SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2561 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นประธานใน
พิธีเปิดการประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ 5 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ ซึ่งจัดขึ้นเพื่อเป็นเวที
วิชาการนาเสนอ แลกเปลี่ยน และจัดแสดงผลงานวิจัยและนวัตกรรมด้านข้าวจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
และเกษตรกร รวมทั้งชุมชนท้องถิ่นทั่วประเทศ อีกทั้งเพื่อสร้างและพัฒนาเครือข่ายนักวิจัยด้านข้าวของประเทศ
การจัดประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติเกิดจากความร่วมมือของ 9 องค์กร ได้แก่ มูลนิธิข้าวไทย ในพระบรม
ราชูปถัมภ์ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ กรมการ
ข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
และสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยจัดเป็นประจาทุกๆ 2 ปี
การประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ 5
“งานวิจัยข้าวไทย สู่ไทยแลนด์4.0”
สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร
(สท.) ได้นาผลงานนวัตกรรมการแปรรูปข้าวเข้าร่วมจัด
แสดง อาทิ ผลิตภัณฑ์จากนวัตกรรมฟางข้าวอินทรีย์ และ
ผลิตภัณฑ์จากการแปรรูปและเพิ่มมูลค่าข้าว ได้แก่ เซรั่ม
บารุงผิวหน้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์ เซรั่มบารุงผิวหน้า
จากพญาข้าว ลิปบาล์มไขราข้าว เม็ดเคี้ยวข้าวไรซ์เบอร์รี่
ผงนมข้าวหอมชลสิทธิ์ และเครื่องดื่มน้าข้าวกล้องงอกผสม
ถังเช่าและชะเอมเทศ
ภายในงานยังมีการบรรยายพิเศษเรื่อง “อนาคตข้าว
ไทย ทาไมต้อง Thailand 4.0” โดย ดร.วิวัฒน์ ศัลย
กาธร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การบรรยายพิเศษ “ทิศทางงานวิจัยด้านข้าวในภาพรวม
และตลาดข้าวในอนาคต” และการเสวนาในหัวข้อ “Rice
Innovation”
•ข้าวกับ โภชนะเภสัช (nutraceutical)
•ข้าวกับ เวชสาอาง
•ข้าวกับการพัฒนานวัตกรรมจากภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
•ข้าวกับนวัตกรรมการผลิต
นอกจากนี้ยังมีการนาเสนอผลงานวิจัยใน 4
กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มการปรับปรุงพันธุ์ข้าว กลุ่มเทคโนโลยี
การผลิตข้าว กลุ่มนวัตกรรม เพิ่มมูลค่าและการแปร
รูป และกลุ่มเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและโลจิ
สติกส์
19
พฤษภาคม
2561
1
ฝ่ายจัดการความรู้เพื่อเกษตรและชุมชน สท. ได้นาเทคโนโลยีนวัตกรรมเกษตร ร่วมจัดนิทรรศการใน
งาน “มหกรรมวิทย์สร้างอาชีพ ยกระดับภูมิภาค” เมื่อวันที่ 7-8 พฤษภาคม 2561
ณ หอประชุมวิชชาอัตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ จัดโดย
ความร่วมมือของหน่วยงานเครือข่าย ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์บริการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)
สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้าและการเกษตร สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สภาเกษตรกรแห่งชาติ กรมพัฒนาชุมชน และโครงการสานพลังประชารัฐ โดย
มีวัตถุประสงค์เพื่อขับเคลื่อนวิทยาศาสตร์ ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมฐานราก
กิจกรรมในงานมหกรรมวิทย์สร้างอาชีพฯ ณ จังหวัดบุรีรัมย์ ประกอบด้วย นิทรรศการของหน่วยงาน
เครือข่ายในโครงการ “1 ตาบล 1 นวัตกรรมเกษตร” และโครงการยกระดับโอทอป 10 จังหวัดเป้าหมาย
รวมทั้งนิทรรศการผลงานภาพรวมองค์กรที่ประสบผลสาเร็จในการนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
(วทน.) เข้าไปพัฒนาเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ และการบรรยาย/เสวนาจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิในหัวข้อต่างๆ
ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาศักยภาพของเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และผู้ประกอบการในพื้นที่ อาทิ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับเกษตรกรไทย การพัฒนาผลิตภัณฑ์โอทอปด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การยกระดับเศรษฐกิจจังหวัดบุรีรัมย์ด้วย วทน.
นอกจากนี้ภายในงานยังมีกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการโดยนักวิจัยจาก สวทช. ในหัวข้อ “การผลิต
ราบิววาเรียป้องกันและกาจัดศัตรูพืช” ซึ่งผู้เข้าอบรมสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ในพื้นที่ต่อไป
“มหกรรมวิทย์สร้างอาชีพ ยกระดับภูมิภาค”
19
พฤษภาคม
2561
2
“ปลูกความหลากหลาย สืบสาน
มรดกแผ่นดิน” คุณโชคดี ปรโลกา
นนท์หรือลุงโชค เจ้าของสวนลุงโชค บ้านคลอง
