SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
นช่วงต้นเดือนกันยายน 2560..สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมเกษตร (สท.) ได้เข้าร่วมกิจกรรมงาน “SIMA ASEAN 2017” งาน
แสดงสินค้าและการประชุมนานาชาติเพื่อธุรกิจภาคการเกษตรที่ใหญ่ที่สุดใน
ภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ 3 ระหว่างวันที่ 7-9 กันยายน 2560 ณ ศูนย์การแสดง
สินค้าอิมแพ็ค เมืองทองธานี
สท. ร่วมจัดนิทรรศการในงาน SIMA ASEAN 2017
ใ
12
กันยายน 2560
1
> จัดแสดงโมเดลโรงเรือนอัจฉริยะ ผลงานวิจัยและ
พัฒนาโดยศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์
(TMEC) ซึ่งโรงเรือนอัจฉริยะมีระบบเซ็นเซอร์ควบคุม
ปัจจัยการปลูกพืชโดยอัตโนมัติ ได้แก่ อุณหภูมิ
ความชื้น ความชื้นในดิน แสง และโครงสร้างของ
โรงเรือนออกแบบให้อากาศไหลเวียนได้เหมาะสม
โดยเกษตรกรสามารถสั่งงานผ่านโทรศัพท์มือถือได้
โรงเรือนอัจฉริยะเป็นอีกหนึ่งเทคโนโลยีมุ่งเน้นการ
พัฒนาภาคการเกษตร ตอบรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
ตามโมเดลประเทศไทย 4.0 ที่ให้ความสาคัญกับการ
ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี
> จัดสัมมนา “SmartxIOTxforxAgriculture” การประยุกต์
ใช้ Internet of Things (อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง) สาหรับ
บริหารจัดการระบบการเกษตรและควบคุมปัจจัยการผลิต
เช่น การควบคุมปัจจัยการผลิตผ่าน mobile application การ
ใช้ Drone พ่นยาฆ่าแมลง รวมไปถึงการสังเคราะห์เทคโนโลยี
ต่างๆ เพื่อการนาไปใช้ประโยชน์และสาธิตการใช้งานของ
เทคโนโลยีที่สามารถนาไปใช้จริง จากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ
ได้แก่ ดร.อัมพร โพธิ์ใย ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีไมโคร
อิเล็กทรอนิกส์ (TMEC) สวทช. คุณกาพล โชคสุนทสุทธิ์
ประธานกรรมการ บริษัท เอเชนเทค (ประเทศไทย) จากัด
และคุณกันตพงษ์ แก้วกมล ประธานเครือข่ายยังสมาร์ท
ฟาร์มเมอร์ ประเทศไทย ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ตรงในการ
ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนางานด้านการเกษตร
สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.)
ร่วมกับสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
(วว.) ผนึกกาลังนาชุดความรู้และเทคโนโลยีเรื่อง “ข้าวไทย” จัด
แสดงในพื้นที่ Bio Economy หรือเศรษฐกิจชีวภาพ ภายในงาน
Thailand Tech Show 2017 ระหว่างวันที่ 20-24 กันยายน 2560
ณ ไบเทค บางนา ซึ่ง Bio Economy เป็นเศรษฐกิจพื้นฐานของ
การวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม ต่อยอดการใช้ทรัพยากรฐาน
ชีวภาพ (พืช สัตว์ จุลินทรีย์) รวมถึงวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร
ของเสีย/น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ฟาร์มปศุสัตว์ และ
ชุมชน พัฒนาเป็น “ผลิตภัณฑ์ชีวภาพ” ที่มีมูลค่าสูงก่อให้กิด
ความก้าวหน้าและนวัตกรรมในมิติใหม่ๆ ที่ส่งผลต่อการปฏิรูป
ภาคการเกษตร ภาคสังคมและภาคเศรษฐกิจของโลก
สท. ได้นาชุดเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นปัจจัยด้าน
การผลิตข้าวมาจัดแสดงและเผยแพร่ข้อมูลวิธีการใช้สาร
ชีวภัณฑ์เพื่อกาจัดศัตรูพืชในแปลงนา อาทิ ราบิวเวอเรีย ไวรัส
เอ็นพีวี ไตรโคเดอร์มา สเตรป เป็นต้น รวมถึงนาเสนอ
แอพพลิเคชั่นด้านการเกษตร ผลงานวิจัยและพัฒนาของศูนย์
เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค)
อาทิ BaikhaoNK เป็นแอพที่ใช้อ่านสีของใบข้าวเพื่อการประเมิน
