SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
รศ.สมพร อิศวิลานนท์
สถาบันคลังสมองของชาติ
สถาบันคลังสมองของชาติ
E-mail address: somporn@knit.or.th
พลวัตและการจัดการการเกษตรไทย
ในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์
การบรรยายพิเศษในการประชุมวิชาการ
เกษตรครั้งที่ 16 ประจำาปี 2558 ในวันที่ 26
มกราคม 2558 เวลา 10.30-12.00 น
ณ ห้องประชุม กวี จุติกุล คณะเกษตร
ม.ขอนแก่น จ.ขอนแก่น
หัวข้อนำาเสนอ
1.การก้าวสู่ยุคการแข่งขันทางการค้า
2
4. ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจ
การเกษตรไทย
3. สถานภาพการเกษตรไทยและข้อกังวล
2. เทคโนโลยีและนวัตกรรม:ปัจจัยขับเคลื่อนสู่
ความสามารถในการแข่งขัน
การบรรยายพิเศษในการประชุมวิชาการเกษตรครั้งที่ 16 ประจำาปี 2558 ในวันที่ 26 มกราคม 2558
เวลา 10.30-12.00 น ณ ห้องประชุม กวี จุติกุล คณะเกษตร ม.ขอนแก่น จ.ขอนแก่น
1. การเข้าสู่ยุคการแข่งขันทางการค้า
สถาบันคลังสมองของชาติ
3
การบรรยายพิเศษในการประชุมวิชาการเกษตรครั้งที่ 16 ประจำาปี 2558 ในวันที่ 26 มกราคม 2558
เวลา 10.30-12.00 น ณ ห้องประชุม กวี จุติกุล คณะเกษตร ม.ขอนแก่น จ.ขอนแก่น
WTO กับข้อตกลงสู่การเปิดเสรีทางการค้า
ข้อตกลง WTO
WTO มีการพัฒนาการมาจาก ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากร
และการค้าหรือ GATT(General Agreement on Tariffs and
Trade) เมื่อปี พ.ศ. 2490 และได้สถาปนาขึ้นเป็นองค์การการค้าโลก (
WTO) ซึ่งเป็นองค์การระหว่างประเทศ เพื่อส่งเสริมการแข่งขัน
ทางการค้าที่เป็นธรรมในปี 2538 (1 ม.ค.)
1.การเข้าสู่ยุคการแข่งขันทางการค้า
ผลักดันไปสู่การเปิดตลาดและเปิดเสรีทางการค้าระหว่างประเทศ
พัฒนาและสร้างกฎกติกาใหม่ๆ ให้รองรับกับวิวัฒนาการของการค้า
ระหว่างประเทศและรูปแบบการค้าโลกที่เปลี่ยนไปอย่างต่อเนื่อง  ทั้งนี้
ความตกลงที่เกิดขึ้นประเทศสมาชิกต้องปฏิบัติตาม
กำาหนดระดับความปลอดภัยและการตรวจสอบมาตรฐานสินค้านำา
เข้าของประเทศสมาชิก ให้สอดคล้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศ
เช่น การใช้มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช(SPS) อีกทั้งการ
ปฏิบัติเยี่ยงชาติอย่างเท่าเทียมกัน
การก้าวไปของนโยบายการค้าเสรีและการขยาย
ตัวของของกลุ่มเศรษฐกิจการค้า
Source: Department of Trade Negotiations
1.การเข้าสู่ยุคการแข่งขันทางการค้า
การรวมตัวกันในภูมิภาค:ประชาคม ASEAN
การขยายตัวของพรหมแดนการค้าและ
การผลิต เกิดเป็นSingle Market and
Single Production Base
การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ
การลงทุน เงินทุน และแรงงาน
ฝีมืออย่างเสรี
สู่การเปิดตลาดเสรีการค้าและการลงทุน
เป็นฐานการผลิตและการตลาดเดียว
1.การเข้าสู่ยุคการแข่งขันทางการค้า
ที่มา:ดัดแปลงจากลดาวัลย์ คำาภา
7
การค้า การกีดกันทางการค้า และผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการ
ค้าระหว่างประเทศเพิ่มสูงขึ้น ขณะเดียวกันมีแนวโน้มของความร่วมมือ
ในแต่ละภูมิภาคเพิ่มมากขึ้นและมีการปรับเปลี่ยนไปสู่มาตรการ NTB
หรือ TBT ใหม่ๆเพิ่มมากขึ้น
ลัทธิการลัทธิการ
ปกป้องและปกป้องและ
กีดกันกีดกัน
ทางการค้าทางการค้า
กฎระเบียบกฎระเบียบ
การค้ามีการค้ามี
ความเข้มความเข้ม
ข้นมากขึ้นข้นมากขึ้น
กระแสกระแส
ภูมิภาคภูมิภาค
นิยมนิยม
ความร่วมความร่วม
มือของมือของ
เอเชียเอเชีย
เพิ่มขึ้นเพิ่มขึ้น
ด้านการค้าและความร่วมมือที่เปลี่ยนแปลง
ด้านการค้าและความร่วมมือที่เปลี่ยนแปลง
ความเป็นพลวัตด้านการค้าและความร่วมมือนำาไปสู่
Technical Barrier to Trade(TBT)
1.การเข้าสู่ยุคการแข่งขันทางการค้า
ความแตกต่างในระดับพัฒนาของประเทศสมาชิกทำาให้กฎกติกา
ทางการค้าภายใต้การเปิดตลาดและการปฎิบัติอย่างเท่าเทียมกันได้
พัฒนาก้าวขึ้นมาเป็นเครื่องมือการกีดกันทางการค้าตามมา
►กติกาการค้ากับการถูกใช้เป็นเครื่องมือ NTBหรือ
TBT
ประเทศสมาชิกที่พัฒนาแล้วจะมีข้อระเบียบในมาตรฐานที่สูงกว่า
ประเทศกำาลังพัฒนา
อันเป็นประเด็นไปสู่ NTB หรือ TBT ในระหว่างประเทศพัฒนาและ
ประเทศกำาลังพัฒนา
1.การเข้าสู่ยุคการแข่งขันทางการค้า
 การผูกโยงประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพของภูมิ
อากาศโลกขึ้นเป็นเครื่องมือทางการค้าและTBT
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ
อากาศโลกสร้างความเสี่ยงและ
ผลกระทบต่อการผลิตทางการ
เกษตรเพิ่มมากขึ้นเป็นทวีคูณนำา
ไปสู่กระแสความใส่ใจต่อสภาพ
แวดล้อมและเปลี่ยนแปลงความ
ต้องการของผู้บริโภค
 ข้อกังวลในเรื่องดังกล่าวนำาไปสู่การทบทวนในเรื่องการ
ใช้ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของโลก และรวมถึงการนำา
ประเด็นไปผูกเชื่อมโยงกับกฎกติกาทางการค้า โดยเฉพาะใน
ประเด็นเกี่ยวกับ green house gas ; carbon footprint;
carbon credit เป็นต้น
1.การเข้าสู่ยุคการแข่งขันทางการค้า
การตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
เปลี่ยนแปลง
ปัจจัยการผลิตมีปริมาณและคุณภาพลดลง
ปริมาณผลผลิตผันผวนมีความขัดแย้งระหว่าง
พืชอาหาร/พืชพลังงาน
ต้นทุนการผลิตอาหารสูงขึ้น