ทุเรียน ตาบลวังน้าเขียว อาเภอวังน้าเขียว จังหวัด
นครราชสีมา เป็นอีกหนึ่งเกษตรกรที่เน้นการปลูกพืชพรรณ
หลายชนิดรวมกันในพื้นที่ 100xไร่ เป็นการทาเกษตรอย่าง
ยั่งยืนที่เน้นการปลูกไม้ยืนต้นที่ใช้ประโยชน์จากเนื้อไม้เป็น
หลักร่วมกับการปลูกพืชเศรษฐกิจและพืชผักสวนครัว การ
ทาสวนในลักษณะผสมผสานที่มีลักษณะคล้ายกับ
เลียนแบบระบบนิเวศธรรมชาติ
ลุงโชคเริ่มทาเกษตรจากการปลูกพืชเศรษฐกิจ อาทิ
ข้าวโพด มันสาปะหลัง แต่หลังจากทามาระยะหนึ่งพบว่า
หากยังทาสวนโดยปลูกเพียงแต่พืชเศรษฐกิจอย่างเดียวคง
ยังไม่พอ เนื่องจากประสบปัญหาทั้งในเรื่องการลงทุน ดิน
ฟ้าอากาศ การตลาด และสภาพดินที่เสื่อมโทรม และยังมอง
ว่าการทาสวนในลักษณะนี้จะส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมด้วย
จึงเริ่มหันมาปรับวิธีคิด “ปลูกกิน เหลือกิน แล้วขาย”
จากแนวคิดดังกล่าวจึงเป็นจุดเริ่มต้นการทาเกษตร
ทางเลือก เริ่มฟื้นฟูสภาพดินโดยปลูกไม้ยืนต้น เช่น ต้น
หว้า ยางนา ฝาง พะยูง ตะเคียนทอง ไม้ผล ฯลฯ ปลูก
ผสมผสานกัน จากนั้นลุงโชคเริ่มคานึงเรื่องการลดต้นทุน
และการขยายพันธุ์ไม้ด้วย
“ยอมรับว่าตอนนั้นเปลี่ยนวิธีคิด
ไปเลย จากที่เมื่อก่อนเราปลูกเพื่อ
ขาย ตอนหลังเราปลูกเพื่อกินแทน
แล้วพอเหลือจากกินก็เอาไปขายได้
จนทุกวันนี้รายได้ที่มีก็มาจากทั้งการ
ขายผลผลิตและการขายพันธุ ์พืช” ลุง
โชคกล่าว
ลุงโชคเริ่มสนใจการปลูกไผ่จากการสังเกตเห็น
พื้นที่แปลงหนึ่งที่ปลูกพืชใดก็ไม่ขึ้น จึงได้ลองนาไผ่เลี้ยง
ของพ่อตามาปลูก พบว่าสามารถปลูกขึ้น จึงทาให้ลุงโชค
สนใจปลูกไผ่และเริ่มสะสมไผ่สายพันธุ์ต่างๆ ทั้งไผ่ซาง
ไผ่เลี้ยง ไผ่ตง เป็นต้น ซึ่งเป็นทั้งพันธุ์กินหน่อและการใช้
ประโยชน์ ปั จจุบันสวนลุงโชคมีพันธุ์ ไผ่กว่า
10 ชนิด 90 สายพันธุ์
เรียนจากคน รู ้จากสวน...สวนแห่งการเรียนรู ้
19
พฤษภาคม
2561
3
หลังจากที่ลุงโชคเริ่มศึกษาเรื่องไผ่อย่างจริงจังพบว่า ไผ่เป็นพืชที่ปลูกง่าย ขยายพันธุ์ง่าย
ใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วนทั้งโคน กลางลา ปลายลา และกิ่ง ดังเช่น ไผ่สายพันธุ์ซางหม่น ซางนวล เป็นไผ่ที่ใช้
ประโยชน์ได้ทุกส่วนตั้งแต่โคนจนถึงกิ่งและสามารถกินหน่อได้ นอกจากนี้ด้วยลักษณะลาตรงขนาดใหญ่ เนื้อ
หนา จึงเหมาะสาหรับนามาใช้ในงานก่อสร้าง และการทา เฟอร์นิเจอร์ต่างๆ
ลักษณะการปลูกไผ่ของลุงโชคไม่ใช่เพียงปลูกไผ่ล้วนๆ แต่มีทั้งไผ่ในป่า ไผ่ตามคันนา ไผ่ตามคลอง
สาหรับการนาไปใช้ประโยชน์นั้น ลุงโชคนาไผ่ส่วนกลางลามาแปรรูปตัด เจาะ แล้วแช่ด้วยเกลือบอแรกซ์เพื่อ
ป้องกันมอด สัดส่วนเกลือบอแรกซ์ 1 กิโลกรัม ต่อน้า 10 ลิตร แช่ทิ้งไว้ประมาณ 7-10 วัน ขึ้นอยู่กับขนาดของ
ไผ่ สาหรับโคนไผ่ที่ไม่ได้ใช้ ลุงโชคนามาเผาถ่านชีวภาพหรือไบโอชาร์ สาหรับใช้เป็นเชื้อเพลิง ส่วนตรงกอไผ่
สามารถเอาเชื้อเห็ดไปลงไปเพาะเป็นเห็ดเยื่อไผ่ นับว่าเป็นการใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่าและสร้างรายได้เป็น
อย่างมาก
ลุงโชคกล่าวว่า “การทาเกษตรนั้นต้องคานึงถึงเรื่องการจัดการทั้งระบบทั้งดิน น้า พันธุกรรม เวลา และ
สุขภาพ อย่างค่อยเป็นค่อยไปพร้อมกันทุกมิติ”
ปัจจุบันสวนลุงโชคเป็นแหล่งเรียนรู้และศึกษาดูงานเรื่องเกษตรทางเลือกที่สอดคล้องกับแนวคิดการใช้
ทรัพยากรอย่างสมดุล ยั่งยืน เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยว เยาวชน และบุคคลทั่วไปที่รักธรรมชาติเข้ามาสัมผัส ไม่
ว่าจะเป็นกลุ่มเกษตรกรที่สนใจ หรือการจัดกิจกรรมค่ายเยาวชน และที่สาคัญลุงโชคยังสนับสนุนให้นักศึกษาที่
สนใจมาทางานวิจัยอีกด้วย นอกจากนี้ที่สวนลุงโชคยังมีผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผลผลิตในสวน เช่น หลอดไม้ไผ่
ชาฝาง ถ่านไบโอชาร์ พวงกุญแจจากผลฝาง ฯลฯ
จากแนวคิดสู่บทปฏิบัติการจริง ปรับเปลี่ยนรูปแบบการเกษตรสู่การพึ่งตนเอง ลดการพึ่งปัจจัยภายนอก
สร้างกระบวนการเรียนรู้ใหม่ที่เอื้อต่อการฟื้นฟูวิถีชุมชนเกษตรที่สมดุล ยั่งยืน ดังนั้นการตกผลึกทางความคิดจน
พบทางรอดมุ่งสู่ความสุขที่แท้จริง ไม่ใช่เรื่องเทคนิคทางการเกษตร แต่เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่กลายเป็น
ปรัชญาสร้างทางออกให้ชีวิต
4
การผลิตปุ๋ ยอินทรีย์ด้วยไส้เดือนดิน
เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2561 ฝ่าย
ยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตร ร่วมกับฝ่ายถ่ายทอด
เทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ
“การผลิตปุ๋ ยอินทรีย์ด้วยไส้เดือน
ดิน” ณ ฟาร์มไส้เดือนดินไม้งาม ต.เทพารักษ์ อ.เมือง
ส มุ ท ร ป ร า ก า ร
จ.สมุทรปราการ ให้กับเกษตรกรแกนนาผู้ผลิตสินค้า
ชุมชนให้กับเซ็นทรัล กรุ๊ป และท็อปส์ ซุปเปอร์มาร์เก็ต
