SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ฝ่ายจัดการความรู้เพื่อเกษตรและชุมชน และฝ่ายพัฒนาบุคลากรเพื่อเกษตรและชุมชน ร่วมกับผู้เข้าร่วมอบรม
หลักสูตรพัฒนาผู้ประกอบการบริการระบบงานเกษตรอัจฉริยะ (Agriculture System Integrator Development: ASID)
ศึกษาดูงานเทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะ ณ ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (TMEC) อ.บางน้้าเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา
และศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์วิถีชุมชนต้าบลสิบเอ็ดศอก ต.สิบเอ็ดศอก อ.บ้านโพธิ์ จ.ฉะเชิงเทรา
เติมความรู้ เพิ่มมุมมองเทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะ
18
เมษายน 2561
1
หลักสูตรการพัฒนาผู้ประกอบการบริการระบบงานเกษตรอัจฉริยะ เป็น
การปูพื้นความรู้สู่การเป็นผู้ให้บริการออกแบบติดตั้งระบบงานเกษตร
อัจฉริยะ ซึ่งกิจกรรมศึกษาดูงานครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้ด้าน
กระบวนการผลิตและการใช้เทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะระบบเซนเซอร์จาก
ผู้เชี่ยวชาญด้านเกษตรและนักวิจัยด้านระบบโรงเรือนอัจฉริยะของศูนย์
เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ เยี่ยมชมห้องปฏิบัติการและโรงเรือนปลูก
พืชอัจฉริยะต้นแบบที่ติดตั้งระบบเซนเซอร์วัดความชื้นในดิน เซนเซอร์วัด
อุณหภูมิภายในโรงเรือน เซนเซอร์วัดความเข้มของแสงที่เหมาะต่อการ
เจริญเติบโตของพืช เซนเซอร์วัดทิศทางลมภายนอกโรงเรือนและการใช้
แอปพลิเคชันควบคุมการเพาะปลูก
นอกจากนี้ผู้เข้าอบรมฯ ได้เยี่ยมชมศูนย์การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์
วิถีชุมชนต้าบลสิบเอ็ดศอก (เกษตรปลอดสารบ้านกระถิน) ต.สิบเอ็ดศอก
อ.บ้านโพธิ์ จ.ฉะเชิงเทรา ซึ่งน้าระบบเซนเซอร์วัดความชื้นในดินและ
เซนเซอร์วัดอุณหภูมิภายในโรงเรือนมาปรับใช้กับการปลูกเมล่อนอินทรีย์
และผักสลัด
คุณชลิตา ไทยแก่น หรือคุณกระถิน เกษตรกรรุ่นใหม่ (Young
Smart Farmer) ผันตัวมาท้าเกษตรทฤษฎีใหม่ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง โดยน้อมน้าศาสตร์พระราชามาพัฒนาท้าการเกษตรบนพื้นที่ 13>
ไร่ โดยเรียนรู้และปรับประยุกต์ท้าเกษตรแบบผสมผสาน และน้า
เทคโนโลยีเซนเซอร์เป็นอีกเครื่องมือที่ช่วยบริหารจัดการในฟาร์ม
นอกจากนี้ยังได้จัดฐานการเรียนรู้ต่างๆ อาทิ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การ
เลี้ยงไส้เดือน การท้าน้้าหมักชีวภาพ การเลี้ยงสัตว์ การท้านา และการ
แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรในฟาร์ม
คุณกระถินยึดคติเตือนตัวเองเสมอว่า “ความขาดแคลนไม่ใช่
ปัญหา ขอแค่มีปัญญาและความอดทน”
วันที่ 30 - 31 มีนาคม 2561 ฝ่ายพัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรและ
ชุมชน สท. ร่วมกับส้านักงานเกษตรจังหวัดร้อยเอ็ด จัดอบรมเชิง
ปฏิบัติการ “ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบโรงงาน เครื่องมือแปร
รูปอาหาร การเตรียมสถานประกอบการ และจัดทาเอกสารมุ่งสู่
การขอรับรอง GMP” ให้เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจผู้ผลิตแป้งข้าวหอม
มะลิ จังหวัดร้อยเอ็ด ภายใต้กิจกรรม “โครงการการพัฒนาชุมชน
เขตทุ่งกุลาร้องไห้ด้วยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม
เกษตร” โดยมีวิทยากรจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ยกระดับ “แป้งข้าวหอมมะลิ 105” สู่มาตรฐาน GMP
2
วิทยาเขตขอนแก่น ได้แก่ ดร.ภานุวัฒน์ ทรัพย์ปรุง ดร.ประยูร จอมหล้าพีรติกุล และ นายธีราวุฒิ มีช้านาญ เภสัชกร
ช้านาญการ ส้านักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีเกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนนาแปลงใหญ่บ้านโพนฮาด กลุ่ม
วิสาหกิจชุมชนบ้านเล้า และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมเกษตรอ้าเภอเกษตรวิสัย เข้ารับการอบรมรวม 35xคน โดยก่อนเข้ารับการ
อบรม ผู้เข้าอบรมร้อยละ 70 ยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง แต่หลังจากอบรมแล้ว ผู้เข้าอบรมร้อยละ 95 ได้รับ
ความรู้เพิ่มขึ้นและเห็นว่าสามารถน้าไปใช้ประโยชน์ได้ นอกจากนี้ยังได้ก้าหนดแผนการปรับปรุงอาคารสถานที่ให้ถูกต้อง
ภายใน 3.เดือน เพื่อยื่นเอกสารขอการรับรองมาตรฐาน ซึ่งเป็นโอกาสเพิ่มช่องทางการตลาดให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชนได้
อนึ่ง เมื่อปี 2559xกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านเล้า หมู่ 3..ต.หนองแก้ว อ.เมืองร้อยเอ็ด จ.ร้อยเอ็ด ประสบ
ความส้าเร็จแปรรูปข้าวหอมมะลิ 105 เป็นแป้งข้าวหอมมะลิ 105 ภายใต้ตราสัญลักษณ์ “เพชรพานทอง” และในปี
2560 กลุ่มวิสาหกิจชุมชนนาแปลงใหญ่บ้านโพนฮาด หมู่ 12 ต.ดงครั่งน้อย อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด เป็นอีกหนึ่งกลุ่ม
เกษตรกรที่สามารถเพิ่มมูลค่าข้าวหอมมะลิหักจากโรงสีชุมชนในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้เป็นแป้งข้าวหอมมะลิ 105 ภายใต้
ตราสัญลักษณ์ “ทุ่งกุลารวงทอง”
18
เมษายน 2561
“เริ่มอินทรีย์จากใจใช่แค่ราคา” แนวคิดหลัก
ของคุณขจรรัตน์ สุระโคตร กรรมการบริหารกลุ่มวิสาหกิจ
ชุมชนศูนย์ข้าวชุมชนบ้านอุ่มแสง ต.ดู่ อ.ราษีไศล จ.ศรีสะ-
เกษ ที่มุ่งเน้นความยั่งยืนของการท้าเกษตรอินทรีย์จาก
ผลผลิตที่หลากหลาย มากกว่าการตั้งราคาผลผลิตที่สูง
“ชุมชนบ้านอุ่มแสง” เป็นอีกหนึ่งพื้นที่การ
ด้าเนินงานภายใต้การด้าเนินโครงการพัฒนาเขตทุ่งกุลา
ร้องไห้ด้วยวิทยาศาตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดย
เกษตรกรจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวชุมชนบ้านอุ่ม
แสง ผลิตข้าวอินทรีย์มาตรฐานสากล มุ่งลดต้นทุนการ
ผลิตและเพิ่มคุณภาพผลผลิต โดยใช้เทคโนโลยีและ
เครื่องจักรกลที่ทันสมัย เช่น เครื่องคัดเมล็ดพันธุ์ข้าว
เครื่องหยอดเมล็ดพันธุ์ นอกจากนี้ยังมีสินค้าข้าวอินทรีย์
และผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวภายใต้ชื่อการค้า “ข้าว
อินทรีย์ ลุงบุญมี สุระโคตร” อีกทั้งได้ก่อตั้งบริษัท
อุ่มแสงคอมมิวนิตี้ออร์แกนิคโปรดักส์ จ้ากัด (UCOP) เน้น
การจัดการตั้งแต่ต้นน้้า กลางน้้า และปลายน้้า โดยมีกลุ่ม
วิสาหกิจสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ วิสาหกิจชุมชน
ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ วิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวชุมชน
บ้านอุ่มแสง วิสาหกิจชุมชนเครื่องจักรกลทางการเกษตร
บ้านอุ่มแสง วิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวอินทรีย์บ้านอุ่มแสง
และวิสาหกิจชุมชนปลูกพืชหลังนาบ้านอุ่มแสง
คุณขจรรัตน์ มองว่าการส่งเสริมท้าเกษตรอินทรีย์