มีการแข่งขันทางการค้าที่
รุนแรงและขยายตัวมากขึ้น
สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมและ
ขยายตัวสร้างความสั่นคลอน
เรื่องความมั่นคงทางอาหาร
ปัญหาสภาพความแปรปรวนของสิ่ง
แวดล้อมโลกสร้างความเสี่ยงต่อการ
ผลิตอาการและถูกนำาไปสร้างเป็นพันธ
และข้อผูกพันทางการค้า
การกีดกันทางการค้าจาก
มาตรการแก้ไขปัญหาโลกร้อน
เพิ่มมากขึ้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมา
10
1.การเข้าสู่ยุคการแข่งขันทางการค้า
2. เทคโนโลยีและนวัตกรรม:ปัจจัยขับ
เคลื่อนสู่ความสามารถในการแข่งขัน
11
สถาบันคลังสมองของชาติ
สถาบันคลังสมองของชาติ
การบรรยายพิเศษในการประชุมวิชาการเกษตรครั้งที่ 16 ประจำาปี 2558 ในวันที่ 26 มกราคม 2558
เวลา 10.30-12.00 น ณ ห้องประชุม กวี จุติกุล คณะเกษตร ม.ขอนแก่น จ.ขอนแก่น
อำานาจจะเป็นของผู้บริโภคมากกว่าผู้ผลิต
การแข่งขันในตลาดสินค้าจะเป็นการแข่งขันในด้านคุณภาพที่
รุนแรงขึ้น สินค้าที่ขาดคุณภาพจะถูกเบียดหายไปจากตลาดการค้า
 การค้าจะไร้พรหมแดนมากขึ้น และจะมีการใช้เครื่องมือ
ที่ไม่ใช่ภาษี(NTB) มาเป็นเครื่องมือกีดกันทางการค้าเพิ่ม
มากขึ้น
12
มาตรการทางการค้าจะให้ความสนใจกับสุขอนามัยและความ
ปลอดภัยของผู้บริโภคเป็นสิ่งสำาคัญ ไปพร้อมๆกับมีการกำาหนด
มาตรฐานคุณภาพ
การแข่งขันที่รุนแรงในตลาดการค้า ทำาให้ผู้ผลิตต้องอาศัย
เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมใหม่มาใช้ในกระบวนการผลิตหรือต้อง
พึ่งพิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึ้น
เพื่อทำาให้ต้นทุนการผลิตตำ่าลง
เพื่อทำาให้คุณภาพดีขึ้นด้วยต้นทุนที่
►โลกในยุคของการค้าเสรี
2. เทคโนโลยีและนวัตกรรม:ปัจจัยขับเคลื่อนสู่ความสามารถในการ
แข่งขัน
►ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี
13
ทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม เป็นปัจจัยสำาคัญในการสร้างขีดความ
สามารถในการแข่งขีนทางการค้าและการขยายโอกาส
Information Technology Biotechnology
เป็นนวัตกรรมที่ทำาให้โลกแคบลง
ผู้คนในโลกสามารถติดต่อข่าวสารกัน
ได้สะดวกยิ่งขึ้น หรือที่เรียกว่าโลกไร้
พรหมแดน
การยอมรับในนวัตกรรมดังกล่าว
ทำาให้เกิดการประหยัดต้นทุน
 เกิดการขยายตัวทางการตลาด
และเป็นพลวัตมากขึ้น
การเข้าสู่แง่มุมต่างๆของ
โลกสะดวกและรวดเร็ว
 ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีชีวภาพ นำา
ไปสู่การปฏิวัติในกระบวนการผลิตพืช สัตว์
อาหาร และการแพทย์ และช่วยขยาย
production frontier
การยอมรับนวัตกรรมดังกล่าวนำาไปสู่การ
เพิ่มศักยภาพในกระบวนการผลิตทาง
ชีวภาพ ทำาให้ประหยัดต้นทุน
เกิดการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการผลิต
อาหาร และนำาไปสู่กติกาการค้าใหม่ๆ โดย
เฉพาะในกลุ่ม EU ซึ่งให้การสนับสนุน
green and natural products
2. เทคโนโลยีและนวัตกรรม:ปัจจัยขับเคลื่อนสู่ความสามารถในการ
แข่งขัน
 การผสมกันของเทคโนโลยีด้านเคมีวิทยา
ชีววิทยา ฟิสิกส์ คอมพิวเตอร์และวิศวกรรมศาสตร์
แขนงต่างๆ ทำาให้เกิดเทคโนโลยีใหม่ ที่เรียกว่านาโน
เทคโนโลยี
เกิดการพัฒนาเครื่องมือวิทยาศาสตร์และเครื่องมือ
วิทยาศาสตร์ ที่มีขนาดเล็ก ให้ประโยชน์กับการค้นคว้า
วิจัย
กระบวนการผลิตสินค้าและอาหารเกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางลักษณะและคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์หลากหลายขึ้น
กล้องส่องทางเดินอาหาร
ชนิด capsule(Endoscopic
capsule)
14
►ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี
Nanotechnology
2. เทคโนโลยีและนวัตกรรม:ปัจจัยขับเคลื่อนสู่ความสามารถในการ
แข่งขัน
►การก้าวไปของเทคโนโลยีก่อให้เกิดศาสตร์และ
นวัตกรรมใหม่
การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ชีวเคมี สถิติ
คณิตศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และ สารสนเทศน์ศาสตร์นำาไปสู่ศาสตร์
ทางด้าน genomics, Metabolomics, synthetic biology,
Bioinformatics เป็นต้น นำาไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ยารักษาโรค
และการประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ในด้านการปรับปรุงพันธุ์พืชพันธุ์
สัตว์
Information Technology
Nanotechnology
Biotechnology
2. เทคโนโลยีและนวัตกรรม:ปัจจัยขับเคลื่อนสู่ความสามารถในการ
แข่งขัน
16
Knowledge Technology/
innovation
Competitive
advantage
Competitiveness
► ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมได้ถูกใช้
เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจและการแข่งขัน
ทางการค้า
 ความมีจำากัดของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทำาให้โลกได้ก้าวจาก
Factor Driven Economy ของระบบเศรษฐกิจแบบเดิม ไปสู่ Innovation
Driven Economy หรือที่เราเรียกว่า “Knowledge-based Economy”
หรือ New Economy
เทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็นปัจจัยสำาคัญในการสร้างขีดความ
สามารถในการแข่งขันและรวมถึงการสร้างคุณค่าและมูลค่า
2. เทคโนโลยีและนวัตกรรม:ปัจจัยขับเคลื่อนสู่ความสามารถในการ
แข่งขัน
ที่มา: อาคม เต็มพิทยาไพสิฐม สศช, 2554
นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์เป็นคลื่นลูกใหม่
ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการค้า
 เกิดกรอบแนวคิดในการใช้พื้นที่และทรัพยากรเท่าเดิมแต่ทำาอย่างไรจะสร้าง
สินค้าที่มีทั้งคุณค่าและมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น
 มีการนำาเอาทุนทางสังคมและทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาส
ร้างการขับเคลื่อนและเป็นจุดขายทางการตลาด
2. เทคโนโลยีและนวัตกรรม:ปัจจัยขับเคลื่อนสู่ความสามารถในการ
แข่งขัน
 เศรษฐกิจสร้างสรรค์:ใช้ความคิดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
ที่มา:ดัดแปลงจาก อาคม เต็มพิทยาไพสิฐม สศช, 2554
 Newness  Knowledge or Creativity  Economic Benefits
2. เทคโนโลยีและนวัตกรรม:ปัจจัยขับเคลื่อนสู่ความสามารถในการ
แข่งขัน
3. สถานภาพของภาคการเกษตรไทยและข้อกังวล
สถาบันคลังสมองของชาติ
19
การบรรยายพิเศษในการประชุมวิชาการเกษตรครั้งที่ 16 ประจำาปี 2558 ในวันที่ 26 มกราคม 2558
เวลา 10.30-12.00 น ณ ห้องประชุม กวี จุติกุล คณะเกษตร ม.ขอนแก่น จ.ขอนแก่น
มูลค่าการส่งออกของไทยปี 2554
-56
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการสื่อสาร สำานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์,
ธันวาคม 2557
หน่วย : พันล้านบาท
จำานวนครัวเรือนเกษตร 5.8 ล้าน
ครัวเรือน
ขนาดของรายได้ต่อครัวเรือน
เกษตร(2554) 110,700 บาท โดยเป็น
รายได้จากการเกษตร 40% อีก 60%
มาจากนอกการเกษตร (ที่มา: สำานักงานเศรษฐกิจ
การเกษตร)
โครงสร้างมูลค่าส่งออกของ
ไทย
ครัวเรือนเกษตรและราย
ได้
ภาพครัวเรือนเกษตรไทย รายได้และการส่งออก
ปี 2554 2555 2556
สินค้ารวมทั้งสิ้น 6,708 7,092 6,910
1. อุตสาหกรรม 4,906 5,325 5,254
2. เกษตรกรรม 876 732 688
(%) 13.06 10.32 9.96
3. อุตสาหกรรม
เกษตร
527 561 522
รวม สินค้า
เกษตรกรรม และ
อุตสาหกรรมเกษตร
1,403 1,293 1,210
% 20.92 18.23 17.51
3. สถานภาพของภาคการเกษตรไทยและข้อกังวล
20
ขนาดของฟาร์มเฉลี่ย 22.5 ไร่
มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม
เกษตรเทียบกับสินค้าส่งออกของไทยทั้งหมด
ที่มา: คำานวณจากฐานข้อมูลการส่งออกกระทรวงพาณิชย์
3. สถานภาพของภาคการเกษตรไทยและข้อกังวล
ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกอาหารและสินค้าเกษตรอยู่ใน
อันดับ 1 ใน 10 ของโลก แต่ส่วนมากยังส่งออกในรูปของ
วัตถุดิบ
รายการสินค้า
2555
(ล้านบาท)
2556
(ล้านบาท)
1. ยางธรรมชาติ 270,153.8 249,296.4
2. ข้าว 142,976.2 133,851.2
3.ผลิตภัณฑ์มันสำาปะหลัง 87,289.0 98,344.6
4. ไก่แปรรูป 61,968.5 60,470.1
5. กุ้ง สดแช่เย็น แช่แข็ง 45,184.1 28,531.7
6.ผลไม้สด แช่เย็น กึ่งแห้ง 36,697.5 32,012.7
7.เนื้อปลาสดแช่เย็นแช่แข็ง 12,875.3 8,711.7
8. ปลาหมึกสดแช่เย็นแช่
แข็ง
12,842.3 10,291.6
9. ผักสดแช่เย็น กึ่งแห้ง 7,242.6 6,744.4
10. ไก่สดแช่เย็น แช่แข็ง 5,950.9 6,388.2
มูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร
10 ลำาดับแรก ปี 2555 และ 56
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำานักงานปลัด
กระทรวงพาณิชย์
 สินค้าเกษตรส่งออกที่สำาคัญ
รายการสินค้า
2555
(ล้านบาท)
2556
(ล้านบาท)
1. อาหารทะเลกระป๋อง 161,536.8 146,052.9
2. นำ้าตาล 122,285.1 85,494.5
3.ผลไม้กระป๋องและแปรรูป 47,854.4 49,247.1
4. เครื่องดื่ม 37,318.9 37,868.2
5. อาหารสัตว์เลี้ยง 33,757.5 35,179.9
6. ผลิตภัณฑ์ข้าวสาลีและ
อาหารสำาเร็จรูป
32,188.6 35,795.5
7.ไขมันและนำ้ามันจากพืช
และสัตว์
20,848.8 24,748.4
8.สิ่งปรุงรสอาหาร 15,661.5 16,796.3
9. ผักกระป๋องแปรรูป 10,468.8 10,192.7
10. เนื้อสัตว์และของปรุง
แต่ง
9,562.5 9,637.6
มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร 10 ลำาดับ
แรก ปี 2555 และ 56
22ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำานักงานปลัด
กระทรวงพาณิชย์
3. สถานภาพของภาคการเกษตรไทยและข้อกังวล
 การขยายตัวของเศรษฐกิจภาคการเกษตร
สาขา 2555(%) 2556(%)
ภาคการเกษตร 4.0 3.5-4.5
พืช 5.5 4.0-5.0
ปศุสัตว์ 3.2 1.8-2.8
ประมง -2.7 -0.2-0.8
บริการทางการเกษตร 2.9 2.5-3.5
ป่าไม้ 1.4 0.5-1.5
ที่มา: สำานักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร สำานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
การขยายตัวของ GDP ในสาขาเกษตรปี 2555 และการคาดหมายปี
2556
23
3. สถานภาพของภาคการเกษตรไทยและข้อกังวล
►►โครงสร้างการใช้ที่ดินในภาคการเกษตรและแรงงาน