ความต้องการธาตุอาหารไนโตรเจน-โพแทสเซียมของต้นข้าว
FAARMis ระบบขึ้นทะเบียนเกษตรกรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นแอพ
พลิเคชันสาหรับใช้ขึ้นทะเบียนเกษตรกร (ทบก.) เหมาะสาหรับ
เจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมการเกษตร Agri-Map แอพพลิเคชั่นบน
สมาร์ทโฟนที่ช่วยเพิ่มความสะดวกให้เกษตรกรและเจ้าหน้าที่
สามารถเข้าถึงและใช้ข้อมูลเชิงสารสนเทศด้านการเกษตร เพื่อ
บริหารจัดการพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น
นอกจากนี้ สท. ได้จัดกิจกรรมเวิร์กช็อป “การแปรรูป
ข้าว” ให้ผู้เข้าชมงานได้ร่วมฝึกปฏิบัติ อาทิ เจลลี่ข้าว ครีมมาส์ก
หน้าจากข้าว ผงชงดื่มทดแทนอาหารมื้อเช้า เป็นต้น ซึ่งได้รับ
ความสนใจจากผู้เข้าชมงานอย่างมาก ผู้ร่วมกิจกรรมยังได้
ผลิตภัณฑ์จากผลงานตนเองกลับบ้านด้วย
THAILAND TECH SHOW 2017
“Bio Economy”
2
เมื่อวันที่ 7xกันยายน 2560 ฝ่ายจัดการความรู้เพื่อเกษตรและชุมชน จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ
หลักสูตร “การแปรรูปผลิตผลตระกูลไซตรัสด้วย วทน. เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร”
ณ ห้องประชุม 203 อาคาร INC 1 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี
การเพิ่มมูลค่าของมะกรูด มะนาว ส้มโอสู่เชิงพาณิชย์ ตลอดจนนาองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้เพิ่มมูลค่า
ผลผลิตทางการเกษตรอื่น
การฝึกอบรมฯ ครั้งนี้มีเกษตรกรรุ่นใหม่และผู้ประกอบการ
เข้าร่วมจานวน 25xคน ผู้เข้าร่วมอบรมได้เรียนรู้เทคนิคการแปรรูป
เบื้องต้น การสกัดน้ามันจากเปลือกผลไม้ชนิดต่างๆ เพื่อนามาเป็น
สารสกัดหรือวัตถุดิบตั้งต้นในการแปรรูป ตลอดจนการแปรรูป
ผลิตผลตระกูลไซตรัสเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต
ทางการเกษตรและแก้ปัญหาพืช ผัก ผลไม้ล้นตลาด
12
กันยายน 2560
3
ผู้เข้าอบรมได้ฝึกปฏิบัติแปรรูปมะกรูด มะนาว และส้มโอ เป็น
4xผลิตภัณฑ์ ได้แก่ น้ามันนวดจากมะกรูด เจลลี่จากมะนาว ครีม
หมักผมจากมะกรูด และสครับขัดผิวจากส้มโอ
“การแปรรูปผลิตผลตระกูลไซตรัสด้วย วทน. เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร”
ตามที่สานักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
สานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ได้ดาเนินงานหมู่บ้านแม่ข่ายวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมการนาวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) ไปใช้ประโยชน์ใน
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชนท้องถิ่น ผ่านกลไก
ความร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่าย โดยหมู่บ้าน/
ชุมชน ได้นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
ไปประยุกต์ใช้ จนเกิดความเชี่ยวชาญสามารถสร้าง
ผลิตภัณฑ์ สร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างงาน เกิดรายได้และ
คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น หมู่บ้านเกษตรอินทรีย์บ้าน
หนองมัง จ.อุบลราชธานี เป็นหนึ่งในหมู่บ้านที่ผ่าน
การประเมินยกระดับหมู่บ้านแม่ข่ายวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีให้เป็นหมู่บ้านนวัตกรรม โดยประกาศ
เชิดชูเกียรติในการประชุมเครือข่ายประจาปี 2560
ภายในงาน “Thai Tech EXPO 2017” เมื่อวันที่ 23
กันยายน 2560 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม
ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ
ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน สท.
