SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ร่วมจัดงาน “สวทช.-วิทย์สัญจร: วิจัย
เข้มแข็ง เสริมแกร่งภูมิภาค” เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2561 ณ โรงแรมสุนีย์แกรนด์ โฮเทล แอนด์คอน
เ ว น ชั่ น เ ซ็ น เ ต อ ร์
จ.อุบลราชธานี เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยของ สวทช. และเครือข่ายพันธมิตรสู่สังคมให้เกิดการนาไปใช้ประโยชน์
ต่อยอดทั้งในเชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณประโยชน์ รวมทั้งเกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลนาไปสู่โจทย์วิจัยที่ต้องพัฒนา
และเกิดความร่วมมือระหว่าง สวทช. กับเครือข่ายพันธมิตรต่างๆ
สวทช. – วิทย์สัญจร 2561 “วิจัยเข้มแข็ง เสริมแกร่งภูมิภาค”
20
มิถุนายน
2561
1
การจัดงานในครั้งนี้สวทช. ได้มอบโล่เชิดชูเกียรติ “วิทย์แปงบ้าน อีสานแปงเมือง” ให้บุคคลที่
นาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสู่การใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม สร้างผลกระทบ
เชิงเศรษฐกิจและสังคม สาหรับสาขาพัฒนาสังคมและพัฒนาเศรษฐกิจ
สาขาพัฒนาสังคม ได้แก่ นายปิยะทัศน์ ทัศนิยม ประธานกลุ่มวิสาหกิจเกษตรอินทรีย์บ้านหนองมัง เกษตรกร
ผู้มีคุณสมบัติเป็นนักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการที่ไม่เคยหยุดเรียนรู้บนเส้นทางอาชีพเกษตรกร ยกระดับการทาเกษตร
อินทรีย์ด้วยความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ใช้ร่วมกับภูมิปัญญาชาวบ้าน เติมเต็มด้วยเทคโนโลยี ผลักดันแนวคิด
ส่งต่อความรู้สู่สมาชิกกลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านหนองมัง และร่วมกันกระจายความรู้สู่สังคมเกษตรผ่าน “ศูนย์เรียนรู้
วิสาหกิจเกษตรอินทรีย์ตาบลโนนกลาง” เกิดเครือข่ายเกษตรอินทรีย์หลายพื้นที่ทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สาขาพัฒนาเศรษฐกิจ ได้แก่ นายพฤฒิ เกิดชูชื่น กรรมการผู้จัดการและผู้ก่อตั้ง บริษัท แดรี่โฮม จากัด
ผู้ริเริ่มโครงการอนุรักษ์ลาน้ามวกเหล็ก เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสานึกของชาวมวกเหล็กให้ร่วมกันรักษาลาน้าให้
สะอาดสมกับเป็นแหล่งท่องเที่ยวและเป็นต้นน้าสาคัญของแม่น้าป่ าสัก และเป็นผู้ผลักดันและจัดตั้งกลุ่มโคนม
อินทรีย์ให้เกษตรกรในบริเวณโดยรอบบริษัทฯ ดาเนินกิจการโคนมแบบเกษตรอินทรีย์ นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยร่วมกับ
ITAP และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ผลิต “นมก่อนนอนที่มีเมลาโทนินสูง” และโครงการโรงงานสีเขียว นามา
ความร้อนเหลือทิ้งจากการทาความเย็นในห้องเย็นมาใช้กระบวนการผลิตนมพร้อมดื่ม และกระบวนการบาบัดขยะ
ตลอดจนน้าเสียให้สามารถนากลับมาใช้ใหม่
กิจกรรมภายในงานประกอบด้วยการสัมมนาและนิทรรศการผลงานของ สวทช. ซึ่ง สท. ได้จัดเวทีเสวนา
“เกษตรกรรุ่นใหม่ ก้าวไกลด้วยวิทยาศาสตร ์เทคโนโลยี และนวัตกรรม” โดยเป็น
เวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทาเกษตรยุคใหม่จากเกษตรกร 3 ท่าน ได้แก่ คุณปิ ยะทัศน์ ทัศนิยม ผู้
ผสานอุดมการณ์ วิชาการ และประสบการณ์การทาเกษตรอินทรีย์ด้วยนวัตกรรม คุณสุจิตรา จันทะศิลา จาก
มหาบัณฑิตสู่เกษตรกรผู้ปลูกพริกแปลงใหญ่ พลิกตารา พริกเผ็ด ป้อนอุตสาหกรรม และคุณพงษ์พัฒน์ แก้ว
พะเนาว์เกษตรกรรุ่นใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการทาเกษตร
สท. ได้นาผลงานวิจัยและนวัตกรรมด้านการเกษตรในโซนวิทย์เพื่อชุมชน ได้แก่ เทคโนโลยีด้านสิ่ง
ทอ เป็นผลงานที่สวทช. ได้พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มคุณภาพผ้าทอพื้นเมืองตั้งแต่กระบวนการผลิตเส้นใย การ
ออกแบบ จนถึงการเพิ่มคุณสมบัติพิเศษ ไม่ว่าจะเป็นการใช้เอนไซม์ ENZease”(เอนอีซ) ในกระบวนการเตรียมผ้า
ฝ้าย โดยลอกแป้งและกาจัดสิ่งสกปรกในขั้นตอนเดียว การผลิตสีผงธรรมชาติจากพืชในท้องถิ่น การเตรียมสีธรรมชาติ
สาหรับแม่พิมพ์จากวัสดุในท้องถิ่น และการเพิ่มคุณสมบัติพิเศษผ้าทอพื้นเมืองตั้งแต่ระดับเส้นใยจนถึงผลิตภัณฑ์ด้วย
นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีโรงเรือนพลาสติกสาหรับการผลิตพืชคุณภาพ ด้วยการ