ได้เปลี่ยนแปลงไปมากในช่วงครึ่งศตวรรษที่ผ่านมา
มีเนื้อที่ป่าไม้ 186 ล้านไร่หรือ 58.2% ของเนื้อที่
ทั้งประเทศ
พื้นที่เพาะปลูกพืช 51 ล้านไร่
สัดส่วนของ GDP ภาคการเกษตร 34.91%
 จำานวนแรงงานในภาคการเกษตร 67% ของ
แรงงานทั้งประเทศ)
หมายเหตุ : ที่ดินที่ใช้เพื่อการเกษตรเป็นที่เพาะปลูกพืช มีจำานวน 51 ล้านไร่
(ชัยยงค์ ชูชาติ 2503)
ข้อมูลสำาคัญ
สัดส่วนการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร(เพาะปลูก
พืช)ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 (2506-2509)
สัดส่วนการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรเป็น
ที่เพาะปลูกพืชในช่วงแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 10 (2550-2555)
มีเนื้อที่ป่าไม้ 107.2 ล้านไร่ หรือ 33 % ของเนื้อที่
ทั้งประเทศ
เป็นเนื้อที่เพาะปลูกพืช 132 ล้านไร่
สัดส่วนของ GDP ภาคการเกษตร 8.8%
 จำานวนแรงงานในภาคการเกษตร 41.8% ของ
แรงงานทั้งประเทศ
เกษตรกรอยู่ในภาวะสูงวัย
ข้อมูลสำาคัญ
หมายเหตุ : ที่ดินที่ใช้เพื่อการเกษตรเป็นที่เพาะปลูกพืช มีจำานวน 132 ล้านไร่
3. สถานภาพของภาคการเกษตรไทยและข้อกังวล
25
สัดส่วนการผลิตรายสาขาต่อ GDPสัดส่วนการผลิตรายสาขาต่อ GDP
มูลค่า GDPในปี 2554
เท่ากับ
11.12 ล้านล้านบาทและ
รายได้ต่อหัวของ
ประชากร 164,512 บาท
สัดส่วนของภาคการเกษตต่อ GDP มีเพียง 9%
การขยายตัวที่ผ่านมาเกิดจากการเพิ่มการใช้ปัจจัยการผลิตมากกว่าการเพิ่ม
productivity
สัดส่วนของภาคการเกษตต่อ GDP มีเพียง 9%
การขยายตัวที่ผ่านมาเกิดจากการเพิ่มการใช้ปัจจัยการผลิตมากกว่าการเพิ่ม
productivity
Source: NESDB , 2555.
GDP ของภาคการเกษตรและการเติบโต
3. สถานภาพของภาคการเกษตรไทยและข้อกังวล
 การขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ผ่านมาเกิดจากการเพิ่มปริมาณ
(จำานวน) ของปัจจัยการผลิตเป็นหลักโดยไม่ได้เน้นถึงการเพิ่มคุณภาพ
ของปัจจัยที่ใช้ให้มีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น
สาขา
เกษตรกร
รม
เฉลี่ย
แผนฯ
6
(2530-
34)
เฉลี่ย
แผนฯ
7
(2535-
39)
เฉลี่ย
แผนฯ
8
(2540-
44)
เฉลี่ย
แผนฯ
9
(2545-
49)
เฉลี่ย
แผนฯ
10
(2550-
54
2550 2551 2552 2553 2554
เฉลี่ย
3 ปี
แรก
แผนฯ
10
(2550-
54)
2525
-
2552
GDP
Growth
4.55 2.98 2.04 2.90 1.64 0.9 4.2 1.3 -2.3 4.1 1.30 2.96
แหล่งที่มา
แรงงา
น
0.11 -0.27 -0.07 0.08 0.07 0.08 0.21 0 -0.07 0.14 0.01 0.00
ที่ดิน 0.06 0.05 0.06 0.14 0.05 0.26 0.6 -0.46 0.28 -0.41 0.36 0.11
ทุน 3.01 6.57 3.34 3.19 3.55 4.09 3.72 2.88 4.87 2.21 3.17 3.61
TFP 1.36 -3.37 -1.29 -0.51 -2.18 -3.53 -1.03 -1.12 -7.38 2.16 -2.78 -0.77
ที่มา: สำานักบัญชีประชาชาติ สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
26
เมื่อตลาดมีการแข่งขันมากขึ้นจะทำาให้การผลิตหลายๆอย่างของไทย
ไม่สามารถแข่งขันได้
3. สถานภาพของภาคการเกษตรไทยและข้อกังวล
27
แหล่งที่เป็น food Bank ตามธรรมชาติของคนชนบท
ขาดหายไป และมีต้นทุนในการเข้าถึงแหล่งอาหารที่
จำาเป็นของครัวเรือนสูงขึ้น
ความหลากหลายทางชีวภาพ(biodiversity)ถูก
ทำาลาย
การขยายการผลิตไปในพื้นที่ลาดชันและพื้นที่ป่าได้
สร้างสร้างผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในชนบท เช่นโคลน
ถล่ม นำ้าไหลบ่ารุนแรงเมื่อมีฝนตก ฯลฯ
มลภาวะทางนำ้าขยายตัวสร้างผลกระทบต่อแหล่ง
นำ้าตามธรรมชาติและคุณภาพนำ้าที่เสื่อมโทรมส่งผลกระ
ทบต่อการผลิตทางการเกษตร
คุณภาพของที่ดินที่ใช้ในการผลิตเสื่อมโทรมสร้าง
ผลกระทบต่อ productivity
3. สถานภาพของภาคการเกษตรไทยและข้อกังวล
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเพิ่มความเสี่ยงที่พืชผลจะ
เสียหายมากขึ้นในวงกว้างยิ่งขึ้น
นักวิชาการคาดว่าความแปรปรวนจะ
กระทบพืชบางชนิดในบางพื้นที่
28
การขาดแคลนนำ้า พร้อมกับภัยนำ้าท่วมจะรุนแรงยิ่งขึ้น
ค่าความแปรปรวนของนำ้าฝนสูง
ขึ้น
3. สถานภาพของภาคการเกษตรไทยและข้อกังวล
ภาคการเกษตรประกอบด้วยเกษตรกรขนาดเล็กจำานวน
มาก มีผลผลิตตำ่า มีต้นทุนสูง และขาดข้อความรู้ในการ
จัดการเชิงธุรกิจไร่นา
► การผลิตสินค้าเกษตรของเกษตรกรไทยส่วนมาก
เป็นการผลิตสินค้าคละและมีต้นทุนการผลิตที่สูง
การผลิตสินค้ายังเป็นสินค้าคละ ไม่ได้คำานึงถึง
คุณภาพและมาตรฐานตามกฎกติกาการค้าใหม่ ทำาให้
ไม่ได้ราคา
การผลิตเป็นรายเล็กรายน้อย ชุมชนขาดความเข้มแข็ง
ทำาให้การผลิตสินค้าเพื่อให้เข้าถึงตลาดสมัยใหม่ทำาได้ยาก
และจำากัด
29
การผลิตขาดความเข้าใจถึงการคำานึงถึงผู้
บริโภค ก้าวไม่ทันกับการตอบสนองของ
กลไกการตลาดสมัยใหม่
3. สถานภาพของภาคการเกษตรไทยและข้อกังวล
ทำาให้เกษตรกรรายย่อยจำานวน
ไม่น้อยตกอยู่ในภาวะยากจนและ
ไม่มีความมั่นคงในอาชีพ
เกษตรกรรายย่อยไม่สามารถก้าวข้ามหุบเหวของ
ความยากจน
ทีมา: ดัดแปลงจาก อภิชาติ วรรณวิจิตร 2557
ขาดความรู้การ
จัดการไร่นา