ในพื้นที่จ.เพชรบูรณ์ 3 กลุ่ม (สหกรณ์ผลิตผักน้าดุกใต้
จากัด สหกรณ์รักษ์ศรีเทพ จากัด และสหกรณ์รวมกลุ่ม
การเกษตรน้าหนาว) จานวน 11 ท่าน และมีบุคลากร
จากเซ็นทรัล กรุ๊ป จานวน 3 ท่าน เข้าร่วมฝึกอบรมด้วย
โดยมีคุณนุจรี โลหะกุล เป็นวิทยากร
การจัดอบรมฯ ครั้งนี้เพื่อถ่ายทอดและเผยแพร่
ความรู้ด้านการกาจัดขยะอินทรีย์เพื่อผลิตปุ๋ ยมูลไส้เดือน
ดินสาหรับการผลิตผักปลอดภัยแก่เกษตรกรแกนนาใน
พื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ที่ผลิตสินค้าชุมชนส่งให้เซ็นทรัล
กรุ๊ป และท็อปส์ ซุปเปอร์มาร์เก็ต นอกจากนี้เพื่อส่งเสริม
ให้เกิดการใช้ประโยชน์จากขยะอินทรีย์และวัสดุเหลือทิ้ง
ทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์ ลดมลภาวะต่อ
สิ่งแวดล้อม
หลังจากการฝึกอบรมฯ ผู้เข้าอบรมได้รับพ่อแม่พันธุ์
ไส้เดือนดินไปทดลองเลี้ยงกลุ่มละ 1 ชุด โดยแต่ละกลุ่ม
จะต้องร่วมกันดูแลและส่งข้อมูลการทดลองเลี้ยง รวมทั้ง
ปัญหาที่เกิดขึ้นในกลุ่มไลน์ที่ประกอบด้วย ตัวแทน
เกษตรกรที่รับการอบรมฯ บุคลากรจาก สวทช. เจ้าหน้าที่
เซ็นทรัล กรุ๊ป และวิทยากร ทั้งนี้ สท. มีแผนติดตาม
ความก้าวหน้าการทดลองเลี้ยงในพื้นที่จริง รวมทั้งการวาง
แผนการสร้างบ่อเลี้ยง เพื่อให้แต่ละสหกรณ์ได้ใช้ประโยชน์
จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรที่แต่ละชุมชนมีอยู่ไปผลิต
ปุ๋ ยอินทรีย์ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายการปรับเปลี่ยนการผลิต
ผักเป็นแบบออแกนิกส์ตามความต้องการของตลาด และ
การลดการใช้สารเคมีของเกษตรกรในชุมชนต่อไป
19
พฤษภาคม
2561
5
มันสาปะหลังเป็นพืชไร่ที่นิยมปลูกกันมากในประเทศไทย และด้วยราคามันสาปะหลังอยู่ในเกณฑ์ดี
ทาให้ภาครัฐมีโครงการและมาตรการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกมันสาปะหลังอย่างต่อเนื่อง รวมถึง
การระบาดของเพลี้ยแป้งที่ลดลง ส่งผลให้เกษตรกรสามารถขยายพื้นที่ปลูก ดูแลรักษามันสาปะหลังดีขึ้น
ทาให้ผลผลิตต่อไร่เพิ่มสูงขึ้น แต่พบว่าผลผลิตเฉลี่ยของประเทศมีปริมาณเพียง 3 ตันต่อไร่ ซึ่งเกษตรกร
สามารถเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้นได้ สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ได้เล็งเห็นถึง
ปัญหานี้จึงได้ดาเนินงานขยายผลการเพิ่มผลผลิตมันสาปะหลังเพื่อยกระดับผลผลิต โดยการสร้างแปลง
ต้นแบบการเรียนรู้ในการนาเทคโนโลยีไปใช้บริหารจัดการและเกิดการขยายผลไปยังกลุ่มเกษตรกรเพื่อให้
เกิดการสร้างรายได้อย่างยั่งยืน
ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน สท. ร่วมกับกรมวิชาการเกษตรและกรมพัฒนาที่ดิน
ลงพื้นที่ให้ความรู้ต้นทุนการผลิต เชื่อมโยงไปเรื่องเทคโนโลยีที่จะลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
มันสาปะหลังในพื้นที่หมู่บ้านนาเยีย ต.นาเยีย อ.นาเยีย จ.อุบลราชธานี ซึ่งเป็นอีกหนึ่งพื้นที่ที่มีเกษตรกร
ประมาณ 400 ครัวเรือน หรือกว่า 80% ของหมู่บ้าน ปลูกมันสาปะหลัง โดยมีพื้นที่ปลูกมันสาปะหลัง
ประมาณ 2,000 ไร่ เฉลี่ยครัวเรือนล่ะ 5-10..ไร่ แต่ยังไม่มีการจัดการตามหลักวิชาการ
หลังจากการลงพื้นที่ให้ความรู้ครั้งนี้จะนาไปสู่การจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชม “ผู้ปลูกมันสาปะหลังนา
เยียเข้มแข็ง” เพื่อดาเนินงานขับเคลื่อนการเพิ่มผลผลิตมันสาปะหลังอย่างมีประสิทธิภาพและก่อให้เกิด
ความยั่งยืน โดยตั้งเป้าให้ค่าเฉลี่ยผลผลิตมันสาปะหลังในพื้นที่เพิ่มขึ้นเป็น 7 ตันต่อไร่ ในฤดูปลูกถัดไป
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสาปะหลังในพื้นที่หมู่บ้านนาเยีย จ.อุบลราชธานี
19
พฤษภาคม
2561
6
“พวกเราเต็มใจรับเทคโนโลยี เราอยากที่จะลองและพัฒนาชุมชน
เพื่อให้ได้ผลผลิตเยอะ”
ปนจานวนมาก ทาให้ผลผลิตต่อไร่ต่า อีกทั้งเกษตรกรทานาหว่านซึ่งใช้เมล็ดพันธุ์ต่อไร่สูงเกินความจาเป็น โดย
ใช้ถึง 25-30 กก./ไร่ เนื่องจากเกษตรกรกลัวไม่งอกและต้องการได้ต้นข้าวในปริมาณที่มาก เพื่อให้มีรวงเยอะ
นอกจากนี้ยังใช้ปุ๋ ยมากขึ้น ดังนั้นการปรับเปลี่ยนวิถีการผลิต จึงต้องเริ่มจากการใช้เมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ เป็น
พันธุ์ที่มีความบริสุทธิ์สูง อัตราการงอกได้มาตรฐาน มีความต้านทานโรคแมลง และเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน สท. ร่วมกับศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวพัทลุง จัดอบรมหลักสูตร
“เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ ์ข้าวหอมชลสิทธิ์” เมื่อวันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม
2561 ณ ศาลาหมู่บ้านโคกฉิ่ง เพื่อให้ความรู้การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ลดต้นทุนการผลิต และเป็น
ต้นแบบการบริหารจัดการการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมชลสิทธิ์ที่มีคุณภาพตรงตามมาตรฐานเพื่อใช้ในชุมชน
และสามารถจาหน่ายได้ รวมถึงเป็นการเผยแพร่งานวิจัยและเทคโนโลยีของ สวทช. ให้เกิดการนาไปใช้
ประโยชน์จริง
เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ ์ข้าวหอมชลสิทธิ์
19
พฤษภาคม
2561
7
การอบรมครั้งนี้ได้รับเกียรติจากนายสนิท หนูพ่วง และนางกุหลาบ สัจจะบุญทวี เจ้าหน้าที่ศูนย์เมล็ดพันธุ์
ข้าวพัทลุง เป็นวิทยากร บรรยายหัวข้อ “การลดความชื้นเมล็ดพันธุ์ข้าว” “การผลิตพันธุ์ข้าวคุณภาพดี” และ
“กระบวนการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว” โดยมีเกษตรกรเข้าร่วมอบรม 30 คน และมีระดับความพึง
พอใจการจัดอบรมร้อยละ 92.50
ประชากรส่วนใหญ่ของบ้านคอกวัวและบ้านโคกฉิ่ง ต.
ชัยบุรี อ.เมือง จ.พัทลุง ประกอบอาชีพทานาซึ่งใช้ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นที่สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ยังขาดองค์ความรู้
และเทคโนโลยีมาช่วยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ส่งผลต่อ
คุณภาพผลผลิตและต้นทุนการผลิตที่สูง
ปัญหาสาคัญของเกษตรกรที่ทาให้ผลผลิตต่าและ
ต้นทุนสูงคือ การใช้เมล็ดพันธุ์ไม่มีคุณภาพ มีข้าวดีดข้าวเด้ง
ตอนที่ 1 เทคโนโลยีการจัดการผลิต
10 ข้อปฏิบัติในการผลิตมะม่วง 1) การพักต้น 2) การล้างต้น
3) การตัดแต่งกิ่ง 4) การบารุงต้น 5) การราดสาร 6) การบารุงตาดอก
และการดึงดอก 7) การบารุงช่อดอกและช่อผล 8) การปลิดผลและห่อ
ผล 9) การเก็บเกี่ยว 10) การบรรจุและขนส่ง
ปัญหาที่สาคัญของมะม่วง
โรคพืชที่สาคัญ เช่น แอนแทรคโนส ป้องกันและกาจัดด้วย
การจัดการวัชพืชและซากพืชหลังการตัดแต่งเพื่อลดการสะสม และฉีด
พ่นด้วยเชื้อราไตรโคเดอร ์มา ทุก 3-7 วัน ขึ้นอยู่กับความ
รุนแรงของโรค
แมลงศัตรูที่สาคัญ เช่น แมลงวันผลไม้ ป้องกันและกาจัด
ด้วยการห่อผลมะม่วง เก็บใบที่ร่วงหล่นออกจากแปลง ใช้สารล่อหรือ
กับดัก ใช้เชื้อราบิวเวอเรีย ฉีดพ่นบริเวณต้น ใช้เชื้อราเม
ทาไรเซียม ฉีดลงในดินเพื่อทาลายดักแด้ของหนอนแมลงวัน
ผลไม้
“มะม่วง” ผลไม้เขตร้อนหลากหลายสายพันธุ์ที่ปลูกได้ทั่วไป จากที่เคยปลูกไว้ตามบริเวณบ้าน
ตามหัวไร่ปลายนา ปัจจุบันเป็นหนึ่งในไม้ผลเศรษฐกิจที่นามาปลูกเพื่อการค้าและการส่งออก จากการเพิ่มขึ้น
ทั้งพื้นที่ปลูกและปริมาณผลผลิต เกษตรกรและผู้ประกอบการจึงต้องการเทคโนโลยีเพื่อจัดการการผลิตและ
เพิ่มมูลค่าที่หลากหลาย
สวทช.ภาคเหนือ ร่วมกับหน่วยงานวิชาการจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก รวบรวมชุดเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการผลิตมะม่วงอย่างครบ
วงจร เพื่อร่วมแก้ปัญหาในระดับแปลงปลูก การเก็บรักษาและยืดอายุผลผลิตสด ตลอดจนการแปรรูปผลผลิต
เพื่อเพิ่มมูลค่า เพิ่มช่องทางการจาหน่ายที่หลากหลาย โดยได้รับการประสานเพื่อการถ่ายทอดชุดเทคโนโลยี
ตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง จากสานักงานเกษตรอาเภอบางคล้า และหอการค้าจังหวัดฉะเชิงเทรา และได้
ดาเนินการถ่ายทอดเทคโนโลยีในหัวข้อต่างๆ อาทิ การจัดการแปลงผลิตมะม่วง การจัดการโรคและศัตรูพืช
การควบคุมคุณภาพผลผลิตมะม่วง การยืดอายุการเก็บรักษาเพื่อขยายเวลาการจาหน่ายโดยใช้อุณหภูมิต่า
และการขยายระยะเวลาการสุกแก่ด้วยบรรจุภัณฑ์แอคทีฟดูดซับก๊าซเอทิลีน ตลอดจนการแปรรูปมะม่วงด้วย
เทคโนโลยีและเทคนิคการผลิตที่เหมาะสม
โรคแอนแทรคโนสใน
ระยะต่างๆ
แมลงวัน
ผลไม้
กระบวนการจัดการการผลิตและแปรรูปมะม่วงอย่างครบวงจร
19
พฤษภาคม
2561
8
การยืดอายุมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว
มะม่วงเป็นผลไม้ที่มีอัตราการหายใจเพิ่มสูงขึ้นระหว่างผลไม้สุก การยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงเพื่อ
ขยายระยะเวลาการจาหน่ายจึงมีความสาคัญมาก จึงแนะนาทางเลือกง่ายๆ 2xวิธี คือ การยืดอายุการเก็บ
รักษาในกล่องพลาสติกและซองพลาสติกแบบตั้งเจาะรู และเก็บไว้ในห้องเย็น อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส
เก็บได้ในสภาพดิบ 28 วัน และวางไว้ให้สุกอีก 5-7 วัน
การยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงด้วยบรรจุภัณฑ์แอคทีฟดูดซับก๊าซเอทิลีนที่ผลิตจากด่างทับทิมและ
ดินสอพอง (ต้นทุนในการผลิตเท่ากับ 0.17 บาท ต่อ 10 กรัม) สามารถชะลอการเปลี่ยนแปลงของสี
การลดลงของความแน่นเนื้อ และเก็บรักษาได้นานไม่น้อยกว่า 14 วัน ณ อุณหภูมิประมาณ 20 องศา
เซลเซียส
สารดูดซับก๊าซเอทิลีน ที่ผลิตจากด่างทับทิมและดินสอพอง
9