ได้จัดแสดงผลงานนิทรรศการเทคโนโลยีชุมชนของ
หมู่บ้านเกษตรอินทรีย์บ้านหนองมัง จ.อุบลราชธานี
ภายในโซน InnoVillages ของงาน Thai Tech EXPO 2017
ครั้งนี้ด้วยโดยนาผลงานและเทคโนโลยีที่ สท. ได้
ถ่ายทอดให้กลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านหนองมังได้นาไปใช้
ประโยชน์ การจัดแสดงเทคโนโลยีดังกล่าวยังเป็น
ช่องทางและขยายโอกาสให้ประชาชนผู้สนใจเข้าถึงการ
บริการงานด้าน วทน. ด้วยเช่นกัน ซึ่งผู้เข้าชมงานให้
ความสนใจมากโดยเฉพาะเทคโนโลยีโรงเรือนพลาสติก
คัดเลือกแสง และสารชีวภัณฑ์กาจัดแมลงศัตรูพืชบิว-
เวอเรีย
InnoVillages ชุมชนนวัตกรรม หมู่บ้านเกษตรอินทรีย์ บ้านหนองมัง จ.อุบลราชธานี
คุณปิยะทัศน์ ทัศนิยม ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์
โนนกลาง เป็นตัวแทนชุมชนรับโล่ และคุณอุไรพรรณ ปรางอุดมทรัพย์
เป็นตัวแทน สวทช. รับเกียรติบัตร นิทรรศการเทคโนโลยีชุมชนนวัตกรรม
หมู่บ้านเกษตรอินทรีย์ บ้านหนองมัง จ.อุบลราชธานี
12
กันยายน 2560
4
ผู้ร่วมงานเยี่ยมชมบูธนิทรรศการ
บ้านหนองมัง ต.โนนกลาง อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี เป็นชุมชนขนาดใหญ่ตั้งมากว่า 100 ปี
เดิมชุมชนทาการเกษตรแบบดั้งเดิม ทานาเป็นอาชีพหลัก ทาสวนและเลี้ยงสัตว์เป็นอาชีพรอง ด้วยสภาพพื้นที่
เป็นดินร่วนปนทราย มีความเป็นกรดสูง และไม่มีแหล่งน้าธรรมชาติ ผลผลิตทางเกษตรจึงไม่มีคุณภาพ
เป็นเวลากว่า 10 ปี ที่ สวทช. ได้ทางานในพื้นที่บ้านหนองมัง โดยนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
นวัตกรรม เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตการทาเกษตร โดยเฉพาะเมื่อชุมชนมุ่งมั่นเปลี่ยนแนวทางการทา
เกษตรจากเคมีสู่เกษตรอินทรีย์ สวทช. ได้เติมเต็มความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ให้กับเกษตรกร พร้อมทั้งนา
เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมถ่ายทอดสู่เกษตรกร เกิดการเรียนรู้และพัฒนาการทาเกษตรอินทรีย์จน
เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค นาไปสู่การจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจ และเกิด "ศูนย์การเรียนรู้กลุ่มวิสาหกิจชุมชน
เกษตรอินทรีย์โนนกลาง" ที่เป็นแหล่งศึกษาดูงานด้านเกษตรอินทรีย์
ปัจจุบันสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์โนนกลาง สามารถนาเทคโนโลยีที่ได้รับการถ่ายทอด
ไปใช้ประโยชน์ เกิดความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องในการผลิตพืชในระบบเกษตรอินทรีย์ สามารถผลิตพืชผัก
ที่ดีทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ มีการวางแผนการเพาะปลูกและคานึงถึงชนิดของพืชผักที่มีความเหมาะสม
และมีมูลค่า ส่งเสริมให้เกิดรายได้และเกิดอาชีพในกลุ่มและมีการสร้างเครือข่ายการทางานร่วมกันอย่างยั่งยืน
5
ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน และนักวิจัยไบโอเทค ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจาก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ลงพื้นที่วางแผนงาน “โครงการศูนย์การเรียนรู้
ด้านสัตว์น้า” ณ ศูนย์เพาะพันธุ์สัตว์น้าเขื่อนสิรินธร จ.อุบลราชธานี เพื่อให้เกิดศูนย์การเรียนรู้ให้ชุมชน
รอบเขื่อนเข้ามาศึกษาด้านสัตว์น้า
จากการประเมินพื้นที่และสารวจปัญหาบริเวณพื้นที่ศูนย์เพาะพันธุ์สัตว์น้าของ กฟผ. พบว่าใน