ขาดเทคนิคใน
การปรับลดต้นทุน
ขาดเทคนิคที่
เข้าสู่ระบบการ
ผลิตปลอดภัย ได้
มาตรฐาน ได้
คุณภาพ
เข้าไม่ถึงกลไก
ตลาด
3. สถานภาพของภาคการเกษตรไทยและข้อกังวล
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตร
ไทย
31
การบรรยายพิเศษในการประชุมวิชาการเกษตรครั้งที่ 16 ประจำาปี 2558 ในวันที่ 26 มกราคม 2558
เวลา 10.30-12.00 น ณ ห้องประชุม กวี จุติกุล คณะเกษตร ม.ขอนแก่น จ.ขอนแก่น
มาตรฐานไทย
มาตรฐานสากล
การเกษตร
อาเซียน
มาตรฐานสินค้า:ความจำาเป็นในยุคของการค้าเสรี
32การก้าวสู่ยุคการค้าเสรี
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
มาตรฐานสินค้า
เกษตรและอาหาร
เช่นข้าวหอมมะลิ
มาตรฐานระบบ
(เช่น GAP, Organic
Thailand, GMP
เป็นต้น)
มาตรฐานชุมชน
มาตรฐานทั่วไป
SPS/QIE/CODEX
/ IPPC
มาตรฐาน IFOAM,
USDA ORGANIC
มาตรฐานทั่วไป
SPS/QIE/CODEX/
IPPC/OIE
การเข้าสู่
Word Free
Trade
Economy ตาม
บริบทของ
องค์การการค้า
โลก
มิติเวลา
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
33
 การสร้างกลุ่มให้เข้มแข็ง มีกระบวนการผลิตที่ดี
จากต้นนำ้าและเชื่อมต่อกับกระบวนการกลางนำ้าและ
ปลายนำ้า เพื่อให้เกิดกระบวนการทำาธุรกิจโดยคำานึง
ถึงคุณค่า เช่น การทำาข้าวหอมมะลิอินทรีย์ การผลิต
พืชผักปลอดภัย คุณภาพและมาตรฐานในทางการ
ค้า
 การนำาเอาทุนทางสังคม ทรัพยากรธรรมชาติสิ่ง
แวดล้อม วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของชุมชน มาขับ
เคลื่อนเพื่อสร้างนวัตกรรมในตัวสินค้า
 สร้างหลักคิดภายใต้กระบวนการจัดการความ
รู้ การตระหนักถึงความเสี่ยง การสร้างรายได้และ
การประหยัดรายจ่าย การสร้างคุณค่ามาตรฐาน
และความปลอดภัยและความเชื่อถือในตัวสินค้า
ทำาอย่างไรจึงจะปรับระบบการผลิตแบบ Mass สู่
การผลิตแบบ Niche
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
University and Public Sector
engagement เติมเต็มช่องว่างการผลิต
การจัดการและงานวิจัยโดยมหาวิทยาลัย
ในพื้นที่หรือสถาบันวิชาการในพื้นที่
สร้างวิธีการจัดการ
ใหม่
สร้างช่องทางตลาดใหม่
 พันธุ์จำาเพาะ
แนวทางการจัดการเพื่อให้เกิดการผลิตแบบ Niche
Product
 Processing house
 ผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น
 Social enterprise
ทีมา: ดัดแปลงจาก อภิชาติ วรรณวิจิตร 2557
Business engagement เติมเต็มช่องว่าง
การจัดการทางการตลาด การสร้างมูลค่า
เพิ่มเพื่อการกระจายสินค้าต่อผู้บริโภค
Community engagement
ยกระดับการ
จัดการในไร่นา
ของเกษตรกร
ผูกโยงการ
ตลาดให้เข้า
กับระบบการ
ผลิตอย่างเป็น
ธรรมและมี
ประสิทธิภาพ
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
 สร้างเส้นทางเลือกให้กับเกษตรกรรายย่อย
35
ดิน นำ้า
อากาศbiodiv
ersity
เกษตรกรรม
ยั่งยืน
คุณภาพชีวิตที่
ดีของเกษตรกร
ประสิทธิภาพ ความเป็นธรรม
การผสม
ผสานการ
ผลิตพืช และ
สัตว์
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
พัฒนาความรอบรู้ในกระบวนการจัดการ
ที่มา:มนตรี คงตระกูลเทียน, 2554
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
►การให้ความสำาคัญกับการแปรรูปทั้งในรูปของ
Functional Food; Healthy Food ; Nutritional Fo
od
►การสร้าง value added ในผลิตภัณฑ์แปรรูป
สถาบันคลังสมองของชาติ
ระบบการผลิต
(Production System)
ระบบการตลาด
(
การใช้นวัตกรรมต่อเติมห่วงโซ่อุปทานขึ้นเป็นห่วงโซ่
คุณค่า
ระบบการแปรรูป
(Processing System) Marketing System)
ระบบการบริโภค
(Consumption System)
ใช้นวัตกรรมและความคิดเพิ่มมูลค่าในห่วงโซ่อุปทาน
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
ธุรกิจ
สหกรณ์การเกษตร
การจัดการที่ดินและทุน
การส่งเสริม การให้สิน
เชื่อ
Source:Dang Kim Son, 2014
:
39
การสนธิสัมพันธ์ในกระบวนการผลิตและการตลาดที่ใหญ่ขึ้น
ในระหว่างชุมชนจะเป็นแรงขับเคลื่อนสำาคัญในการสร้างสรรค์
คุณค่า
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
40
การยกระดับสู่การเป็น HUB ของสินค้าเกษตร
แปรรูปและการก้าวเป็นครัวของโลก
มุ่งตอบสนองความต้องการของตลาดทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศ พัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร พัฒนา
คุณภาพของสินค้าให้ได้มาตรฐานสากล
การผลิตที่ตอบสนองต่อความปลอดภัยด้านอาหาร สุข
อนามัยตามข้อตกลงของ WTO
ก้าวเป็นผู้นำาส่งออกสินค้าเกษตรแปรรูปทั้ง
ในภูมิภาคและในตลาดการค้าสินค้าเกษตร
แปรรูปของโลก
Good Agricultural
Practice (GAP)
Good Manufacturing
Practice (GMP)
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
รูปแบบการบริโภคที่กำาลังเปลี่ยนแปลงทำาให้เกิด
ทางเลือกในระบบการผลิต
ความต้องการอาหารปลอดภัย อาหารอินทรีย์
ความต้องการอาหารที่มีคุณค่าโภชนาการ อาหารที่เป็นยา
ความกังวลเรื่องผลกระทบด้านสังคม: โลกร้อน สวัสดิการสัตว์