ออกแบบโครงสร้างที่ทาให้ระบบไหลเวียนอากาศภายในโรงเรือนเหมาะสมต่อการปลูกพืช รวมถึงการบริหารจัดการใน
โรงเรือนทั้งดิน น้า ปุ๋ ยที่เหมาะสม ช่วยให้เกษตรกรปลูกพืชผักได้ตลอดปี เทศโนโลยีสารชีวภัณฑ์กาจัด
แ ม ล ง ศั ต รู พื ช อ า ทิ
ราบิวเวอเรีย ไวรัสเอ็นพีวี และเทคโนโลยีอื่นๆ อาทิ Active PAK บรรจุภัณฑ์หายใจได้ การผลิตปุ๋ ยหมักแบบไม่พลิก
กลับกอง การผลิตพืชหลังนาถั่วเขียวและงา ธนาคารน้าใต้ดิน ชันโรง นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑ์จากการแปรรูปงา เช่น.
ผลไม้เคลือบช็อกโกแลตฟองดูโรยงา ขนมเปี๊ยะงา แครกเกอร์งา น้าข้าวโพดงาดา
2
เมื่อวันที่ 6–8 มิถุนายน 2561 สท. ได้ร่วมจัดสัมมนา
และนิทรรศการในงาน SIMA ASEAN Thailand
2018 งานแสดงสินค้าเพื่ออุตสาหกรรมการเกษตรระดับ
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ครั้งที่ 4 ณ อาคาร 3–4 ศูนย์
แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพค เมืองทองธานี โดยจัดแสดง
ผลงานวิจัยเมล็ดพันธุ์พืชผักอินทรีย์และตัวอย่างเมล็ดพันธุ์จาก
การพัฒนาสายพันธุ์ โดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น การปลูกพืชในโรงเรือนพลาสติกเพื่อ
ผลิตพืชคุณภาพ การยืดอายุพืชผักผลไม้ด้วย ActivePAK
บรรจุภัณฑ์หายใจได้ และการปลูกพืชในระบบโรงเรือนอัจฉริยะ
นอกจากนี้ได้จัดสัมมนาในหัวข้อ “การอนุรักษ์
พันธุกรรมพืชและการผลิตเมล็ดพันธุ ์ผัก
ไว้ใช้เอง” ซึ่งได้รับเกียรติจาก ผศ.ฉันทนา วิชรัตน์ สาขา
พืชผัก คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการผลิตพืชผักอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
เป็นวิทยากร
SIMA ASEAN Thailand 2018
3
ปัญหาอุทกภัยเกิดขึ้นเป็นประจาเกือบทุกปีใน
พื้นที่การเพาะปลูกของจังหวัดพัทลุง ส่งผลให้พืชผล
ทางการเกษตรโดยเฉพาะนาข้าวได้รับความเสียหาย
สวทช. ได้ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่เพื่อหาแนว
ทางแก้ไข
ปี 2558 สวทช. ได้สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ข้าว
หอมชลสิทธิ์ ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่มีคุณสมบัติทน
น้าท่วมได้นาน 2-3 สัปดาห์ แก่กลุ่มเกษตรกร “บ้าน
คอกวัว: หมู่บ้านข้าวหอมชลสิทธิ์” ซึ่งได้ยกระดับเป็น
หมู่บ้านแม่ข่ายหมู่บ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมชลสิทธิ์ ต่อมา
ได้ขยายผลไปยังหมู่บ้านลูกข่ายคือ บ้านโคกฉิ่ง แต่ยัง
ประสบปัญหามาตรฐานการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว สวทช.
โดย สท. จึงได้หารือร่วมกับผู้นาชุมชนเพื่อจัดทาแปลง
สาธิตการผลิตเมล็ดพันธุ์ผ่านการถ่ายทอดเทคโนโลยีการ
ผลิตเมล็ดพันธุ์ให้กลุ่มเกษตรกรต.ชัยบุรี อ.เมือง จ.
พัทลุง เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวอย่าง
ถูกวิธีและมีคุณภาพ
เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2561 ที่ผ่านมา สท. ได้ร่วมกับเครือข่ายเกษตรกรและหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ องค์การ
บริหารส่วนจังหวัดพัทลุง ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวพัทลุง ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาพัทลุง
องค์การบริหารส่วนตาบลชัยบุรี ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจาภูมิภาคภาคใต้
(ศวภ. 3) และสภาเกษตรเกษตรจังหวัดพัทลุง ร่วมกันจัดกิจกรรมเปิดแปลงสาธิต “การผลิตเมล็ดพันธุ ์
ข้าวหอมชลสิทธิ์” เพื่อส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมชลสิทธิ์ ตลอดจนเป็น
แหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์และแปลงต้นแบบสาธิตให้กับเกษตรในพื้นที่และชุมชนอื่นต่อไป รวมทั้งส่งมอบเมล็ดพันธุ์ข้าว
หอมชลสิทธิ์ให้นายปรีชา อ่อนรักษ์ ประธานกลุ่มฯ จานวน 200 กิโลกรัม
เปิ ดแปลงสาธิต “เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ ์ข้าวหอมชลสิทธิ์”
ณ แปลงนาบ้านโคกฉิ่ง ต.ชัยบุรี อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง
20
มิถุนายน
2561
4
แปลงสาธิต ม.11 บ้านโคกฉิ่ง ต.ชัยบุรี อ.เมือง
จ.พัทลุง นาร่องคนละ 5 ไร่
นายวิสุทธิ์ ธรรมเพชร
นายก อบจ.พัทลุง เป็นประธานเปิดงาน
น.ส.กัลยารัตน์ รัตนะจิตร