ของกลุ่มฯ ไม่ได้เอาราคามาเป็นแรงจูงใจ ไม่มุ่งให้สมาชิก
กลุ่มคาดหวังกับเรื่องราคาผลผลิต แต่จะให้กลุ่มอยู่ได้ด้วย
ความยั่งยืนโดยการมีผลผลิตทางการเกษตรที่หลากหลาย
หมุนเวียนขายได้ตลอดทั้งปี แม้ว่าอนาคตราคาข้าวอินทรีย์
อาจจะไม่ได้แตกต่างจากข้าวทั่วไป แต่เกษตรกรในกลุ่มก็
ยังอยู่ได้โดยไม่ได้รับผลกระทบ
จากการลงพื้นที่ของ สท. พบว่ากลุ่มศูนย์ข้าว
ชุมชนบ้านอุ่มแสงยังได้ส่งเสริมการปลูกพืชหลังนา เช่น ถั่ว
เขียว ปอเทือง ตะไคร้ ถั่วเหลือง มันหวานญี่ปุ่น โดยมีแผน
ทา “เกษตรอินทรีย์จากใจ” ใช่แค่...ราคา
18
เมษายน 2561
3
ขยายปลูกหอมและกระเทียมเพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มรายได้
หลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ช่วยปรับปรุงบ้ารุงดินและลดการ
ใช้ปุ๋ยในนา ทั้งนี้ปัจจุบัน “ตะไคร้อบแห้ง” เป็น
ผลิตภัณฑ์ที่ตลาดต้องการ แต่กลุ่มฯ ยังไม่สามารถผลิต
ได้เนื่องจากขาดความรู้และเครื่องมือผลิต ดังนั้น สท.
จึงมีแผนสนับสนุนการแปรรูปตะไคร้ให้กลุ่มฯ ซึ่งพร้อม
ที่จะต่อยอดและยกระดับตะไคร้เป็นผลิตภัณฑ์ใน
รูปแบบต่างๆ
อนึ่ง กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแห่งนี้ผลิตข้าวอินทรีย์
ในรูปแบบนาแปลงใหญ่ มีสมาชิก 1,270 ราย พื้นที่
เพาะปลูก 21,700 ไร่ ปลูกข้าวหลายสายพันธุ์ เช่น ข้าว
หอมมะลิ ข้าวไรซ์เบอร์รี่ ข้าวหอมมะลินิล ข้าวมะลิแดง
สุรินทร์ เป็นต้น สมาชิกลดต้นทุนการท้านาหยอดด้วย
เครื่องหยอดเมล็ดพันธุ์และท้านาด้าด้วยรถด้านาแทน
การหว่าน ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ส้าหรับใช้ในชุมชน
รวมถึงการบันทึกสถิติผลผลิตและปัญหาในแต่ละปี
เพื่อเป็นข้อมูลส้าหรับการท้านาในปีถัดไป ส้าหรับการ
ปลูกตะไคร้นั้น ในปี 2559 เกษตรกรปลูกตะไคร้พันธุ์
ขาวเกษตร ได้ผลผลิตประมาณ 2-3 ตัน/ไร่ ขายตะไคร้
สดในราคา 13 บาท/กิโลกรัม ขายต้นพันธุ์ในราคา
24 บาท/กิโลกรัม และสามารถขยายต้นพันธุ์ได้เองแล้ว
คณะผู้บริหารคลังจังหวัดปทุมธานี (คปจ.)
ด้าเนินการจัดตั้งวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup.Club)
ในสถานศึกษา โดยพิจารณาคัดเลือกวิทยาลัยการ
อาชีวศึกษาปทุมธานี เป็นสถานศึกษาต้นแบบ
จัดตั้งวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup..Club) เพื่อ
พัฒนาวิสาหกิจเริ่มต้นปลูกเมล่อนในโรงเรือน
ระบบปิด ซึ่งการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือนต้อง
ใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
มาประยุกต์ใช้ให้ผลผลิตมีคุณภาพตามความ
ต้องการของลูกค้า คปจ. จึงขอรับการสนับสนุน
องค์ความรู้จาก สวทช. โดยฝ่ายยุทธศาสตร์และ
สร้างพันธมิตร สท. เป็นผู้ประสานการท้ากิจกรรม
ร่วมกับ คปจ. จากผลการด้าเนินกิจกรรมของ
วิสาหกิจฯ ที่ผ่านมาพบว่า มีผลผลิตบางส่วนไม่ได้
คุณภาพตามที่ตลาดต้องการ และทางวิสาหกิจฯ
มีความประสงค์ขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี
แปรรูปแยมและขนมปังสอดไส้ครีมสังขยาจากผล
เมล่อน เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต
ฝ่ายยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตร สท.
ร่วมกับโฮมเบเกอรี่ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (มสด.) จัด
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เทคโนโลยีการแปรรูป
แยมและขนมปังสอดไส้ครีมสังขยาจากผลเมล่อน
ณ โฮมเบเกอรี่ มสด. โดยมีอาจารย์จันทร์จนา