More Related Content

Similar to E news-may-2018-final

โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya_28030
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya2013
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงPatchanon Winky'n Jindawanich
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงsavokclash
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2tongsuchart
 
โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ.1
โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ.1โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ.1
โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ.1Jaey Chomuan
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงLookNam Intira
 
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาโครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาYves Rattanaphan
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่kima203
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรchompoo28
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5tongsuchart
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนCook-butter
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7tongsuchart
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานSompop Petkleang
 
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ploymhud
 

Similar to E news-may-2018-final (20)

โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2
 
โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ.1
โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ.1โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ.1
โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ.1
 
Thai Arguriculture
Thai Arguriculture Thai Arguriculture
Thai Arguriculture
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาโครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
 
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
 
1 สิ่งประดิษฐ์ ปลูก
1 สิ่งประดิษฐ์  ปลูก1 สิ่งประดิษฐ์  ปลูก
1 สิ่งประดิษฐ์ ปลูก
 

More from นางสาวขวัญธิดา ดงหลง (12)

E news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-finalE news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-final
 
E news-june-2018-final
E news-june-2018-finalE news-june-2018-final
E news-june-2018-final
 
E news-june-2018-final
E news-june-2018-finalE news-june-2018-final
E news-june-2018-final
 
E news-april-2018-final
E news-april-2018-finalE news-april-2018-final
E news-april-2018-final
 
Agritec book 2017
Agritec book 2017Agritec book 2017
Agritec book 2017
 
Agritec book 2017
Agritec book 2017Agritec book 2017
Agritec book 2017
 
E news-march-2018-final
E news-march-2018-finalE news-march-2018-final
E news-march-2018-final
 
E news-january-2018-final
E news-january-2018-finalE news-january-2018-final
E news-january-2018-final
 
E news-november-2017-final
E news-november-2017-finalE news-november-2017-final
E news-november-2017-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 