การใช้นำ้ามากเกินไป การกีดกันการค้า
41
เกิดทางเลือกในระบบการผลิตในหลายรูปแบบมากขึ้น เช่น เกษตร
อินทรีย์ เกษตรปลอดภัย การเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
ก้าวให้ทันกับรูปแบบความต้องการของผู้บริโภค
และการบริโภคที่กำาลังเปลี่ยนแปลง
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
+
New
Technology
Knowledge
Management
New
Demand
Existing
Resource
Endowment
People
Natural resources
Cultural values
Indigenous
Knowledge
“Thainess”
Repackaging/Branding
Real Products & Services
Value Creation
Balancing Economic &
Social investment
การเพิ่มมิติความคิดสร้างสรรค์ในกระบวนการผลิต
เป็นสร้างความต้องการใหม่ในสินค้าให้กับผู้บริโภค
การเพิ่มมิติความคิดสร้างสรรค์ในกระบวนการผลิต
เป็นสร้างความต้องการใหม่ในสินค้าให้กับผู้บริโภค
เป็นการสร้างการเติบโตทางธุรกิจด้วย
แนวทางใหม่ที่ไม่ใช่การไปแย่งชิงส่วนแบ่ง
ทางการตลาดแบบเดิมๆแต่จะเป็นการ
พัฒนาสินค้าให้มีความแตกต่างหรือต้อง
สร้างความต้องการใหม่ๆ (New Demand)
ขึ้นมาโดยใช้นวัตกรรม(Innovation)
ที่มา: ดัดแปลงจากบทความของ สศช
 กรณีตัวอย่าง
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
กรณีตัวอย่าง
 กรณีตัวอย่าง(ต่อ)
ข้าวขาว
20 บาท/กก.
ข้าวมีกลิ่นหอม
35บาท/กก.
ข้าวหอมมะลินิลมี
โภชนาการ
>80 บาท/กก.
การพัฒนาความหลากหลายสู่การเป็น healthy food &cosmetic
ที่มา: ดัดแปลงจาก Apichart Vannvichit
ราคาข้าวเปลือก
25 บาทต่อกก.
ราคาข้าวสาร
50 บาทต่อกก..นาอินทรีย์ ข้าวหอมมะลิ
เครื่องสำาอางค์/spa
6,500 บาทต่อกก.
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
Riceberry oil
High Antioxidants
Selenium/ Folate/
Phytonutrients
(สารฟฤกษเคมี)
Low – medium
glycemic
index
Iron and high Fe
bioavailability
Let Your
Rice be Your
Medicine
ที่มา: รัชนี คงคาฉุยฉาย 2556
Good Quality High Nutrient For Longevity Life
กรณีของข้าว: เรากินข้าวเพื่อคาดหวังอะไรจาก
ข้าว?
กรณีของข้าว: เรากินข้าวเพื่อคาดหวังอะไรจาก
ข้าว?
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
ข้าวพื้นเมืองที่มีประสิทธิภาพในการต้าน
อนุมูลอิสระสูงที่สุด
Micromole of Trolox (TE) equivalentsที่มา: รัชนี คงคาฉุยฉาย 2556
เราจะสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับข้าวได้อย่างไร?
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
กรณีของข้าว(ต่อ)กรณีของข้าว(ต่อ)
ปริมาณที่ควรได้รับต่อวัน 15 มิลลิกรัม
ที่มา: รัชนี คงคาฉุยฉาย 2556
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
กรณีของข้าว(ต่อ)กรณีของข้าว(ต่อ)
เราจะสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับข้าวได้อย่างไร?
บทบาทในการป้องกันการทำาลายเรตินาด้วยการ
เป็นสารต้านออกซิเดชั่น ดังนั้นจึงลดปัจจัยเสี่ยง
การเกิดโรคตาบอดอันเนื่องมาจากการเสื่อมสภาพ
ของแมคคูลา ลูเทียในผู้สูงอายุ หรือโรคต้อกระจก
ที่มา: รัชนี คงคาฉุยฉาย 2556
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
กรณีของข้าว(ต่อ)กรณีของข้าว(ต่อ)
เราจะสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับข้าวได้อย่างไร?
โรงงานมัน
อัดเม็ด
ผู้ส่งออก
มันเส้น
อุตสาหกรรมกรดมะนาว
การผลิตกลางนำ้าการผลิตต้นนำ้า การผลิตปลายนำ้า
คนกลาง/ผู้
รวบรวม ลานมัน
โรงงาน
แป้งมัน
อุตสาหกรรมอาหารสัตว์
โรงงานเอทานอล
อุตสาหกรรมผงชูรส
อุตสาหกรรมกระดาษ
อุตสาหกรรมกาว
อุตสาหกรรมสิ่งทอ
อุตสาหกรรมอาหารผู้ส่งออก
แป้งมัน
ส่งออก
ส่งออก
ใน
ประเทศ
ใน
ประเทศ
ใน
ประเทศ
กรณีมันสำาปะหลังกับห่วงโซ่อุปทาน
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
Dextrinized starch
มัน
สำาปะหลัง
มันอัดเม็ด
มันเส้น
แป้งมัน
สำาปะหลัง
อาหารสัตว์
เอทานอล
กรดอินทรีย์
แป้งมัน
สำาหรับ
วัตถุดิบ
แปรรูป
แป้งมัน
สำาหรับ
วัตถุดิบ
ประกอบ
สิ่งทอไม้อัด กระดาษ
แปรรูป
ทาง
เทคโนโล
ยีชีวภาพ
แปรรูป
ทางเคมี
แปรรูป
ทาง
กายภาพ
Pregelatinized starch
แป้งแปรรูปด้วยความร้อน
ชื้น
แป้งสาคู
แป้งย่อยด้วยกรด
Starch ether
Hydroxy-propyl starch
Acetylated starch
Moltodextrin starch
นำ้าเชื่อม glucose fructose
Polyols;Sobitol;mannitol
Amino acid;
glutamat;lysine
Organic acid;lactic
acid;citric acid
ประเทศไทยยังขาดการพัฒนา R&I เพื่อการปรับโซ่อุปทาน
ให้เป็นโซ่คุณค่า
Gasifier
ชีวมวล
ก๊าซ
ขาย
ไฟฟ้า
โรงสีข้าวโรงสีข้าว
โรงหีบปาล์มโรงหีบปาล์ม
วัศดุจากกระบวรการวัศดุจากกระบวรการ
ผลิตการเกษตรเหลือใช้ผลิตการเกษตรเหลือใช้
เครื่องปั่นไฟฟ้า
►การใช้ภาคการเกษตรสร้างความสมดุลด้านพลังงาน
4.ความท้าทายของการเกษตรและธุรกิจการเกษตรไทย
การใช้เศษพืชเพื่อการ
ผลิตพลังงานไฟฟ้าชีวมวล
Cellulosic Ethanol
Agricultural fields and
Windmills
ขอบคุณQ&A