รก.ผอ.ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ สท.
ส่งมอบเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมชลสิทธิ์
5
แผนโปรแกรมวิจัยและพัฒนามันสาปะหลัง
หนึ่งในแผนกลยุทธ์การดาเนินงานของคลัสเตอร์
เกษตรและอาหาร ได้กาหนดการแก้ไขปัญหา
มันสาปะหลังของประเทศตลอดห่วงโซ่มูลค่าเพิ่ม เพื่อ
เป็นแนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ อย่างเป็น
ระบบ และสนับสนุนให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ที่มีมูลค่า
สูง เพิ่มรายได้และสร้างชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีให้แก่
เกษตรกร ส่งผลให้มูลค่าทางเศรษฐกิจของประเทศ
เพิ่มขึ้น ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและเกิดผล
กระทบอย่างสูงต่ออุตสาหกรรมมันสาปะหลังและ
เศรษฐกิจของประเทศ
การขยายผลภารกิจเพิ่มปริมาณและคุณภาพ
ผลผลิตมันสาปะหลังเป็นส่วนหนึ่งของการยกระดับ
ของการผลิตมันสาปะหลัง โดยการสร้างแปลงต้นแบบ
การเรียนรู้ในการนาเทคโนโลยีบริหารจัดการและ
ขยายผลไปยังกลุ่มเกษตรกรต่อไป
ดังนั้น ฤดูปลูกในปี 2558/59 สวทช.
กรมวิชาการเกษตร และกรมพัฒนาที่ดินได้ร่วม
ดาเนินงานถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตมัน
สาปะหลัง ได้แก่ การใช้ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน การ
เลือกพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ และการจัดการดินอย่าง
ถูกวิธี นอกจากนี้ยังจัดทาแปลงเรียนรู้มันสาปะหลังใน
พื้นที่ตาบลวังชะพลู อาเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัด
กาแพงเพชร จานวน 1 แปลง คือแปลงของนายศรีโพธิ์
ขยันการนาวี เพื่อขยายผลการเพิ่มประสิทธิภาพการ
ผลิตมันสาปะหลัง และใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนใน
พื้นที่จังหวัดกาแพงเพชร และต่อมาในฤดูปลูก
2559/60 ได้ดาเนินงานขยายผลต่อเนื่องด้วยโครงการ
“การประกวดการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมัน
สาปะหลัง” ร่วมกับ บริษัท ธนวัฒน์ กรุ๊ป เพื่อยกระดับ
ผลผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกมันสาปะหลังในพื้นที่
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสาปะหลัง จังหวัดกาแพงเพชร
20
มิถุนายน
2561
6
เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2561 ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่ากระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ได้เยี่ยมชมแปลงเรียนรู้ของนายศรีโพธิ์ ขยันการนาวี ณ โรงเรียนบ้านห้วยแก้วสามัคคีธรรม ตาบลวังชะพลู
อาเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกาแพงเพชร ซึ่งเกษตรกรได้เล่าว่า หลังจากที่ปรับการจัดการแปลงปลูกตาม
หลักวิชาการ นาความรู้ตามหลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาปรับใช้ อาทิ คัดเลือกพันธุ์ที่เหมาะสม การ
จัดการดิน การใช้ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน การใช้ระบบน้าหยด และการใช้สารชีวภัณฑ์ควบคุมโรคและแมลง
ทาให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็นเฉลี่ย 5xตันต่อไร่ จากเดิม 2xตันต่อไร่
นอกจากนี้รัฐมนตรีฯ ยังได้พบปะเกษตรกรที่ชนะเลิศการประกวดมันสาปะหลังประเภทปลูกอาศัยน้าฝน
คือ นางจาปี ศรีนิล ได้ผลผลิตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 4 ตันต่อไร่ เป็น 4.8 ตันต่อไร่ และเกษตรกรชนะเลิศประเภท
ปลูกอาศัยน้าหยด คือ นายสังวาลย์ คชไกร ได้ผลผลิตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 5 ตันต่อไร่ เป็น 7 ตันต่อไร่ ซึ่ง
ปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้เป็นตัวอย่างและขยายผลแก่เกษตรกรรายอื่นๆ ในพื้นที่ให้มีความตระหนัก
ถึงการดูแลและจัดการอย่างถูกต้องมากยิ่งขึ้นอีกด้วย
นายศรีโพธิ์ขยันการนาวี และผู้แทนหน่วยงาน ถ่ายภาพร่วมกัน
และให้ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมของแปลงเรียนรู ้
ดร. สุวิทย์เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร ์และ
เทคโนโลยี
เยี่ยมชมแปลงเรียนรู ้ของ นายศรีโพธิ์ขยันการนาวี
7
มะม่วง หนึ่งในไม้ผลเศรษฐกิจ นิยมปลูกเพื่อการค้า และเพื่อการส่งออก การเพิ่มขึ้นทั้งพื้นที่ปลูก