ศิริพันธ์วัฒนา ผู้อ้านวยการโฮมเบเกอรี่ และทีมงาน
เป็นวิทยากรให้ความรู้ มีผู้เข้าอบรม ได้แก่ ครูและ
นักศึกษาสมาชิกวิสาหกิจเริ่มต้นจากวิทยาลัยการ
อาชีวศึกษาปทุมธานี จ้านวน 13 คน
การอบรมครั้งนี้วิทยากรได้ให้ความรู้แนว
ทางการบริหารธุรกิจและน้าชมกิจการของโฮม
เบเกอรี่ เพื่อเป็นแนวทางการประกอบธุรกิจภายใต้
ชมรมวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup Club) นอกจากนี้ผู้เข้า
อบรมได้ฝึกปฏิบัติการตามฐานต่างๆ ได้แก่ ท้าขนม
ปังเนยสด ท้าสังขยา ฉีดไส้ขนมปัง และท้าแยม
เมล่อน
ภายหลังการอบรมผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ใน
การบริหารจัดการธุรกิจเบเกอรี่ เทคโนโลยีการแปร
รูปแยมและการแปรรูปขนมปังสอดไส้สังขยาจากผล
เมล่อน เพื่อด้าเนินกิจกรรมวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup
Club) ของวิทยาลัยการอาชีวศึกษาปทุมธานีต่อไป
เทคโนโลยีแปรรูป เพิ่มมูลค่าเมล่อน ส่งต่อวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup Club)
18
เมษายน 2561
4
มาตรฐาน ThaiGAP เป็นมาตรฐานระบบการผลิตสินค้าเกษตรที่มีความปลอดภัยของภาคเอกชน เพื่อยกระดับ
มาตรฐานการผลิตผักผลไม้ของไทยตลอดห่วงโซ่การผลิตตั้งแต่ต้นน้้าถึงปลายน้้าที่ค้านึงถึงสวัสดิภาพของผู้ปลูกและ
ความปลอดภัยของผู้บริโภคเป็นส้าคัญ โดยมีระบบตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) เพื่อให้ทราบถึงแหล่งที่มาของ
ผลผลิตที่ได้รับมาตรฐาน ThaiGAP สร้างความเชื่อมั่นและยกระดับมาตรฐานและคุณภาพสินค้าเกษตรของไทยให้เป็นที่
ยอมรับ
สวทช. มีความร่วมมือกับสภาหอการค้าแห่ง
ประเทศไทย ในการผลักดันผู้ประกอบการ
เกษตรกรผักและผลไม้ไทยให้ผ่านการตรวจรับรอง
และเชื่อมโยงตลาดคุณภาพระดับสูงทั้งภายใน
ประเทศและการส่งออกต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม
ด้วยจ้านวนผู้เชี่ยวชาญการอบรมถ่ายทอดเรื่อง
ThaiGAP/Primary.ThaiGAP ยังไม่เพียงพอต่อความ
ต้องการของเกษตรกรที่มากขึ้น สวทช.ภาคเหนือ
จึงได้ร่วมกับหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ และ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดกิจกรรมการอบรมเชิง
ปฏิบัติการ เรื่อง "การจัดทามาตรฐาน ThaiGAP
(Train the Trainer)” เมื่อวันที่ 25-26 เมษายน
2561 ณ โรงแรมฮาร์โมไนซ์ จังหวัดเชียงใหม่
การจัดทามาตรฐาน ThaiGAP (Train the Trainer)
18
เมษายน 2561
5
กิจกรรมความร่วมมือครั้งนี้มีนักวิชาการและผู้ประกอบ
การเกษตรภาคเหนือเข้าร่วมจ้านวน 74 ราย โดยมีคณะวิทยากร
จากศูนย์วิจัยและพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตร มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก้าแพงแสน และผู้ประกอบการเกษตร
สหกรณ์การเกษตรท่าใหม่ มาร่วมแบ่งปันประสบการณ์
นอกจากนี้สถาบันส่งเสริมคุณภาพเกษตรไทย (ThaiGAP
Institute) สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ยังมีกิจกรรมต่อยอด
ผู้เชี่ยวชาญในภาคเหนือที่ผ่านการอบรมครั้งนี้ เป็นที่ปรึกษา
เกษตรกรและเป็นผู้เชี่ยวชาญในท้องถิ่น เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้
เกษตรกรในการด้าเนินการตามมาตรฐานโดยเชื่อมโยงการท้างาน
ThaiGAP กับยุทธศาสตร์มหานครแห่งผลไม้เมืองร้อนต่อไป
การอบรมและศึกษาดูงานแบบ On-the-job Training ณ สหกรณ์การเกษตรจอมทอง (สวนล้าไยและมะม่วง)
6