E news-may-2018-final

  • 1. เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2561 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นประธานใน พิธีเปิดการประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ 5 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ ซึ่งจัดขึ้นเพื่อเป็นเวที วิชาการนาเสนอ แลกเปลี่ยน และจัดแสดงผลงานวิจัยและนวัตกรรมด้านข้าวจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และเกษตรกร รวมทั้งชุมชนท้องถิ่นทั่วประเทศ อีกทั้งเพื่อสร้างและพัฒนาเครือข่ายนักวิจัยด้านข้าวของประเทศ การจัดประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติเกิดจากความร่วมมือของ 9 องค์กร ได้แก่ มูลนิธิข้าวไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ กรมการ ข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยจัดเป็นประจาทุกๆ 2 ปี การประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ 5 “งานวิจัยข้าวไทย สู่ไทยแลนด์4.0” สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ได้นาผลงานนวัตกรรมการแปรรูปข้าวเข้าร่วมจัด แสดง อาทิ ผลิตภัณฑ์จากนวัตกรรมฟางข้าวอินทรีย์ และ ผลิตภัณฑ์จากการแปรรูปและเพิ่มมูลค่าข้าว ได้แก่ เซรั่ม บารุงผิวหน้าจากข้าวหอมมะลิอินทรีย์ เซรั่มบารุงผิวหน้า จากพญาข้าว ลิปบาล์มไขราข้าว เม็ดเคี้ยวข้าวไรซ์เบอร์รี่ ผงนมข้าวหอมชลสิทธิ์ และเครื่องดื่มน้าข้าวกล้องงอกผสม ถังเช่าและชะเอมเทศ ภายในงานยังมีการบรรยายพิเศษเรื่อง “อนาคตข้าว ไทย ทาไมต้อง Thailand 4.0” โดย ดร.วิวัฒน์ ศัลย กาธร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การบรรยายพิเศษ “ทิศทางงานวิจัยด้านข้าวในภาพรวม และตลาดข้าวในอนาคต” และการเสวนาในหัวข้อ “Rice Innovation” •ข้าวกับ โภชนะเภสัช (nutraceutical) •ข้าวกับ เวชสาอาง •ข้าวกับการพัฒนานวัตกรรมจากภูมิปัญญา ท้องถิ่น •ข้าวกับนวัตกรรมการผลิต นอกจากนี้ยังมีการนาเสนอผลงานวิจัยใน 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มการปรับปรุงพันธุ์ข้าว กลุ่มเทคโนโลยี การผลิตข้าว กลุ่มนวัตกรรม เพิ่มมูลค่าและการแปร รูป และกลุ่มเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและโลจิ สติกส์ 19 พฤษภาคม 2561 1
  • 2. ฝ่ายจัดการความรู้เพื่อเกษตรและชุมชน สท. ได้นาเทคโนโลยีนวัตกรรมเกษตร ร่วมจัดนิทรรศการใน งาน “มหกรรมวิทย์สร้างอาชีพ ยกระดับภูมิภาค” เมื่อวันที่ 7-8 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมวิชชาอัตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ จัดโดย ความร่วมมือของหน่วยงานเครือข่าย ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์บริการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้าและการเกษตร สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สภาเกษตรกรแห่งชาติ กรมพัฒนาชุมชน และโครงการสานพลังประชารัฐ โดย มีวัตถุประสงค์เพื่อขับเคลื่อนวิทยาศาสตร์ ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมฐานราก กิจกรรมในงานมหกรรมวิทย์สร้างอาชีพฯ ณ จังหวัดบุรีรัมย์ ประกอบด้วย นิทรรศการของหน่วยงาน เครือข่ายในโครงการ “1 ตาบล 1 นวัตกรรมเกษตร” และโครงการยกระดับโอทอป 10 จังหวัดเป้าหมาย รวมทั้งนิทรรศการผลงานภาพรวมองค์กรที่ประสบผลสาเร็จในการนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) เข้าไปพัฒนาเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ และการบรรยาย/เสวนาจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิในหัวข้อต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาศักยภาพของเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และผู้ประกอบการในพื้นที่ อาทิ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับเกษตรกรไทย การพัฒนาผลิตภัณฑ์โอทอปด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การยกระดับเศรษฐกิจจังหวัดบุรีรัมย์ด้วย วทน. นอกจากนี้ภายในงานยังมีกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการโดยนักวิจัยจาก สวทช. ในหัวข้อ “การผลิต ราบิววาเรียป้องกันและกาจัดศัตรูพืช” ซึ่งผู้เข้าอบรมสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ในพื้นที่ต่อไป “มหกรรมวิทย์สร้างอาชีพ ยกระดับภูมิภาค” 19 พฤษภาคม 2561 2
  • 3. “ปลูกความหลากหลาย สืบสาน มรดกแผ่นดิน” คุณโชคดี ปรโลกา นนท์หรือลุงโชค เจ้าของสวนลุงโชค บ้านคลอง ทุเรียน ตาบลวังน้าเขียว อาเภอวังน้าเขียว จังหวัด นครราชสีมา เป็นอีกหนึ่งเกษตรกรที่เน้นการปลูกพืชพรรณ หลายชนิดรวมกันในพื้นที่ 100xไร่ เป็นการทาเกษตรอย่าง ยั่งยืนที่เน้นการปลูกไม้ยืนต้นที่ใช้ประโยชน์จากเนื้อไม้เป็น หลักร่วมกับการปลูกพืชเศรษฐกิจและพืชผักสวนครัว การ ทาสวนในลักษณะผสมผสานที่มีลักษณะคล้ายกับ เลียนแบบระบบนิเวศธรรมชาติ ลุงโชคเริ่มทาเกษตรจากการปลูกพืชเศรษฐกิจ อาทิ ข้าวโพด มันสาปะหลัง แต่หลังจากทามาระยะหนึ่งพบว่า หากยังทาสวนโดยปลูกเพียงแต่พืชเศรษฐกิจอย่างเดียวคง ยังไม่พอ เนื่องจากประสบปัญหาทั้งในเรื่องการลงทุน ดิน ฟ้าอากาศ การตลาด และสภาพดินที่เสื่อมโทรม และยังมอง ว่าการทาสวนในลักษณะนี้จะส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมด้วย จึงเริ่มหันมาปรับวิธีคิด “ปลูกกิน เหลือกิน แล้วขาย” จากแนวคิดดังกล่าวจึงเป็นจุดเริ่มต้นการทาเกษตร ทางเลือก เริ่มฟื้นฟูสภาพดินโดยปลูกไม้ยืนต้น เช่น ต้น หว้า ยางนา ฝาง พะยูง ตะเคียนทอง ไม้ผล ฯลฯ ปลูก ผสมผสานกัน จากนั้นลุงโชคเริ่มคานึงเรื่องการลดต้นทุน และการขยายพันธุ์ไม้ด้วย “ยอมรับว่าตอนนั้นเปลี่ยนวิธีคิด ไปเลย จากที่เมื่อก่อนเราปลูกเพื่อ ขาย ตอนหลังเราปลูกเพื่อกินแทน แล้วพอเหลือจากกินก็เอาไปขายได้ จนทุกวันนี้รายได้ที่มีก็มาจากทั้งการ ขายผลผลิตและการขายพันธุ ์พืช” ลุง โชคกล่าว ลุงโชคเริ่มสนใจการปลูกไผ่จากการสังเกตเห็น พื้นที่แปลงหนึ่งที่ปลูกพืชใดก็ไม่ขึ้น จึงได้ลองนาไผ่เลี้ยง ของพ่อตามาปลูก พบว่าสามารถปลูกขึ้น จึงทาให้ลุงโชค สนใจปลูกไผ่และเริ่มสะสมไผ่สายพันธุ์ต่างๆ ทั้งไผ่ซาง ไผ่เลี้ยง ไผ่ตง เป็นต้น ซึ่งเป็นทั้งพันธุ์กินหน่อและการใช้ ประโยชน์ ปั จจุบันสวนลุงโชคมีพันธุ์ ไผ่กว่า 10 ชนิด 90 สายพันธุ์ เรียนจากคน รู ้จากสวน...สวนแห่งการเรียนรู ้ 19 พฤษภาคม 2561 3