บริเวณพื้นที่โดยรอบ มีระบบการผลิตและเพาะพันธุ์สัตว์น้าอยู่แล้ว แต่ควรมีการปรับปรุงระบบโรงเรือน
ผลิตให้สามารถผลิตลูกกุ้งก้ามกรามได้ตลอดทั้งปี และสามารถคุมอุณหภูมิได้ในช่วงหน้าหนาว นักวิจัย
ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจึงมีแผนจะนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไปพัฒนาระบบการผลิตที่สามารถผลิตกุ้ง
ก้ามกรามได้ทั้งปี กระตุ้นให้เกิดการพัฒนาชุมชนรอบเขื่อน กฟผ. ปรับปรุงระบบหมุนเวียนน้าเพื่อใช้
ทรัพยากรน้าอย่างคุ้มค่า พัฒนาระบบการเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์กุ้งก้ามกรามเพื่อเก็บพ่อแม่พันธุ์กุ้งก้ามกราม
ไว้ใช้เอง ลดค่าใช้จ่ายการซื้อพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ การเก็บรักษาพันธุ์ปลาพื้นเมือง และการเพาะขยายพันธุ์
ปลาพื้นเมืองในลุ่มแม่น้าโขง
โครงการศูนย์การเรียนรู้ด้านสัตว์นา
6
12
กันยายน 2560
7
เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2560 ฝ่ายบริหารจัดการเทคโนโลยีและ
นวัตกรรม ร่วมกับฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน จัดอบรม
เชิงปฏิบัติการ “การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกองด้วยวัสดุเหลือใช้ทาง
การเกษตร และการเลี้ยงไส้เดือนดินเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์” ให้กลุ่มเกษตรกร
บ้านโพนงามท่า ต.บ้านแป้น อ.โพนนาแก้ว จ.สกลนคร ณ ศูนย์การเรียนรู้
วิสาหกิจชุมชนทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่บ้านนาหวาย ต.ท่าก้อน อ.อากาศ
อานวย จ.สกลนคร เพื่อเป็นแนวทางลดต้นทุนการผลิตในภาคเกษตรกรรม
โดยมีอาจารย์แสนวสันต์ ยอดคา คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรม
เกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้เรื่องการผลิตปุ๋ย
หมักแบบไม่พลิกกลับกอง ซึ่งการผลิตปุ๋ยหมักโดยทั่วไปต้องพลิกกลับกอง
เพื่อนาออกซิเจนให้กับจุลินทรีย์ไปย่อยสลายทางชีวภาพ ทาให้ต้องใช้
แรงงานและเปลืองเวลา แต่การผลิตปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกองใช้เวลา
ผลิตเพียง 60 วัน ได้ปุ๋ยหมักที่มีค่าตามมาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์ของกรมวิชาการ
เกษตร พ.ศ. 2551 โดยวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ ฟางข้าวหรือผักตบชวา และมูล
สัตว์ ในอัตราส่วน 4 : 1 วางทับสลับกันเป็นรูปสามเหลี่ยมสูง 1.5 เมตร ซึ่ง
หัวใจของการทาปุ๋ยหมักวิธีนี้คือ 1. ในกองปุ๋ยต้องมีคาร์บอน ( มีในเศษพืช)
และไนโตรเจน (มีในมูลสัตว์) สาหรับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ 2. ในกอง
ปุ๋ยต้องมีจุลินทรีย์ 3. ในกองปุ๋ยต้องมีความชื้น และ 4. ในกองปุ๋ยต้องมี
ออกซิเจน
การอบรมครั้งนี้ยังได้รับเกียรติจาก คุณนุจรี โลหะกุล เจ้าของ
ฟาร์มไส้เดือนไม้งาม เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ “การเลี้ยงไส้เดือนดิน”
โดยใช้ไส้เดือนสายพันธุ์ไทย “พันธุ์ขี้ตาแร่” ที่มีความเหมาะสมในการย่อย
สลายขยะอินทรีย์ สามารถผลิตปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนและน้าไส้เดือนที่มี
ปริมาณฮิวมัสมาก
ผู้เข้าร่วมอบรมฯ ให้ความสนใจ พึงพอใจทั้งทางด้านเนื้อหาการจัด
อบรม และความสามารถของวิทยากรเป็นอย่างมาก อีกทั้งวิทยากรได้ให้
ความรู้เพิ่มเติม และตอบข้อซักถามในประเด็นข้อสงสัยให้กับผู้เข้าร่วมอบรม
ได้อย่างดี
“การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกองด้วยวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และการเลียง
ไส้เดือนดินเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์”
เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2560 ฝ่ายบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม และ
ฝ่ายพัฒนาบุคลากรเพื่อเกษตรและชุมชน ร่วมจัดนิทรรศการและแสดงผลงานการนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถ่ายทอดสู่ชุน ในกิจกรรมตรวจเยี่ยมและติดตามการ
ดาเนินงาน ครม. สัญจร เรื่อง การยกระดับสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมโดยใช้
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อให้สามารถแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
ณ วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ทุ่งทองยั่งยืน ต.จรเข้สามพัน อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี
โดยมี ดร.อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็น
ประธานในพิธี ซึ่งผลงานที่นาไปจัดแสดง ได้แก่ เทคโนโลยีที่นาไปถ่ายทอดให้กับ
เกษตรกรกลุ่มรวมพลังเกษตรชีวภาพบ้านนาคู อ.ผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็น
หมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หมู่บ้านบิวเวอเรีย การผลิตเชื้อ Beauveria เพื่อ
ป้องกันเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลในนาข้าว การปลูกพืชใช้น้าน้อย (เมล่อน) ในระบบ
โรงเรือน และการผลิตมูลไส้เดือนดินเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
ยกระดับสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมโดยใช้ วทน.
8
ฝ่ายยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตร และฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน สถาบันการจัดการ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ร่วมกับศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) และ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มข.) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การตรวจวินิจฉัยโรคพืชและการจัดการโรค
พืชอย่างถูกวิธี” โดยเน้นเมล่อนและพืชวงศ์แตง เพราะเมล่อนเป็นพืชเศรษฐกิจที่ได้รับความสนใจปลูกกันมาก
ในระยะที่ผ่านมา เนื่องจากเป็นพืชอายุสั้น สามารถทารายได้เร็ว แต่เมล่อนเป็นพืชที่ต้องการดูแลอย่างใกล้ชิด
เนื่องจากมีโรคและแมลงศัตรูรบกวนทุกระยะการเจริญเติบโต ดังนั้น ความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพืช โรคเมล็ด
พันธุ์ของเมล่อน การตรวจและวินิจฉัยโรคพืชด้วยตนเอง รวมทั้งวิธีการควบคุมโรคพืชและส่งเสริมการเจริญของ
พืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย จึงมีความสาคัญต่อเกษตรกรผู้ปลูกเมล่อนให้สามารถส่งมอบผลผลิตที่มีคุณภาพ
ป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับผลผลิต รวมทั้งมีความปลอดภัยต่อเกษตรกรผู้ปลูกเองด้วย
การฝึกอบรมฯ ครั้งนี้จึงมุ่งเน้น (1) สร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคพืช โรคเมล็ดพันธุ์ ที่พบในเมล่อน
รวมทั้งฝึกปฏิบัติการตรวจโรคพืชและการวินิจฉัยโรคพืชด้วยตนเอง (2) เรียนรู้การใช้สารเคมีควบคุมโรคพืช
อย่างถูกต้องและปลอดภัย รวมทั้งการควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี และการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ส่งเสริมการ