More Related Content

Similar to E news-april-2018-final

เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
Anantaya
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Similar to E news-april-2018-final (18)

20100905 wp ch3-smart farm
20100905 wp ch3-smart farm20100905 wp ch3-smart farm
20100905 wp ch3-smart farm
 
E news-january-2018-final
E news-january-2018-finalE news-january-2018-final
E news-january-2018-final
 
E news-june-2018-final
E news-june-2018-finalE news-june-2018-final
E news-june-2018-final
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
 
Smart farm lecture-ku
Smart farm lecture-kuSmart farm lecture-ku
Smart farm lecture-ku
 
E news-june-2018-final
E news-june-2018-finalE news-june-2018-final
E news-june-2018-final
 
Smart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburiSmart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburi
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
 
Ku 54
Ku 54Ku 54
Ku 54
 
Smart Agriculture
Smart Agriculture Smart Agriculture
Smart Agriculture
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Mahidol ag
Mahidol agMahidol ag
Mahidol ag
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
 
E news-aimi-augsut-2017
E news-aimi-augsut-2017E news-aimi-augsut-2017
E news-aimi-augsut-2017
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
 
Ag smart2 pisuth
Ag smart2 pisuthAg smart2 pisuth
Ag smart2 pisuth
 

More from นางสาวขวัญธิดา ดงหลง (9)

E news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-finalE news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-final
 
E news-may-2018-final
E news-may-2018-finalE news-may-2018-final
E news-may-2018-final
 
Agritec book 2017
Agritec book 2017Agritec book 2017
Agritec book 2017
 
Agritec book 2017
Agritec book 2017Agritec book 2017
Agritec book 2017
 
E news-march-2018-final
E news-march-2018-finalE news-march-2018-final
E news-march-2018-final
 
E news-november-2017-final
E news-november-2017-finalE news-november-2017-final
E news-november-2017-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 