  • 4. หลังจากที่ลุงโชคเริ่มศึกษาเรื่องไผ่อย่างจริงจังพบว่า ไผ่เป็นพืชที่ปลูกง่าย ขยายพันธุ์ง่าย ใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วนทั้งโคน กลางลา ปลายลา และกิ่ง ดังเช่น ไผ่สายพันธุ์ซางหม่น ซางนวล เป็นไผ่ที่ใช้ ประโยชน์ได้ทุกส่วนตั้งแต่โคนจนถึงกิ่งและสามารถกินหน่อได้ นอกจากนี้ด้วยลักษณะลาตรงขนาดใหญ่ เนื้อ หนา จึงเหมาะสาหรับนามาใช้ในงานก่อสร้าง และการทา เฟอร์นิเจอร์ต่างๆ ลักษณะการปลูกไผ่ของลุงโชคไม่ใช่เพียงปลูกไผ่ล้วนๆ แต่มีทั้งไผ่ในป่า ไผ่ตามคันนา ไผ่ตามคลอง สาหรับการนาไปใช้ประโยชน์นั้น ลุงโชคนาไผ่ส่วนกลางลามาแปรรูปตัด เจาะ แล้วแช่ด้วยเกลือบอแรกซ์เพื่อ ป้องกันมอด สัดส่วนเกลือบอแรกซ์ 1 กิโลกรัม ต่อน้า 10 ลิตร แช่ทิ้งไว้ประมาณ 7-10 วัน ขึ้นอยู่กับขนาดของ ไผ่ สาหรับโคนไผ่ที่ไม่ได้ใช้ ลุงโชคนามาเผาถ่านชีวภาพหรือไบโอชาร์ สาหรับใช้เป็นเชื้อเพลิง ส่วนตรงกอไผ่ สามารถเอาเชื้อเห็ดไปลงไปเพาะเป็นเห็ดเยื่อไผ่ นับว่าเป็นการใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่าและสร้างรายได้เป็น อย่างมาก ลุงโชคกล่าวว่า “การทาเกษตรนั้นต้องคานึงถึงเรื่องการจัดการทั้งระบบทั้งดิน น้า พันธุกรรม เวลา และ สุขภาพ อย่างค่อยเป็นค่อยไปพร้อมกันทุกมิติ” ปัจจุบันสวนลุงโชคเป็นแหล่งเรียนรู้และศึกษาดูงานเรื่องเกษตรทางเลือกที่สอดคล้องกับแนวคิดการใช้ ทรัพยากรอย่างสมดุล ยั่งยืน เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยว เยาวชน และบุคคลทั่วไปที่รักธรรมชาติเข้ามาสัมผัส ไม่ ว่าจะเป็นกลุ่มเกษตรกรที่สนใจ หรือการจัดกิจกรรมค่ายเยาวชน และที่สาคัญลุงโชคยังสนับสนุนให้นักศึกษาที่ สนใจมาทางานวิจัยอีกด้วย นอกจากนี้ที่สวนลุงโชคยังมีผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผลผลิตในสวน เช่น หลอดไม้ไผ่ ชาฝาง ถ่านไบโอชาร์ พวงกุญแจจากผลฝาง ฯลฯ จากแนวคิดสู่บทปฏิบัติการจริง ปรับเปลี่ยนรูปแบบการเกษตรสู่การพึ่งตนเอง ลดการพึ่งปัจจัยภายนอก สร้างกระบวนการเรียนรู้ใหม่ที่เอื้อต่อการฟื้นฟูวิถีชุมชนเกษตรที่สมดุล ยั่งยืน ดังนั้นการตกผลึกทางความคิดจน พบทางรอดมุ่งสู่ความสุขที่แท้จริง ไม่ใช่เรื่องเทคนิคทางการเกษตร แต่เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่กลายเป็น ปรัชญาสร้างทางออกให้ชีวิต 4
  • 5. การผลิตปุ๋ ยอินทรีย์ด้วยไส้เดือนดิน เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2561 ฝ่าย ยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตร ร่วมกับฝ่ายถ่ายทอด เทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “การผลิตปุ๋ ยอินทรีย์ด้วยไส้เดือน ดิน” ณ ฟาร์มไส้เดือนดินไม้งาม ต.เทพารักษ์ อ.เมือง ส มุ ท ร ป ร า ก า ร จ.สมุทรปราการ ให้กับเกษตรกรแกนนาผู้ผลิตสินค้า ชุมชนให้กับเซ็นทรัล กรุ๊ป และท็อปส์ ซุปเปอร์มาร์เก็ต ในพื้นที่จ.เพชรบูรณ์ 3 กลุ่ม (สหกรณ์ผลิตผักน้าดุกใต้ จากัด สหกรณ์รักษ์ศรีเทพ จากัด และสหกรณ์รวมกลุ่ม การเกษตรน้าหนาว) จานวน 11 ท่าน และมีบุคลากร จากเซ็นทรัล กรุ๊ป จานวน 3 ท่าน เข้าร่วมฝึกอบรมด้วย โดยมีคุณนุจรี โลหะกุล เป็นวิทยากร การจัดอบรมฯ ครั้งนี้เพื่อถ่ายทอดและเผยแพร่ ความรู้ด้านการกาจัดขยะอินทรีย์เพื่อผลิตปุ๋ ยมูลไส้เดือน ดินสาหรับการผลิตผักปลอดภัยแก่เกษตรกรแกนนาใน พื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ที่ผลิตสินค้าชุมชนส่งให้เซ็นทรัล กรุ๊ป และท็อปส์ ซุปเปอร์มาร์เก็ต นอกจากนี้เพื่อส่งเสริม ให้เกิดการใช้ประโยชน์จากขยะอินทรีย์และวัสดุเหลือทิ้ง ทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์ ลดมลภาวะต่อ สิ่งแวดล้อม หลังจากการฝึกอบรมฯ ผู้เข้าอบรมได้รับพ่อแม่พันธุ์ ไส้เดือนดินไปทดลองเลี้ยงกลุ่มละ 1 ชุด โดยแต่ละกลุ่ม จะต้องร่วมกันดูแลและส่งข้อมูลการทดลองเลี้ยง รวมทั้ง ปัญหาที่เกิดขึ้นในกลุ่มไลน์ที่ประกอบด้วย ตัวแทน เกษตรกรที่รับการอบรมฯ บุคลากรจาก สวทช. เจ้าหน้าที่ เซ็นทรัล กรุ๊ป และวิทยากร ทั้งนี้ สท. มีแผนติดตาม ความก้าวหน้าการทดลองเลี้ยงในพื้นที่จริง รวมทั้งการวาง แผนการสร้างบ่อเลี้ยง เพื่อให้แต่ละสหกรณ์ได้ใช้ประโยชน์ จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรที่แต่ละชุมชนมีอยู่ไปผลิต ปุ๋ ยอินทรีย์ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายการปรับเปลี่ยนการผลิต ผักเป็นแบบออแกนิกส์ตามความต้องการของตลาด และ การลดการใช้สารเคมีของเกษตรกรในชุมชนต่อไป 19 พฤษภาคม 2561 5
  • 6. มันสาปะหลังเป็นพืชไร่ที่นิยมปลูกกันมากในประเทศไทย และด้วยราคามันสาปะหลังอยู่ในเกณฑ์ดี ทาให้ภาครัฐมีโครงการและมาตรการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกมันสาปะหลังอย่างต่อเนื่อง รวมถึง การระบาดของเพลี้ยแป้งที่ลดลง ส่งผลให้เกษตรกรสามารถขยายพื้นที่ปลูก ดูแลรักษามันสาปะหลังดีขึ้น ทาให้ผลผลิตต่อไร่เพิ่มสูงขึ้น แต่พบว่าผลผลิตเฉลี่ยของประเทศมีปริมาณเพียง 3 ตันต่อไร่ ซึ่งเกษตรกร สามารถเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้นได้ สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ได้เล็งเห็นถึง ปัญหานี้จึงได้ดาเนินงานขยายผลการเพิ่มผลผลิตมันสาปะหลังเพื่อยกระดับผลผลิต โดยการสร้างแปลง ต้นแบบการเรียนรู้ในการนาเทคโนโลยีไปใช้บริหารจัดการและเกิดการขยายผลไปยังกลุ่มเกษตรกรเพื่อให้ เกิดการสร้างรายได้อย่างยั่งยืน ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน สท. ร่วมกับกรมวิชาการเกษตรและกรมพัฒนาที่ดิน ลงพื้นที่ให้ความรู้ต้นทุนการผลิต เชื่อมโยงไปเรื่องเทคโนโลยีที่จะลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต มันสาปะหลังในพื้นที่หมู่บ้านนาเยีย ต.นาเยีย อ.นาเยีย จ.อุบลราชธานี ซึ่งเป็นอีกหนึ่งพื้นที่ที่มีเกษตรกร ประมาณ 400 ครัวเรือน หรือกว่า 80% ของหมู่บ้าน ปลูกมันสาปะหลัง โดยมีพื้นที่ปลูกมันสาปะหลัง ประมาณ 2,000 ไร่ เฉลี่ยครัวเรือนล่ะ 5-10..ไร่ แต่ยังไม่มีการจัดการตามหลักวิชาการ หลังจากการลงพื้นที่ให้ความรู้ครั้งนี้จะนาไปสู่การจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชม “ผู้ปลูกมันสาปะหลังนา เยียเข้มแข็ง” เพื่อดาเนินงานขับเคลื่อนการเพิ่มผลผลิตมันสาปะหลังอย่างมีประสิทธิภาพและก่อให้เกิด ความยั่งยืน โดยตั้งเป้าให้ค่าเฉลี่ยผลผลิตมันสาปะหลังในพื้นที่เพิ่มขึ้นเป็น 7 ตันต่อไร่ ในฤดูปลูกถัดไป เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสาปะหลังในพื้นที่หมู่บ้านนาเยีย จ.อุบลราชธานี 19 พฤษภาคม 2561 6 “พวกเราเต็มใจรับเทคโนโลยี เราอยากที่จะลองและพัฒนาชุมชน เพื่อให้ได้ผลผลิตเยอะ”