และปริมาณผลผลิต เกษตรกรและผู้ประกอบการมีความต้องการเทคโนโลยี การจัดการการผลิต และการ
เพิ่มมูลค่าที่หลากหลาย สวทช.ภาคเหนือ ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้และหอการค้าจังหวัดฉะเชิงเทรา จึงได้
จัดกิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่อง “การแปรรูปมะม่วง” เพื่อขยายระยะเวลาการจาหน่ายและการบริโภค
มะม่วงน้าดอกไม้ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทราในช่วงที่ผลผลิตมีปริมาณมาก โดยมีเป้าหมายการแปรรูปที่
หลากหลายเพื่อเชื่อมโยงกับกิจกรรมต่างๆ ในพื้นที่ เช่น การท่องเที่ยว อุตสาหกรรมขนมหวาน เป็นต้น
การแปรรูปมะม่วงผง โดยการทาแห้งแบบโฟมแมท (Foam.Mat.Drying) ปั่น
มะม่วงให้เป็นโฟมที่คงตัว กักอากาศไว้ภายใน โดยใช้ไข่ขาวเป็นสารที่ทาให้เกิดโฟมและช่วยโฟมคงตัว นาไป
อบแห้งแล้วขูดเป็นเกล็ด บีบให้แตกเป็นผง ซึ่งข้อดีของการทาให้อาหารเกิดเป็นโฟมก่อนคือ เพิ่มอัตราการทา
แห้งของอาหารให้เร็วขึ้น ทาให้อาหารสัมผัสกับความร้อนได้ดีขึ้นและทาให้แห้งในระยะเวลาที่สั้นลง ซึ่งช่วย
ลดการสูญเสียคุณภาพอาหาร โดยเฉพาะกลิ่นรสของอาหาร
ผลจากการแปรรูปมะม่วงสดเป็นมะม่วงผงด้วยกระบวนการโฟมแมทได้เนื้อมะม่วง 100% นี้กลุ่ม
วิสาหกิจชุมชนแม่บุญมี ซึ่งเข้าร่วมกิจกรรมนาไปประยุกต์เป็น “ผงมะม่วงในขนมหมี่กรอบ”
ซึ่งเป็นสินค้า OTOP ขึ้นชื่อของอาเภอบางคล้า เป็นสูตรใหม่ได้นาไปทดสอบตลาด ออกงานแสดงสินค้าใน
งานแถลงข่าวโครงการพลิก SME สู่อนาคตด้วยนวัตกรรม และงานเกษตรปลอดภัยและของดีเมืองแปดริ้ว
ซึ่งได้รับการตอบรับอย่างดี
นอกจากมะม่วงผงแล้ว ยังมีการแปรรูปเป็นมะม่วงทองม้วนและแยมมะม่วง ซึ่งมีกระบวนการผลิต
ไม่ยุ่งยาก สามารถดาเนินการได้ในระดับชุมชน โดยมีการแนะนาความรู้ความเข้าใจเรื่องวิทยาศาสตร์การ
ถนอมอาหาร การใช้เพคตินที่สกัดได้จากผลไม้เป็นตัวทาให้เกิดเจล การใช้กรดเพื่อยืดอายุ เพื่อความอยู่ตัว
ของเจล สัดส่วนที่เหมาะสม การทดสอบรสชาติ ตลอดจนการผลิตที่สอดคล้องกับมาตรฐานการผลิตที่ดี
GMP เป็นต้น
กระบวนการจัดการการผลิตและแปรรูปมะม่วงอย่างครบวงจร ตอนที่ 2
20
มิถุนายน
2561
8
ประชุมหารือแนวทางความร่วมมือกับโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
ว่านแร้งคอคา
20
มิถุนายน
2561
9
ประดู่ทุ่ง
เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2561 สถาบันการจัดการเทคโนโลยี
และนวัตกรรมเกษตร (สท.) ร่วมกับคณะอาจารย์มหาวิทยาลัย
แม่โจ้ ร่วมประชุมหารือแนวทางความร่วมมือกับโรงพยาบาล
เจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ
เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และพระนางเจ้าสุวัทนา
พระวรราชเทวี ซึ่งเป็นโรงพยาบาลศูนย์ประจาจังหวัดปราจีนบุรี และ
เป็นโรงพยาบาลนาร่องเรื่องการแพทย์แผนไทย ใช้สมุนไพร
บาบัดรักษาโรค แปรรูปสมุนไพรไทยเป็นเวชภัณฑ์และเครื่องสาอาง
ปัจจุบันทางมูลนิธิฯ มีแผนจะเปิดศูนย์เรียนรู้ต้นทางที่อ.หาดยาง เป็นศูนย์เรียนรู้ที่ครบวงจรทั้งด้าน
งานวิจัย กระบวนการปลูก การขยายพันธุ์ การแยกสรรพคุณ สารสกัด การแปรรูป และการเก็บรักษา
เพื่อยกระดับสมุนไพรไทย นอกจากนี้ยังอยู่ระหว่างศึกษาวิจัยสมุนไพรพันธุ์พื้นบ้านที่หายาก ได้แก่ ว่านแร้งคอ
คา และประดู่ทุ่ง พร้อมทั้งรวบรวมสมุนไพรพันธุ์พื้นบ้านจากทั่วประเทศ
นอกจากเรื่องสมุนไพรแล้ว มูลนิธิฯ ยังส่งเสริมให้ชุมชนปลูกแตงกวาผลิตส่งให้มูลนิธิฯ เพื่อนามาสกัด
สารสาคัญสาหรับผลิตเครื่องสาอาง โดยขอรับสนับสนุนเมล็ดพันธุ์แตงกวาคุณภาพจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อ
นามากระจายให้ชุมชนปลูก เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและมีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการ และเกษตร
สามารถเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้เพาะปลูกในรอบต่อไป
เบื้องต้น สท. และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ร่วมหารือแนวทางความร่วมมือกับมูลนิธิฯ ในการขอความ
ร่วมมือจากภาครัฐเพื่อมาสนับสนุนการทาวิจัยในสมุนไพรที่ต้องการสารสาคัญ และสมุนไพรที่หายาก รวมถึง
การรวบรวมจัดเก็บที่ธนาคารทรัพยากรชีวภาพ (Bio bank) ในอนาคต