E news-april-2018-final

  • 1. ฝ่ายจัดการความรู้เพื่อเกษตรและชุมชน และฝ่ายพัฒนาบุคลากรเพื่อเกษตรและชุมชน ร่วมกับผู้เข้าร่วมอบรม หลักสูตรพัฒนาผู้ประกอบการบริการระบบงานเกษตรอัจฉริยะ (Agriculture System Integrator Development: ASID) ศึกษาดูงานเทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะ ณ ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (TMEC) อ.บางน้้าเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา และศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์วิถีชุมชนต้าบลสิบเอ็ดศอก ต.สิบเอ็ดศอก อ.บ้านโพธิ์ จ.ฉะเชิงเทรา เติมความรู้ เพิ่มมุมมองเทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะ 18 เมษายน 2561 1 หลักสูตรการพัฒนาผู้ประกอบการบริการระบบงานเกษตรอัจฉริยะ เป็น การปูพื้นความรู้สู่การเป็นผู้ให้บริการออกแบบติดตั้งระบบงานเกษตร อัจฉริยะ ซึ่งกิจกรรมศึกษาดูงานครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้ด้าน กระบวนการผลิตและการใช้เทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะระบบเซนเซอร์จาก ผู้เชี่ยวชาญด้านเกษตรและนักวิจัยด้านระบบโรงเรือนอัจฉริยะของศูนย์ เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ เยี่ยมชมห้องปฏิบัติการและโรงเรือนปลูก พืชอัจฉริยะต้นแบบที่ติดตั้งระบบเซนเซอร์วัดความชื้นในดิน เซนเซอร์วัด อุณหภูมิภายในโรงเรือน เซนเซอร์วัดความเข้มของแสงที่เหมาะต่อการ เจริญเติบโตของพืช เซนเซอร์วัดทิศทางลมภายนอกโรงเรือนและการใช้ แอปพลิเคชันควบคุมการเพาะปลูก นอกจากนี้ผู้เข้าอบรมฯ ได้เยี่ยมชมศูนย์การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ วิถีชุมชนต้าบลสิบเอ็ดศอก (เกษตรปลอดสารบ้านกระถิน) ต.สิบเอ็ดศอก อ.บ้านโพธิ์ จ.ฉะเชิงเทรา ซึ่งน้าระบบเซนเซอร์วัดความชื้นในดินและ เซนเซอร์วัดอุณหภูมิภายในโรงเรือนมาปรับใช้กับการปลูกเมล่อนอินทรีย์ และผักสลัด คุณชลิตา ไทยแก่น หรือคุณกระถิน เกษตรกรรุ่นใหม่ (Young Smart Farmer) ผันตัวมาท้าเกษตรทฤษฎีใหม่ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง โดยน้อมน้าศาสตร์พระราชามาพัฒนาท้าการเกษตรบนพื้นที่ 13> ไร่ โดยเรียนรู้และปรับประยุกต์ท้าเกษตรแบบผสมผสาน และน้า เทคโนโลยีเซนเซอร์เป็นอีกเครื่องมือที่ช่วยบริหารจัดการในฟาร์ม นอกจากนี้ยังได้จัดฐานการเรียนรู้ต่างๆ อาทิ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การ เลี้ยงไส้เดือน การท้าน้้าหมักชีวภาพ การเลี้ยงสัตว์ การท้านา และการ แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรในฟาร์ม คุณกระถินยึดคติเตือนตัวเองเสมอว่า “ความขาดแคลนไม่ใช่ ปัญหา ขอแค่มีปัญญาและความอดทน”
  • 2. วันที่ 30 - 31 มีนาคม 2561 ฝ่ายพัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรและ ชุมชน สท. ร่วมกับส้านักงานเกษตรจังหวัดร้อยเอ็ด จัดอบรมเชิง ปฏิบัติการ “ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบโรงงาน เครื่องมือแปร รูปอาหาร การเตรียมสถานประกอบการ และจัดทาเอกสารมุ่งสู่ การขอรับรอง GMP” ให้เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจผู้ผลิตแป้งข้าวหอม มะลิ จังหวัดร้อยเอ็ด ภายใต้กิจกรรม “โครงการการพัฒนาชุมชน เขตทุ่งกุลาร้องไห้ด้วยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม เกษตร” โดยมีวิทยากรจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ยกระดับ “แป้งข้าวหอมมะลิ 105” สู่มาตรฐาน GMP 2 วิทยาเขตขอนแก่น ได้แก่ ดร.ภานุวัฒน์ ทรัพย์ปรุง ดร.ประยูร จอมหล้าพีรติกุล และ นายธีราวุฒิ มีช้านาญ เภสัชกร ช้านาญการ ส้านักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีเกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนนาแปลงใหญ่บ้านโพนฮาด กลุ่ม วิสาหกิจชุมชนบ้านเล้า และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมเกษตรอ้าเภอเกษตรวิสัย เข้ารับการอบรมรวม 35xคน โดยก่อนเข้ารับการ อบรม ผู้เข้าอบรมร้อยละ 70 ยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง แต่หลังจากอบรมแล้ว ผู้เข้าอบรมร้อยละ 95 ได้รับ ความรู้เพิ่มขึ้นและเห็นว่าสามารถน้าไปใช้ประโยชน์ได้ นอกจากนี้ยังได้ก้าหนดแผนการปรับปรุงอาคารสถานที่ให้ถูกต้อง ภายใน 3.เดือน เพื่อยื่นเอกสารขอการรับรองมาตรฐาน ซึ่งเป็นโอกาสเพิ่มช่องทางการตลาดให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชนได้ อนึ่ง เมื่อปี 2559xกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านเล้า หมู่ 3..ต.หนองแก้ว อ.เมืองร้อยเอ็ด จ.ร้อยเอ็ด ประสบ ความส้าเร็จแปรรูปข้าวหอมมะลิ 105 เป็นแป้งข้าวหอมมะลิ 105 ภายใต้ตราสัญลักษณ์ “เพชรพานทอง” และในปี 2560 กลุ่มวิสาหกิจชุมชนนาแปลงใหญ่บ้านโพนฮาด หมู่ 12 ต.ดงครั่งน้อย อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด เป็นอีกหนึ่งกลุ่ม เกษตรกรที่สามารถเพิ่มมูลค่าข้าวหอมมะลิหักจากโรงสีชุมชนในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้เป็นแป้งข้าวหอมมะลิ 105 ภายใต้ ตราสัญลักษณ์ “ทุ่งกุลารวงทอง” 18 เมษายน 2561
