อขยายผลการทางานร่วมกันต่อไป ทั้งนี้เทคโนโลยีที่ถ่ายทอดจะถูกนาไปขยายผลต่อในศูนย์ เรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร (ศพก.) ในงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยี (FieldDay) ช่วง พฤษภาคม 2561xนอกจากนี้ สวทช.ภาคเหนือจะเร่งประสานเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องและเป็นความต้องการของพื้นที่เพื่อ อบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีในประเด็นอื่นๆ ต่อไป เช่น การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วง การจัดการแปลงเพื่อผลิต สับปะรดปลอดภัย และการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสับปะรดเพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน 9
  • 10. “ทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่” กลุ่มบ้านหนองเงือก ต.แม่แรง อ.ป่าซาง จ.ลาพูน การประชุมและการนาเสนอของแกนนากลุ่มฯ กลุ่ม Young Smart Farmer จังหวัดลาพูน เกษตรกรกลุ่มบ้านหนองเงือกได้มีการรวมกลุ่มจัดตั้ง โครงการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการเกษตรรุ่น ใหม่ เพื่อผลักดันและจุดประกายให้เกิดทายาทเกษตรกรรุ่น ใหม่ขึ้นในชุมชน โดยดาเนินการคัดเลือกเกษตรกรต้นแบบ จากเกณฑ์การประเมินเป็น หัวข้อ ได้แก่ 1. การปรับเปลี่ยนแนวคิดด้านเกษตร 2. การพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการเกษตรเบื้องต้น 3. การผลักดันให้เป็นธุรกิจเกษตร 4. การเตรียมพร้อมเข้าสู่ตลาดสากล เพื่อสร้างและสนับสนุน เกษตรกรรุ่นใหม่ ที่นา วทน. ปรับใช้ในอาชีพเกษตรกร และ เกิดความมั่นคงในอาชีพของตนเอง ฝ่ายพัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรกรและชุมชน ร่วมกับ สวทช.ภาคเหนือ ลงพื้นที่บ้านหนองเงือก ต.แม่แรง อ.ป่า ซาง จ.ลาพูน จัดเวทีให้ข้อมูลการเชื่อมโยงงานทางด้าน วทน. กับส่วนงานที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดความรู้ และหน่วยงาน ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อเป็นแหล่งความรู้ในการพัฒนา รวมถึงการประยุกต์ใช้ วทน. เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ เหมาะสมในพื้นที่ เช่น การเลือกใช้วัสดุปลูกเมล่อนโดย พิจารณาวัสดุที่เหมาะสมในพื้นที่และใช้เชื้อจุลินทรีย์ในการ ปรับสภาพให้เหมาะสม ซี่ง นายอดิศักดิ์ สุขโต เกษตรกรรุ่นใหม่ ทายาทของ เกษตรกรในพื้นที่ผู้รับการประเมิน ได้กล่าวถึงการนาความรู้ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในเรื่องการควบคุมระบบ น้าหยดและปุ๋ยในโรงเรือนปลูกเมล่อนมาใช้ในอาชีพเกษตรกร เพื่อลดขั้นตอนในการทางาน เพิ่มเวลาในการเรียนรู้ และ บริหารจัดการฟาร์ม สร้างเครือข่ายกลุ่มเกษตรกรทั้งภายใน หมู่บ้านและต่างอาเภอ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลการทางาน และ ร่วมกันพัฒนาการทาเกษตรด้วย วทน. อย่างต่อเนื่อง 17 มีนาคม 2561 10