More Related Content

Similar to E news-june-2018-final

NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2560
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนวิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
piyapornnok
 
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
Somporn Isvilanonda
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
somporn Isvilanonda
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Similar to E news-june-2018-final (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2560
 
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนวิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562
 
E news-aimi-july 2017.final
E news-aimi-july 2017.finalE news-aimi-july 2017.final
E news-aimi-july 2017.final
 
E news-aimi-augsut-2017
E news-aimi-augsut-2017E news-aimi-augsut-2017
E news-aimi-augsut-2017
 
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
 
เรื่องเล่าข่าว สท. ประจำเดือนมิถุนายน 2560
เรื่องเล่าข่าว สท. ประจำเดือนมิถุนายน 2560เรื่องเล่าข่าว สท. ประจำเดือนมิถุนายน 2560
เรื่องเล่าข่าว สท. ประจำเดือนมิถุนายน 2560
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
Ku 54
Ku 54Ku 54
Ku 54
 
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
 
1
11
1
 
E news-april-2018-final
E news-april-2018-finalE news-april-2018-final
E news-april-2018-final
 

More from นางสาวขวัญธิดา ดงหลง (10)

E news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-finalE news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-final
 
E news-may-2018-final
E news-may-2018-finalE news-may-2018-final
E news-may-2018-final
 
Agritec book 2017
Agritec book 2017Agritec book 2017
Agritec book 2017
 
Agritec book 2017
Agritec book 2017Agritec book 2017
Agritec book 2017
 
E news-march-2018-final
E news-march-2018-finalE news-march-2018-final
E news-march-2018-final
 
E news-january-2018-final
E news-january-2018-finalE news-january-2018-final
E news-january-2018-final
 
E news-november-2017-final
E news-november-2017-finalE news-november-2017-final
E news-november-2017-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 