  • 7. ปนจานวนมาก ทาให้ผลผลิตต่อไร่ต่า อีกทั้งเกษตรกรทานาหว่านซึ่งใช้เมล็ดพันธุ์ต่อไร่สูงเกินความจาเป็น โดย ใช้ถึง 25-30 กก./ไร่ เนื่องจากเกษตรกรกลัวไม่งอกและต้องการได้ต้นข้าวในปริมาณที่มาก เพื่อให้มีรวงเยอะ นอกจากนี้ยังใช้ปุ๋ ยมากขึ้น ดังนั้นการปรับเปลี่ยนวิถีการผลิต จึงต้องเริ่มจากการใช้เมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ เป็น พันธุ์ที่มีความบริสุทธิ์สูง อัตราการงอกได้มาตรฐาน มีความต้านทานโรคแมลง และเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน สท. ร่วมกับศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวพัทลุง จัดอบรมหลักสูตร “เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ ์ข้าวหอมชลสิทธิ์” เมื่อวันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2561 ณ ศาลาหมู่บ้านโคกฉิ่ง เพื่อให้ความรู้การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ลดต้นทุนการผลิต และเป็น ต้นแบบการบริหารจัดการการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมชลสิทธิ์ที่มีคุณภาพตรงตามมาตรฐานเพื่อใช้ในชุมชน และสามารถจาหน่ายได้ รวมถึงเป็นการเผยแพร่งานวิจัยและเทคโนโลยีของ สวทช. ให้เกิดการนาไปใช้ ประโยชน์จริง เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ ์ข้าวหอมชลสิทธิ์ 19 พฤษภาคม 2561 7 การอบรมครั้งนี้ได้รับเกียรติจากนายสนิท หนูพ่วง และนางกุหลาบ สัจจะบุญทวี เจ้าหน้าที่ศูนย์เมล็ดพันธุ์ ข้าวพัทลุง เป็นวิทยากร บรรยายหัวข้อ “การลดความชื้นเมล็ดพันธุ์ข้าว” “การผลิตพันธุ์ข้าวคุณภาพดี” และ “กระบวนการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว” โดยมีเกษตรกรเข้าร่วมอบรม 30 คน และมีระดับความพึง พอใจการจัดอบรมร้อยละ 92.50 ประชากรส่วนใหญ่ของบ้านคอกวัวและบ้านโคกฉิ่ง ต. ชัยบุรี อ.เมือง จ.พัทลุง ประกอบอาชีพทานาซึ่งใช้ภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ยังขาดองค์ความรู้ และเทคโนโลยีมาช่วยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ส่งผลต่อ คุณภาพผลผลิตและต้นทุนการผลิตที่สูง ปัญหาสาคัญของเกษตรกรที่ทาให้ผลผลิตต่าและ ต้นทุนสูงคือ การใช้เมล็ดพันธุ์ไม่มีคุณภาพ มีข้าวดีดข้าวเด้ง
  • 8. ตอนที่ 1 เทคโนโลยีการจัดการผลิต 10 ข้อปฏิบัติในการผลิตมะม่วง 1) การพักต้น 2) การล้างต้น 3) การตัดแต่งกิ่ง 4) การบารุงต้น 5) การราดสาร 6) การบารุงตาดอก และการดึงดอก 7) การบารุงช่อดอกและช่อผล 8) การปลิดผลและห่อ ผล 9) การเก็บเกี่ยว 10) การบรรจุและขนส่ง ปัญหาที่สาคัญของมะม่วง โรคพืชที่สาคัญ เช่น แอนแทรคโนส ป้องกันและกาจัดด้วย การจัดการวัชพืชและซากพืชหลังการตัดแต่งเพื่อลดการสะสม และฉีด พ่นด้วยเชื้อราไตรโคเดอร ์มา ทุก 3-7 วัน ขึ้นอยู่กับความ รุนแรงของโรค แมลงศัตรูที่สาคัญ เช่น แมลงวันผลไม้ ป้องกันและกาจัด ด้วยการห่อผลมะม่วง เก็บใบที่ร่วงหล่นออกจากแปลง ใช้สารล่อหรือ กับดัก ใช้เชื้อราบิวเวอเรีย ฉีดพ่นบริเวณต้น ใช้เชื้อราเม ทาไรเซียม ฉีดลงในดินเพื่อทาลายดักแด้ของหนอนแมลงวัน ผลไม้ “มะม่วง” ผลไม้เขตร้อนหลากหลายสายพันธุ์ที่ปลูกได้ทั่วไป จากที่เคยปลูกไว้ตามบริเวณบ้าน ตามหัวไร่ปลายนา ปัจจุบันเป็นหนึ่งในไม้ผลเศรษฐกิจที่นามาปลูกเพื่อการค้าและการส่งออก จากการเพิ่มขึ้น ทั้งพื้นที่ปลูกและปริมาณผลผลิต เกษตรกรและผู้ประกอบการจึงต้องการเทคโนโลยีเพื่อจัดการการผลิตและ เพิ่มมูลค่าที่หลากหลาย สวทช.ภาคเหนือ ร่วมกับหน่วยงานวิชาการจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก รวบรวมชุดเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการผลิตมะม่วงอย่างครบ วงจร เพื่อร่วมแก้ปัญหาในระดับแปลงปลูก การเก็บรักษาและยืดอายุผลผลิตสด ตลอดจนการแปรรูปผลผลิต เพื่อเพิ่มมูลค่า เพิ่มช่องทางการจาหน่ายที่หลากหลาย โดยได้รับการประสานเพื่อการถ่ายทอดชุดเทคโนโลยี ตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง จากสานักงานเกษตรอาเภอบางคล้า และหอการค้าจังหวัดฉะเชิงเทรา และได้ ดาเนินการถ่ายทอดเทคโนโลยีในหัวข้อต่างๆ อาทิ การจัดการแปลงผลิตมะม่วง การจัดการโรคและศัตรูพืช การควบคุมคุณภาพผลผลิตมะม่วง การยืดอายุการเก็บรักษาเพื่อขยายเวลาการจาหน่ายโดยใช้อุณหภูมิต่า และการขยายระยะเวลาการสุกแก่ด้วยบรรจุภัณฑ์แอคทีฟดูดซับก๊าซเอทิลีน ตลอดจนการแปรรูปมะม่วงด้วย เทคโนโลยีและเทคนิคการผลิตที่เหมาะสม โรคแอนแทรคโนสใน ระยะต่างๆ แมลงวัน ผลไม้ กระบวนการจัดการการผลิตและแปรรูปมะม่วงอย่างครบวงจร 19 พฤษภาคม 2561 8
  • 9. การยืดอายุมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว มะม่วงเป็นผลไม้ที่มีอัตราการหายใจเพิ่มสูงขึ้นระหว่างผลไม้สุก การยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงเพื่อ ขยายระยะเวลาการจาหน่ายจึงมีความสาคัญมาก จึงแนะนาทางเลือกง่ายๆ 2xวิธี คือ การยืดอายุการเก็บ รักษาในกล่องพลาสติกและซองพลาสติกแบบตั้งเจาะรู และเก็บไว้ในห้องเย็น อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส เก็บได้ในสภาพดิบ 28 วัน และวางไว้ให้สุกอีก 5-7 วัน การยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงด้วยบรรจุภัณฑ์แอคทีฟดูดซับก๊าซเอทิลีนที่ผลิตจากด่างทับทิมและ ดินสอพอง (ต้นทุนในการผลิตเท่ากับ 0.17 บาท ต่อ 10 กรัม) สามารถชะลอการเปลี่ยนแปลงของสี การลดลงของความแน่นเนื้อ และเก็บรักษาได้นานไม่น้อยกว่า 14 วัน ณ อุณหภูมิประมาณ 20 องศา เซลเซียส สารดูดซับก๊าซเอทิลีน ที่ผลิตจากด่างทับทิมและดินสอพอง 9