More Related Content

Similar to พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)

04 wanlop-surakampontorn-royin-20190831
04 wanlop-surakampontorn-royin-2019083104 wanlop-surakampontorn-royin-20190831
04 wanlop-surakampontorn-royin-20190831thanaruk theeramunkong
 
การเขียนขอทุนวิจัย2562
การเขียนขอทุนวิจัย2562การเขียนขอทุนวิจัย2562
การเขียนขอทุนวิจัย2562Prachyanun Nilsook
 
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15Pun-Arj Chairatana
 
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯsomporn Isvilanonda
 
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืนsomporn Isvilanonda
 
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนวิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนpiyapornnok
 

Similar to พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1) (20)

หนังสือนิทรรศการ Nac2017
หนังสือนิทรรศการ Nac2017หนังสือนิทรรศการ Nac2017
หนังสือนิทรรศการ Nac2017
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
 
190828 royal council (8) wanlop
190828 royal council (8) wanlop190828 royal council (8) wanlop
190828 royal council (8) wanlop
 
04 wanlop-surakampontorn-royin-20190831
04 wanlop-surakampontorn-royin-2019083104 wanlop-surakampontorn-royin-20190831
04 wanlop-surakampontorn-royin-20190831
 
การเขียนขอทุนวิจัย2562
การเขียนขอทุนวิจัย2562การเขียนขอทุนวิจัย2562
การเขียนขอทุนวิจัย2562
 
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
Kn technology
Kn technologyKn technology
Kn technology
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
 
E news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-finalE news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-final
 
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนวิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
เทคโนโลยีชุมชน. บรรยายสงขลา240754
เทคโนโลยีชุมชน. บรรยายสงขลา240754เทคโนโลยีชุมชน. บรรยายสงขลา240754
เทคโนโลยีชุมชน. บรรยายสงขลา240754
 

More from Somporn Isvilanonda

Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15
Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15
Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15Somporn Isvilanonda
 
พลวัตเศรษฐกิจข้าวไทย
พลวัตเศรษฐกิจข้าวไทยพลวัตเศรษฐกิจข้าวไทย
พลวัตเศรษฐกิจข้าวไทยSomporn Isvilanonda
 
ข้าวหอมมะลิไทยกับความจำเพาะที่กำลังจะจางหายไป
ข้าวหอมมะลิไทยกับความจำเพาะที่กำลังจะจางหายไปข้าวหอมมะลิไทยกับความจำเพาะที่กำลังจะจางหายไป
ข้าวหอมมะลิไทยกับความจำเพาะที่กำลังจะจางหายไปSomporn Isvilanonda
 
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557Somporn Isvilanonda
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยSomporn Isvilanonda
 
แบบจำลองการปรับตัวของภาคเกษตรกรรมไทยเมื่ออ้อยและมันสำปะหลังเป็นพืชพลังงานทดแท...
แบบจำลองการปรับตัวของภาคเกษตรกรรมไทยเมื่ออ้อยและมันสำปะหลังเป็นพืชพลังงานทดแท...แบบจำลองการปรับตัวของภาคเกษตรกรรมไทยเมื่ออ้อยและมันสำปะหลังเป็นพืชพลังงานทดแท...
แบบจำลองการปรับตัวของภาคเกษตรกรรมไทยเมื่ออ้อยและมันสำปะหลังเป็นพืชพลังงานทดแท...Somporn Isvilanonda
 
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14Somporn Isvilanonda
 
ตลาดข้าวโลกและการส่งออกข้าวของไทย
ตลาดข้าวโลกและการส่งออกข้าวของไทยตลาดข้าวโลกและการส่งออกข้าวของไทย
ตลาดข้าวโลกและการส่งออกข้าวของไทยSomporn Isvilanonda
 
การวัดระดับการแข่งขันในตลาดส่งออกข้าวของไทย
การวัดระดับการแข่งขันในตลาดส่งออกข้าวของไทยการวัดระดับการแข่งขันในตลาดส่งออกข้าวของไทย
การวัดระดับการแข่งขันในตลาดส่งออกข้าวของไทยSomporn Isvilanonda
 
ไทยจะทวงแช้มป์ส่งออกข้าวคืนได้ไหมในปี 2557
ไทยจะทวงแช้มป์ส่งออกข้าวคืนได้ไหมในปี 2557ไทยจะทวงแช้มป์ส่งออกข้าวคืนได้ไหมในปี 2557
ไทยจะทวงแช้มป์ส่งออกข้าวคืนได้ไหมในปี 2557Somporn Isvilanonda
 
ข้าวไทยมีอำนาจเหนือตลาดจริงหรือ นิตยสารข้าวไทย ฉบับที่ 38
ข้าวไทยมีอำนาจเหนือตลาดจริงหรือ นิตยสารข้าวไทย ฉบับที่ 38ข้าวไทยมีอำนาจเหนือตลาดจริงหรือ นิตยสารข้าวไทย ฉบับที่ 38
ข้าวไทยมีอำนาจเหนือตลาดจริงหรือ นิตยสารข้าวไทย ฉบับที่ 38Somporn Isvilanonda
 
Glutinousrice economy and sustainable production 4 october 2013
Glutinousrice economy and sustainable production  4 october 2013Glutinousrice economy and sustainable production  4 october 2013
Glutinousrice economy and sustainable production 4 october 2013Somporn Isvilanonda
 
เอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาด
เอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาดเอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาด
เอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาดSomporn Isvilanonda
 