E news-june-2018-final

  • 1. สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ร่วมจัดงาน “สวทช.-วิทย์สัญจร: วิจัย เข้มแข็ง เสริมแกร่งภูมิภาค” เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2561 ณ โรงแรมสุนีย์แกรนด์ โฮเทล แอนด์คอน เ ว น ชั่ น เ ซ็ น เ ต อ ร์ จ.อุบลราชธานี เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยของ สวทช. และเครือข่ายพันธมิตรสู่สังคมให้เกิดการนาไปใช้ประโยชน์ ต่อยอดทั้งในเชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณประโยชน์ รวมทั้งเกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลนาไปสู่โจทย์วิจัยที่ต้องพัฒนา และเกิดความร่วมมือระหว่าง สวทช. กับเครือข่ายพันธมิตรต่างๆ สวทช. – วิทย์สัญจร 2561 “วิจัยเข้มแข็ง เสริมแกร่งภูมิภาค” 20 มิถุนายน 2561 1 การจัดงานในครั้งนี้สวทช. ได้มอบโล่เชิดชูเกียรติ “วิทย์แปงบ้าน อีสานแปงเมือง” ให้บุคคลที่ นาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสู่การใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม สร้างผลกระทบ เชิงเศรษฐกิจและสังคม สาหรับสาขาพัฒนาสังคมและพัฒนาเศรษฐกิจ สาขาพัฒนาสังคม ได้แก่ นายปิยะทัศน์ ทัศนิยม ประธานกลุ่มวิสาหกิจเกษตรอินทรีย์บ้านหนองมัง เกษตรกร ผู้มีคุณสมบัติเป็นนักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการที่ไม่เคยหยุดเรียนรู้บนเส้นทางอาชีพเกษตรกร ยกระดับการทาเกษตร อินทรีย์ด้วยความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ใช้ร่วมกับภูมิปัญญาชาวบ้าน เติมเต็มด้วยเทคโนโลยี ผลักดันแนวคิด ส่งต่อความรู้สู่สมาชิกกลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านหนองมัง และร่วมกันกระจายความรู้สู่สังคมเกษตรผ่าน “ศูนย์เรียนรู้ วิสาหกิจเกษตรอินทรีย์ตาบลโนนกลาง” เกิดเครือข่ายเกษตรอินทรีย์หลายพื้นที่ทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สาขาพัฒนาเศรษฐกิจ ได้แก่ นายพฤฒิ เกิดชูชื่น กรรมการผู้จัดการและผู้ก่อตั้ง บริษัท แดรี่โฮม จากัด ผู้ริเริ่มโครงการอนุรักษ์ลาน้ามวกเหล็ก เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสานึกของชาวมวกเหล็กให้ร่วมกันรักษาลาน้าให้ สะอาดสมกับเป็นแหล่งท่องเที่ยวและเป็นต้นน้าสาคัญของแม่น้าป่ าสัก และเป็นผู้ผลักดันและจัดตั้งกลุ่มโคนม อินทรีย์ให้เกษตรกรในบริเวณโดยรอบบริษัทฯ ดาเนินกิจการโคนมแบบเกษตรอินทรีย์ นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยร่วมกับ ITAP และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ผลิต “นมก่อนนอนที่มีเมลาโทนินสูง” และโครงการโรงงานสีเขียว นามา ความร้อนเหลือทิ้งจากการทาความเย็นในห้องเย็นมาใช้กระบวนการผลิตนมพร้อมดื่ม และกระบวนการบาบัดขยะ ตลอดจนน้าเสียให้สามารถนากลับมาใช้ใหม่
  • 2. กิจกรรมภายในงานประกอบด้วยการสัมมนาและนิทรรศการผลงานของ สวทช. ซึ่ง สท. ได้จัดเวทีเสวนา “เกษตรกรรุ่นใหม่ ก้าวไกลด้วยวิทยาศาสตร ์เทคโนโลยี และนวัตกรรม” โดยเป็น เวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทาเกษตรยุคใหม่จากเกษตรกร 3 ท่าน ได้แก่ คุณปิ ยะทัศน์ ทัศนิยม ผู้ ผสานอุดมการณ์ วิชาการ และประสบการณ์การทาเกษตรอินทรีย์ด้วยนวัตกรรม คุณสุจิตรา จันทะศิลา จาก มหาบัณฑิตสู่เกษตรกรผู้ปลูกพริกแปลงใหญ่ พลิกตารา พริกเผ็ด ป้อนอุตสาหกรรม และคุณพงษ์พัฒน์ แก้ว พะเนาว์เกษตรกรรุ่นใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการทาเกษตร สท. ได้นาผลงานวิจัยและนวัตกรรมด้านการเกษตรในโซนวิทย์เพื่อชุมชน ได้แก่ เทคโนโลยีด้านสิ่ง ทอ เป็นผลงานที่สวทช. ได้พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มคุณภาพผ้าทอพื้นเมืองตั้งแต่กระบวนการผลิตเส้นใย การ ออกแบบ จนถึงการเพิ่มคุณสมบัติพิเศษ ไม่ว่าจะเป็นการใช้เอนไซม์ ENZease”(เอนอีซ) ในกระบวนการเตรียมผ้า ฝ้าย โดยลอกแป้งและกาจัดสิ่งสกปรกในขั้นตอนเดียว การผลิตสีผงธรรมชาติจากพืชในท้องถิ่น การเตรียมสีธรรมชาติ สาหรับแม่พิมพ์จากวัสดุในท้องถิ่น และการเพิ่มคุณสมบัติพิเศษผ้าทอพื้นเมืองตั้งแต่ระดับเส้นใยจนถึงผลิตภัณฑ์ด้วย นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีโรงเรือนพลาสติกสาหรับการผลิตพืชคุณภาพ ด้วยการ ออกแบบโครงสร้างที่ทาให้ระบบไหลเวียนอากาศภายในโรงเรือนเหมาะสมต่อการปลูกพืช รวมถึงการบริหารจัดการใน โรงเรือนทั้งดิน น้า ปุ๋ ยที่เหมาะสม ช่วยให้เกษตรกรปลูกพืชผักได้ตลอดปี เทศโนโลยีสารชีวภัณฑ์กาจัด แ ม ล ง ศั ต รู พื ช อ า ทิ ราบิวเวอเรีย ไวรัสเอ็นพีวี และเทคโนโลยีอื่นๆ อาทิ Active PAK บรรจุภัณฑ์หายใจได้ การผลิตปุ๋ ยหมักแบบไม่พลิก กลับกอง การผลิตพืชหลังนาถั่วเขียวและงา ธนาคารน้าใต้ดิน ชันโรง นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑ์จากการแปรรูปงา เช่น. ผลไม้เคลือบช็อกโกแลตฟองดูโรยงา ขนมเปี๊ยะงา แครกเกอร์งา น้าข้าวโพดงาดา 2
  • 3. เมื่อวันที่ 6–8 มิถุนายน 2561 สท. ได้ร่วมจัดสัมมนา และนิทรรศการในงาน SIMA ASEAN Thailand 2018 งานแสดงสินค้าเพื่ออุตสาหกรรมการเกษตรระดับ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ครั้งที่ 4 ณ อาคาร 3–4 ศูนย์ แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพค เมืองทองธานี โดยจัดแสดง ผลงานวิจัยเมล็ดพันธุ์พืชผักอินทรีย์และตัวอย่างเมล็ดพันธุ์จาก การพัฒนาสายพันธุ์ โดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การปลูกพืชในโรงเรือนพลาสติกเพื่อ ผลิตพืชคุณภาพ การยืดอายุพืชผักผลไม้ด้วย ActivePAK บรรจุภัณฑ์หายใจได้ และการปลูกพืชในระบบโรงเรือนอัจฉริยะ นอกจากนี้ได้จัดสัมมนาในหัวข้อ “การอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชและการผลิตเมล็ดพันธุ ์ผัก ไว้ใช้เอง” ซึ่งได้รับเกียรติจาก ผศ.ฉันทนา วิชรัตน์ สาขา พืชผัก คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการผลิตพืชผักอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นวิทยากร SIMA ASEAN Thailand 2018 3