  • 3. “เริ่มอินทรีย์จากใจใช่แค่ราคา” แนวคิดหลัก ของคุณขจรรัตน์ สุระโคตร กรรมการบริหารกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนศูนย์ข้าวชุมชนบ้านอุ่มแสง ต.ดู่ อ.ราษีไศล จ.ศรีสะ- เกษ ที่มุ่งเน้นความยั่งยืนของการท้าเกษตรอินทรีย์จาก ผลผลิตที่หลากหลาย มากกว่าการตั้งราคาผลผลิตที่สูง “ชุมชนบ้านอุ่มแสง” เป็นอีกหนึ่งพื้นที่การ ด้าเนินงานภายใต้การด้าเนินโครงการพัฒนาเขตทุ่งกุลา ร้องไห้ด้วยวิทยาศาตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดย เกษตรกรจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวชุมชนบ้านอุ่ม แสง ผลิตข้าวอินทรีย์มาตรฐานสากล มุ่งลดต้นทุนการ ผลิตและเพิ่มคุณภาพผลผลิต โดยใช้เทคโนโลยีและ เครื่องจักรกลที่ทันสมัย เช่น เครื่องคัดเมล็ดพันธุ์ข้าว เครื่องหยอดเมล็ดพันธุ์ นอกจากนี้ยังมีสินค้าข้าวอินทรีย์ และผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวภายใต้ชื่อการค้า “ข้าว อินทรีย์ ลุงบุญมี สุระโคตร” อีกทั้งได้ก่อตั้งบริษัท อุ่มแสงคอมมิวนิตี้ออร์แกนิคโปรดักส์ จ้ากัด (UCOP) เน้น การจัดการตั้งแต่ต้นน้้า กลางน้้า และปลายน้้า โดยมีกลุ่ม วิสาหกิจสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ วิสาหกิจชุมชน ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ วิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวชุมชน บ้านอุ่มแสง วิสาหกิจชุมชนเครื่องจักรกลทางการเกษตร บ้านอุ่มแสง วิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวอินทรีย์บ้านอุ่มแสง และวิสาหกิจชุมชนปลูกพืชหลังนาบ้านอุ่มแสง คุณขจรรัตน์ มองว่าการส่งเสริมท้าเกษตรอินทรีย์ ของกลุ่มฯ ไม่ได้เอาราคามาเป็นแรงจูงใจ ไม่มุ่งให้สมาชิก กลุ่มคาดหวังกับเรื่องราคาผลผลิต แต่จะให้กลุ่มอยู่ได้ด้วย ความยั่งยืนโดยการมีผลผลิตทางการเกษตรที่หลากหลาย หมุนเวียนขายได้ตลอดทั้งปี แม้ว่าอนาคตราคาข้าวอินทรีย์ อาจจะไม่ได้แตกต่างจากข้าวทั่วไป แต่เกษตรกรในกลุ่มก็ ยังอยู่ได้โดยไม่ได้รับผลกระทบ จากการลงพื้นที่ของ สท. พบว่ากลุ่มศูนย์ข้าว ชุมชนบ้านอุ่มแสงยังได้ส่งเสริมการปลูกพืชหลังนา เช่น ถั่ว เขียว ปอเทือง ตะไคร้ ถั่วเหลือง มันหวานญี่ปุ่น โดยมีแผน ทา “เกษตรอินทรีย์จากใจ” ใช่แค่...ราคา 18 เมษายน 2561 3 ขยายปลูกหอมและกระเทียมเพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มรายได้ หลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ช่วยปรับปรุงบ้ารุงดินและลดการ ใช้ปุ๋ยในนา ทั้งนี้ปัจจุบัน “ตะไคร้อบแห้ง” เป็น ผลิตภัณฑ์ที่ตลาดต้องการ แต่กลุ่มฯ ยังไม่สามารถผลิต ได้เนื่องจากขาดความรู้และเครื่องมือผลิต ดังนั้น สท. จึงมีแผนสนับสนุนการแปรรูปตะไคร้ให้กลุ่มฯ ซึ่งพร้อม ที่จะต่อยอดและยกระดับตะไคร้เป็นผลิตภัณฑ์ใน รูปแบบต่างๆ อนึ่ง กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแห่งนี้ผลิตข้าวอินทรีย์ ในรูปแบบนาแปลงใหญ่ มีสมาชิก 1,270 ราย พื้นที่ เพาะปลูก 21,700 ไร่ ปลูกข้าวหลายสายพันธุ์ เช่น ข้าว หอมมะลิ ข้าวไรซ์เบอร์รี่ ข้าวหอมมะลินิล ข้าวมะลิแดง สุรินทร์ เป็นต้น สมาชิกลดต้นทุนการท้านาหยอดด้วย เครื่องหยอดเมล็ดพันธุ์และท้านาด้าด้วยรถด้านาแทน การหว่าน ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ส้าหรับใช้ในชุมชน รวมถึงการบันทึกสถิติผลผลิตและปัญหาในแต่ละปี เพื่อเป็นข้อมูลส้าหรับการท้านาในปีถัดไป ส้าหรับการ ปลูกตะไคร้นั้น ในปี 2559 เกษตรกรปลูกตะไคร้พันธุ์ ขาวเกษตร ได้ผลผลิตประมาณ 2-3 ตัน/ไร่ ขายตะไคร้ สดในราคา 13 บาท/กิโลกรัม ขายต้นพันธุ์ในราคา 24 บาท/กิโลกรัม และสามารถขยายต้นพันธุ์ได้เองแล้ว