Sucessful factor for small holder rice production in thailand by somporn
Sucessful factor for small holder rice production in thailand by sompornSucessful factor for small holder rice production in thailand by somporn
Sucessful factor for small holder rice production in thailand by sompornSomporn Isvilanonda
 
ข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจาย
ข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจายข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจาย
ข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจายSomporn Isvilanonda
 
พลวัตความยากจน Dynamics of poverty
พลวัตความยากจน Dynamics of povertyพลวัตความยากจน Dynamics of poverty
พลวัตความยากจน Dynamics of povertySomporn Isvilanonda
 
บรรยาย การก้าวข้ามโครงการรับจำนำข้าว สถาบันวิจัยสังคมศาสตร์ 26 กุมภาพันธ์ 2557
บรรยาย การก้าวข้ามโครงการรับจำนำข้าว สถาบันวิจัยสังคมศาสตร์   26 กุมภาพันธ์ 2557บรรยาย การก้าวข้ามโครงการรับจำนำข้าว สถาบันวิจัยสังคมศาสตร์   26 กุมภาพันธ์ 2557
บรรยาย การก้าวข้ามโครงการรับจำนำข้าว สถาบันวิจัยสังคมศาสตร์ 26 กุมภาพันธ์ 2557Somporn Isvilanonda
 
ภาวะคุกคามของความมั่นคงอาหาร 2 03-57 อ. สมพร
ภาวะคุกคามของความมั่นคงอาหาร  2 03-57 อ. สมพรภาวะคุกคามของความมั่นคงอาหาร  2 03-57 อ. สมพร
ภาวะคุกคามของความมั่นคงอาหาร 2 03-57 อ. สมพรSomporn Isvilanonda
 

More from Somporn Isvilanonda (20)

Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15
Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15
Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15
 
Sedsad no.44 (1)
Sedsad no.44 (1)Sedsad no.44 (1)
Sedsad no.44 (1)
 
Sedsad no.45 (1)
Sedsad no.45 (1)Sedsad no.45 (1)
Sedsad no.45 (1)
 
พลวัตเศรษฐกิจข้าวไทย
พลวัตเศรษฐกิจข้าวไทยพลวัตเศรษฐกิจข้าวไทย
พลวัตเศรษฐกิจข้าวไทย
 
ข้าวหอมมะลิไทยกับความจำเพาะที่กำลังจะจางหายไป
ข้าวหอมมะลิไทยกับความจำเพาะที่กำลังจะจางหายไปข้าวหอมมะลิไทยกับความจำเพาะที่กำลังจะจางหายไป
ข้าวหอมมะลิไทยกับความจำเพาะที่กำลังจะจางหายไป
 
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
แบบจำลองการปรับตัวของภาคเกษตรกรรมไทยเมื่ออ้อยและมันสำปะหลังเป็นพืชพลังงานทดแท...
แบบจำลองการปรับตัวของภาคเกษตรกรรมไทยเมื่ออ้อยและมันสำปะหลังเป็นพืชพลังงานทดแท...แบบจำลองการปรับตัวของภาคเกษตรกรรมไทยเมื่ออ้อยและมันสำปะหลังเป็นพืชพลังงานทดแท...
แบบจำลองการปรับตัวของภาคเกษตรกรรมไทยเมื่ออ้อยและมันสำปะหลังเป็นพืชพลังงานทดแท...
 
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
 
ตลาดข้าวโลกและการส่งออกข้าวของไทย
ตลาดข้าวโลกและการส่งออกข้าวของไทยตลาดข้าวโลกและการส่งออกข้าวของไทย
ตลาดข้าวโลกและการส่งออกข้าวของไทย
 
การวัดระดับการแข่งขันในตลาดส่งออกข้าวของไทย
การวัดระดับการแข่งขันในตลาดส่งออกข้าวของไทยการวัดระดับการแข่งขันในตลาดส่งออกข้าวของไทย
การวัดระดับการแข่งขันในตลาดส่งออกข้าวของไทย
 
ไทยจะทวงแช้มป์ส่งออกข้าวคืนได้ไหมในปี 2557
ไทยจะทวงแช้มป์ส่งออกข้าวคืนได้ไหมในปี 2557ไทยจะทวงแช้มป์ส่งออกข้าวคืนได้ไหมในปี 2557
ไทยจะทวงแช้มป์ส่งออกข้าวคืนได้ไหมในปี 2557
 
ข้าวไทยมีอำนาจเหนือตลาดจริงหรือ นิตยสารข้าวไทย ฉบับที่ 38
ข้าวไทยมีอำนาจเหนือตลาดจริงหรือ นิตยสารข้าวไทย ฉบับที่ 38ข้าวไทยมีอำนาจเหนือตลาดจริงหรือ นิตยสารข้าวไทย ฉบับที่ 38
ข้าวไทยมีอำนาจเหนือตลาดจริงหรือ นิตยสารข้าวไทย ฉบับที่ 38
 
Glutinousrice economy and sustainable production 4 october 2013
Glutinousrice economy and sustainable production  4 october 2013Glutinousrice economy and sustainable production  4 october 2013
Glutinousrice economy and sustainable production 4 october 2013
 
เอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาด
เอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาดเอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาด
เอกสารวิชาการข้าวหอมมะลิบรรจุถุง โซ่อุปทานและโครงสร้างตลาด
 
Sucessful factor for small holder rice production in thailand by somporn
Sucessful factor for small holder rice production in thailand by sompornSucessful factor for small holder rice production in thailand by somporn
Sucessful factor for small holder rice production in thailand by somporn
 
ข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจาย
ข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจายข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจาย
ข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจาย
 
พลวัตความยากจน Dynamics of poverty
พลวัตความยากจน Dynamics of povertyพลวัตความยากจน Dynamics of poverty
พลวัตความยากจน Dynamics of poverty
 
บรรยาย การก้าวข้ามโครงการรับจำนำข้าว สถาบันวิจัยสังคมศาสตร์ 26 กุมภาพันธ์ 2557
บรรยาย การก้าวข้ามโครงการรับจำนำข้าว สถาบันวิจัยสังคมศาสตร์   26 กุมภาพันธ์ 2557บรรยาย การก้าวข้ามโครงการรับจำนำข้าว สถาบันวิจัยสังคมศาสตร์   26 กุมภาพันธ์ 2557
บรรยาย การก้าวข้ามโครงการรับจำนำข้าว สถาบันวิจัยสังคมศาสตร์ 26 กุมภาพันธ์ 2557
 
ภาวะคุกคามของความมั่นคงอาหาร 2 03-57 อ. สมพร
ภาวะคุกคามของความมั่นคงอาหาร  2 03-57 อ. สมพรภาวะคุกคามของความมั่นคงอาหาร  2 03-57 อ. สมพร
ภาวะคุกคามของความมั่นคงอาหาร 2 03-57 อ. สมพร
 

พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)