  • 4. ปัญหาอุทกภัยเกิดขึ้นเป็นประจาเกือบทุกปีใน พื้นที่การเพาะปลูกของจังหวัดพัทลุง ส่งผลให้พืชผล ทางการเกษตรโดยเฉพาะนาข้าวได้รับความเสียหาย สวทช. ได้ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่เพื่อหาแนว ทางแก้ไข ปี 2558 สวทช. ได้สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ข้าว หอมชลสิทธิ์ ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่มีคุณสมบัติทน น้าท่วมได้นาน 2-3 สัปดาห์ แก่กลุ่มเกษตรกร “บ้าน คอกวัว: หมู่บ้านข้าวหอมชลสิทธิ์” ซึ่งได้ยกระดับเป็น หมู่บ้านแม่ข่ายหมู่บ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมชลสิทธิ์ ต่อมา ได้ขยายผลไปยังหมู่บ้านลูกข่ายคือ บ้านโคกฉิ่ง แต่ยัง ประสบปัญหามาตรฐานการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว สวทช. โดย สท. จึงได้หารือร่วมกับผู้นาชุมชนเพื่อจัดทาแปลง สาธิตการผลิตเมล็ดพันธุ์ผ่านการถ่ายทอดเทคโนโลยีการ ผลิตเมล็ดพันธุ์ให้กลุ่มเกษตรกรต.ชัยบุรี อ.เมือง จ. พัทลุง เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวอย่าง ถูกวิธีและมีคุณภาพ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2561 ที่ผ่านมา สท. ได้ร่วมกับเครือข่ายเกษตรกรและหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ องค์การ บริหารส่วนจังหวัดพัทลุง ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวพัทลุง ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาพัทลุง องค์การบริหารส่วนตาบลชัยบุรี ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจาภูมิภาคภาคใต้ (ศวภ. 3) และสภาเกษตรเกษตรจังหวัดพัทลุง ร่วมกันจัดกิจกรรมเปิดแปลงสาธิต “การผลิตเมล็ดพันธุ ์ ข้าวหอมชลสิทธิ์” เพื่อส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมชลสิทธิ์ ตลอดจนเป็น แหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์และแปลงต้นแบบสาธิตให้กับเกษตรในพื้นที่และชุมชนอื่นต่อไป รวมทั้งส่งมอบเมล็ดพันธุ์ข้าว หอมชลสิทธิ์ให้นายปรีชา อ่อนรักษ์ ประธานกลุ่มฯ จานวน 200 กิโลกรัม เปิ ดแปลงสาธิต “เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ ์ข้าวหอมชลสิทธิ์” ณ แปลงนาบ้านโคกฉิ่ง ต.ชัยบุรี อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง 20 มิถุนายน 2561 4
  • 5. แปลงสาธิต ม.11 บ้านโคกฉิ่ง ต.ชัยบุรี อ.เมือง จ.พัทลุง นาร่องคนละ 5 ไร่ นายวิสุทธิ์ ธรรมเพชร นายก อบจ.พัทลุง เป็นประธานเปิดงาน น.ส.กัลยารัตน์ รัตนะจิตร รก.ผอ.ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ สท. ส่งมอบเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมชลสิทธิ์ 5
  • 6. แผนโปรแกรมวิจัยและพัฒนามันสาปะหลัง หนึ่งในแผนกลยุทธ์การดาเนินงานของคลัสเตอร์ เกษตรและอาหาร ได้กาหนดการแก้ไขปัญหา มันสาปะหลังของประเทศตลอดห่วงโซ่มูลค่าเพิ่ม เพื่อ เป็นแนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ อย่างเป็น ระบบ และสนับสนุนให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ที่มีมูลค่า สูง เพิ่มรายได้และสร้างชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีให้แก่ เกษตรกร ส่งผลให้มูลค่าทางเศรษฐกิจของประเทศ เพิ่มขึ้น ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและเกิดผล กระทบอย่างสูงต่ออุตสาหกรรมมันสาปะหลังและ เศรษฐกิจของประเทศ การขยายผลภารกิจเพิ่มปริมาณและคุณภาพ ผลผลิตมันสาปะหลังเป็นส่วนหนึ่งของการยกระดับ ของการผลิตมันสาปะหลัง โดยการสร้างแปลงต้นแบบ การเรียนรู้ในการนาเทคโนโลยีบริหารจัดการและ ขยายผลไปยังกลุ่มเกษตรกรต่อไป ดังนั้น ฤดูปลูกในปี 2558/59 สวทช. กรมวิชาการเกษตร และกรมพัฒนาที่ดินได้ร่วม ดาเนินงานถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตมัน สาปะหลัง ได้แก่ การใช้ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน การ เลือกพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ และการจัดการดินอย่าง ถูกวิธี นอกจากนี้ยังจัดทาแปลงเรียนรู้มันสาปะหลังใน พื้นที่ตาบลวังชะพลู อาเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัด กาแพงเพชร จานวน 1 แปลง คือแปลงของนายศรีโพธิ์ ขยันการนาวี เพื่อขยายผลการเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตมันสาปะหลัง และใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนใน พื้นที่จังหวัดกาแพงเพชร และต่อมาในฤดูปลูก 2559/60 ได้ดาเนินงานขยายผลต่อเนื่องด้วยโครงการ “การประกวดการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมัน สาปะหลัง” ร่วมกับ บริษัท ธนวัฒน์ กรุ๊ป เพื่อยกระดับ ผลผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกมันสาปะหลังในพื้นที่ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสาปะหลัง จังหวัดกาแพงเพชร 20 มิถุนายน 2561 6