  • 4. คณะผู้บริหารคลังจังหวัดปทุมธานี (คปจ.) ด้าเนินการจัดตั้งวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup.Club) ในสถานศึกษา โดยพิจารณาคัดเลือกวิทยาลัยการ อาชีวศึกษาปทุมธานี เป็นสถานศึกษาต้นแบบ จัดตั้งวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup..Club) เพื่อ พัฒนาวิสาหกิจเริ่มต้นปลูกเมล่อนในโรงเรือน ระบบปิด ซึ่งการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือนต้อง ใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาประยุกต์ใช้ให้ผลผลิตมีคุณภาพตามความ ต้องการของลูกค้า คปจ. จึงขอรับการสนับสนุน องค์ความรู้จาก สวทช. โดยฝ่ายยุทธศาสตร์และ สร้างพันธมิตร สท. เป็นผู้ประสานการท้ากิจกรรม ร่วมกับ คปจ. จากผลการด้าเนินกิจกรรมของ วิสาหกิจฯ ที่ผ่านมาพบว่า มีผลผลิตบางส่วนไม่ได้ คุณภาพตามที่ตลาดต้องการ และทางวิสาหกิจฯ มีความประสงค์ขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี แปรรูปแยมและขนมปังสอดไส้ครีมสังขยาจากผล เมล่อน เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต ฝ่ายยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตร สท. ร่วมกับโฮมเบเกอรี่ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (มสด.) จัด อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เทคโนโลยีการแปรรูป แยมและขนมปังสอดไส้ครีมสังขยาจากผลเมล่อน ณ โฮมเบเกอรี่ มสด. โดยมีอาจารย์จันทร์จนา ศิริพันธ์วัฒนา ผู้อ้านวยการโฮมเบเกอรี่ และทีมงาน เป็นวิทยากรให้ความรู้ มีผู้เข้าอบรม ได้แก่ ครูและ นักศึกษาสมาชิกวิสาหกิจเริ่มต้นจากวิทยาลัยการ อาชีวศึกษาปทุมธานี จ้านวน 13 คน การอบรมครั้งนี้วิทยากรได้ให้ความรู้แนว ทางการบริหารธุรกิจและน้าชมกิจการของโฮม เบเกอรี่ เพื่อเป็นแนวทางการประกอบธุรกิจภายใต้ ชมรมวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup Club) นอกจากนี้ผู้เข้า อบรมได้ฝึกปฏิบัติการตามฐานต่างๆ ได้แก่ ท้าขนม ปังเนยสด ท้าสังขยา ฉีดไส้ขนมปัง และท้าแยม เมล่อน ภายหลังการอบรมผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ใน การบริหารจัดการธุรกิจเบเกอรี่ เทคโนโลยีการแปร รูปแยมและการแปรรูปขนมปังสอดไส้สังขยาจากผล เมล่อน เพื่อด้าเนินกิจกรรมวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup Club) ของวิทยาลัยการอาชีวศึกษาปทุมธานีต่อไป เทคโนโลยีแปรรูป เพิ่มมูลค่าเมล่อน ส่งต่อวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup Club) 18 เมษายน 2561 4
  • 5. มาตรฐาน ThaiGAP เป็นมาตรฐานระบบการผลิตสินค้าเกษตรที่มีความปลอดภัยของภาคเอกชน เพื่อยกระดับ มาตรฐานการผลิตผักผลไม้ของไทยตลอดห่วงโซ่การผลิตตั้งแต่ต้นน้้าถึงปลายน้้าที่ค้านึงถึงสวัสดิภาพของผู้ปลูกและ ความปลอดภัยของผู้บริโภคเป็นส้าคัญ โดยมีระบบตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) เพื่อให้ทราบถึงแหล่งที่มาของ ผลผลิตที่ได้รับมาตรฐาน ThaiGAP สร้างความเชื่อมั่นและยกระดับมาตรฐานและคุณภาพสินค้าเกษตรของไทยให้เป็นที่ ยอมรับ สวทช. มีความร่วมมือกับสภาหอการค้าแห่ง ประเทศไทย ในการผลักดันผู้ประกอบการ เกษตรกรผักและผลไม้ไทยให้ผ่านการตรวจรับรอง และเชื่อมโยงตลาดคุณภาพระดับสูงทั้งภายใน ประเทศและการส่งออกต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ด้วยจ้านวนผู้เชี่ยวชาญการอบรมถ่ายทอดเรื่อง ThaiGAP/Primary.ThaiGAP ยังไม่เพียงพอต่อความ ต้องการของเกษตรกรที่มากขึ้น สวทช.ภาคเหนือ จึงได้ร่วมกับหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดกิจกรรมการอบรมเชิง ปฏิบัติการ เรื่อง "การจัดทามาตรฐาน ThaiGAP (Train the Trainer)” เมื่อวันที่ 25-26 เมษายน 2561 ณ โรงแรมฮาร์โมไนซ์ จังหวัดเชียงใหม่ การจัดทามาตรฐาน ThaiGAP (Train the Trainer) 18 เมษายน 2561 5
  • 6. กิจกรรมความร่วมมือครั้งนี้มีนักวิชาการและผู้ประกอบ การเกษตรภาคเหนือเข้าร่วมจ้านวน 74 ราย โดยมีคณะวิทยากร จากศูนย์วิจัยและพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก้าแพงแสน และผู้ประกอบการเกษตร สหกรณ์การเกษตรท่าใหม่ มาร่วมแบ่งปันประสบการณ์ นอกจากนี้สถาบันส่งเสริมคุณภาพเกษตรไทย (ThaiGAP Institute) สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ยังมีกิจกรรมต่อยอด ผู้เชี่ยวชาญในภาคเหนือที่ผ่านการอบรมครั้งนี้ เป็นที่ปรึกษา เกษตรกรและเป็นผู้เชี่ยวชาญในท้องถิ่น เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ เกษตรกรในการด้าเนินการตามมาตรฐานโดยเชื่อมโยงการท้างาน ThaiGAP กับยุทธศาสตร์มหานครแห่งผลไม้เมืองร้อนต่อไป การอบรมและศึกษาดูงานแบบ On-the-job Training ณ สหกรณ์การเกษตรจอมทอง (สวนล้าไยและมะม่วง) 6