  • 7. เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2561 ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่ากระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เยี่ยมชมแปลงเรียนรู้ของนายศรีโพธิ์ ขยันการนาวี ณ โรงเรียนบ้านห้วยแก้วสามัคคีธรรม ตาบลวังชะพลู อาเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกาแพงเพชร ซึ่งเกษตรกรได้เล่าว่า หลังจากที่ปรับการจัดการแปลงปลูกตาม หลักวิชาการ นาความรู้ตามหลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาปรับใช้ อาทิ คัดเลือกพันธุ์ที่เหมาะสม การ จัดการดิน การใช้ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน การใช้ระบบน้าหยด และการใช้สารชีวภัณฑ์ควบคุมโรคและแมลง ทาให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็นเฉลี่ย 5xตันต่อไร่ จากเดิม 2xตันต่อไร่ นอกจากนี้รัฐมนตรีฯ ยังได้พบปะเกษตรกรที่ชนะเลิศการประกวดมันสาปะหลังประเภทปลูกอาศัยน้าฝน คือ นางจาปี ศรีนิล ได้ผลผลิตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 4 ตันต่อไร่ เป็น 4.8 ตันต่อไร่ และเกษตรกรชนะเลิศประเภท ปลูกอาศัยน้าหยด คือ นายสังวาลย์ คชไกร ได้ผลผลิตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 5 ตันต่อไร่ เป็น 7 ตันต่อไร่ ซึ่ง ปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้เป็นตัวอย่างและขยายผลแก่เกษตรกรรายอื่นๆ ในพื้นที่ให้มีความตระหนัก ถึงการดูแลและจัดการอย่างถูกต้องมากยิ่งขึ้นอีกด้วย นายศรีโพธิ์ขยันการนาวี และผู้แทนหน่วยงาน ถ่ายภาพร่วมกัน และให้ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมของแปลงเรียนรู ้ ดร. สุวิทย์เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร ์และ เทคโนโลยี เยี่ยมชมแปลงเรียนรู ้ของ นายศรีโพธิ์ขยันการนาวี 7
  • 8. มะม่วง หนึ่งในไม้ผลเศรษฐกิจ นิยมปลูกเพื่อการค้า และเพื่อการส่งออก การเพิ่มขึ้นทั้งพื้นที่ปลูก และปริมาณผลผลิต เกษตรกรและผู้ประกอบการมีความต้องการเทคโนโลยี การจัดการการผลิต และการ เพิ่มมูลค่าที่หลากหลาย สวทช.ภาคเหนือ ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้และหอการค้าจังหวัดฉะเชิงเทรา จึงได้ จัดกิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่อง “การแปรรูปมะม่วง” เพื่อขยายระยะเวลาการจาหน่ายและการบริโภค มะม่วงน้าดอกไม้ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทราในช่วงที่ผลผลิตมีปริมาณมาก โดยมีเป้าหมายการแปรรูปที่ หลากหลายเพื่อเชื่อมโยงกับกิจกรรมต่างๆ ในพื้นที่ เช่น การท่องเที่ยว อุตสาหกรรมขนมหวาน เป็นต้น การแปรรูปมะม่วงผง โดยการทาแห้งแบบโฟมแมท (Foam.Mat.Drying) ปั่น มะม่วงให้เป็นโฟมที่คงตัว กักอากาศไว้ภายใน โดยใช้ไข่ขาวเป็นสารที่ทาให้เกิดโฟมและช่วยโฟมคงตัว นาไป อบแห้งแล้วขูดเป็นเกล็ด บีบให้แตกเป็นผง ซึ่งข้อดีของการทาให้อาหารเกิดเป็นโฟมก่อนคือ เพิ่มอัตราการทา แห้งของอาหารให้เร็วขึ้น ทาให้อาหารสัมผัสกับความร้อนได้ดีขึ้นและทาให้แห้งในระยะเวลาที่สั้นลง ซึ่งช่วย ลดการสูญเสียคุณภาพอาหาร โดยเฉพาะกลิ่นรสของอาหาร ผลจากการแปรรูปมะม่วงสดเป็นมะม่วงผงด้วยกระบวนการโฟมแมทได้เนื้อมะม่วง 100% นี้กลุ่ม วิสาหกิจชุมชนแม่บุญมี ซึ่งเข้าร่วมกิจกรรมนาไปประยุกต์เป็น “ผงมะม่วงในขนมหมี่กรอบ” ซึ่งเป็นสินค้า OTOP ขึ้นชื่อของอาเภอบางคล้า เป็นสูตรใหม่ได้นาไปทดสอบตลาด ออกงานแสดงสินค้าใน งานแถลงข่าวโครงการพลิก SME สู่อนาคตด้วยนวัตกรรม และงานเกษตรปลอดภัยและของดีเมืองแปดริ้ว ซึ่งได้รับการตอบรับอย่างดี นอกจากมะม่วงผงแล้ว ยังมีการแปรรูปเป็นมะม่วงทองม้วนและแยมมะม่วง ซึ่งมีกระบวนการผลิต ไม่ยุ่งยาก สามารถดาเนินการได้ในระดับชุมชน โดยมีการแนะนาความรู้ความเข้าใจเรื่องวิทยาศาสตร์การ ถนอมอาหาร การใช้เพคตินที่สกัดได้จากผลไม้เป็นตัวทาให้เกิดเจล การใช้กรดเพื่อยืดอายุ เพื่อความอยู่ตัว ของเจล สัดส่วนที่เหมาะสม การทดสอบรสชาติ ตลอดจนการผลิตที่สอดคล้องกับมาตรฐานการผลิตที่ดี GMP เป็นต้น กระบวนการจัดการการผลิตและแปรรูปมะม่วงอย่างครบวงจร ตอนที่ 2 20 มิถุนายน 2561 8
  • 9. ประชุมหารือแนวทางความร่วมมือกับโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ว่านแร้งคอคา 20 มิถุนายน 2561 9 ประดู่ทุ่ง เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2561 สถาบันการจัดการเทคโนโลยี และนวัตกรรมเกษตร (สท.) ร่วมกับคณะอาจารย์มหาวิทยาลัย แม่โจ้ ร่วมประชุมหารือแนวทางความร่วมมือกับโรงพยาบาล เจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ซึ่งเป็นโรงพยาบาลศูนย์ประจาจังหวัดปราจีนบุรี และ เป็นโรงพยาบาลนาร่องเรื่องการแพทย์แผนไทย ใช้สมุนไพร บาบัดรักษาโรค แปรรูปสมุนไพรไทยเป็นเวชภัณฑ์และเครื่องสาอาง ปัจจุบันทางมูลนิธิฯ มีแผนจะเปิดศูนย์เรียนรู้ต้นทางที่อ.หาดยาง เป็นศูนย์เรียนรู้ที่ครบวงจรทั้งด้าน งานวิจัย กระบวนการปลูก การขยายพันธุ์ การแยกสรรพคุณ สารสกัด การแปรรูป และการเก็บรักษา เพื่อยกระดับสมุนไพรไทย นอกจากนี้ยังอยู่ระหว่างศึกษาวิจัยสมุนไพรพันธุ์พื้นบ้านที่หายาก ได้แก่ ว่านแร้งคอ คา และประดู่ทุ่ง พร้อมทั้งรวบรวมสมุนไพรพันธุ์พื้นบ้านจากทั่วประเทศ นอกจากเรื่องสมุนไพรแล้ว มูลนิธิฯ ยังส่งเสริมให้ชุมชนปลูกแตงกวาผลิตส่งให้มูลนิธิฯ เพื่อนามาสกัด สารสาคัญสาหรับผลิตเครื่องสาอาง โดยขอรับสนับสนุนเมล็ดพันธุ์แตงกวาคุณภาพจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อ นามากระจายให้ชุมชนปลูก เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและมีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการ และเกษตร สามารถเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้เพาะปลูกในรอบต่อไป เบื้องต้น สท. และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ร่วมหารือแนวทางความร่วมมือกับมูลนิธิฯ ในการขอความ ร่วมมือจากภาครัฐเพื่อมาสนับสนุนการทาวิจัยในสมุนไพรที่ต้องการสารสาคัญ และสมุนไพรที่หายาก รวมถึง การรวบรวมจัดเก็บที่ธนาคารทรัพยากรชีวภาพ (Bio bank) ในอนาคต