เจริญของพืช (3) เรียนรู้และฝึกปฎิบัติการขยายเชื้อจากจุลินทรีย์
การฝึกอบรมฯ ครั้งนี้มีผู้สนใจและเข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 42..คน ประกอบด้วย ผู้ประกอบการฟาร์มแตง
และเมล่อน ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ บริษัท/ผู้ประกอบการการค้าวัสดุอุปกรณ์การเกษตร และอาจารย์มหาวิทยาลัย
รศ.ดร. เพชรรัตน์ ธรรมเบญจพล ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร (สาขาโรคพืชวิทยา) คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บรรยายให้ความรู้เรื่อง “โรคพืช โรคเมล็ดพันธุ์ และการจัดการโรคพืช” และ "ฝึกปฏิบัติการตรวจโรคพืช โรคเมล็ดพันธุ์"
“การตรวจวินิจฉัยโรคพืชและการจัดการโรคพืชอย่างถูกวิธี” (เมล่อนและพืชวงศ์แตง)
วันที่ 27-28 กันยายน 2560
ณ ห้อง Lecture 1 ชัน 1 อาคารบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร
อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ. ปทุมธานี
12
กันยายน 2560
9
ดร. อรวรรณ หิมานันโต และ ดร. ชาญณรงค์ ศรีภิบาล นักวิจัย
หน่วยวิจัยไวรัสวิทยาและเทคโนโลยีแอนติบอดี ห้องปฏิบัติการผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดี ไบโอเทค
บรรยายให้ความรู้และสาธิตวิธีการใช้ "ชุดตรวจโรคในพืชวงศ์แตง"
รศ.ดร.เพชรรัตน์ ธรรมเบญจพล บรรยายให้ความรู้เรื่อง “การควบคุม
โรคพืชและแมลงโดยชีววิธี/การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ส่งเสริมการ
เจริญของพืช” และ "ฝึกปฏิบัติการขยายเชื้อไตรโคเดอร์มาที่ถูกต้อง"
คุณสัมฤทธิ์ เกียววงษ์ นักวิชาการอาวุโส
หน่วยวิจัยไวรัสวิทยาและเทคโนโลยี
แอนติบอดี โรงงานต้นแบบผลิตไวรัสเอ็น
พีวีเพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช ไบโอเทค
บรรยายให้ความรู้เรื่อง "ประโยชน์และ
วิธีใช้ ไวรัส NPV"
ดร.มงคล อุตมโท นักวิจัย หน่วยวิจัย
เทคโนโลยีชีวภาพจุลินทรีย์และชีวเคมีภัณฑ์
ห้องปฏิบัติการวิจัยการควบคุมทางชีวภาพ ไบ
โอเทค) บรรยายให้ความรู้เรื่อง “ประโยชน์
และวิธีใช้ บิวเวอเรีย และ แบคทีเรียบีที ”
และ "สาธิตขยายเชื้อบิววาเรีย ที่ถูกต้อง"
10
12
ตุลาคม 2560
11
ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน (ATT)
2-3 ประชุมหารือและสารวจพื้นที่การพัฒนาเขต
นวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (EECi)
ณ สานักงาน ศวภ. 4 จ.ระยอง และมหาวิทยาลัยบูรพา จ.จันทบุรี
4-6 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “พัฒนาศักย-
ภาพทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่ ด้วยวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรม”
ณ โรงแรมสกลแกรนด์พาเลช อ.เมือง จ.สกลนคร
11-13 ลงพื้นที่เพื่อประเมินพื้นที่สาหรับขยายผล
เทคโนโลยีโรงเรือนพลาสติกปลูกผัก
ณ อ.สันติสุข อ.บ่อเกลือ และอ.เวียงสา จ.น่าน
12-13 ลงพื้นที่วางแผนขยายผลมันสาปะหลัง
ณ จ.กาฬสินธุ์
17-18 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “พัฒนาศักย-
ภาพทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่ ด้วยวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรม”
ณ อ.เมือง จ.ลาปาง
18 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการเลี้ยงปูนาในวงบ่อซีเมนต์
ณ อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
ฝ่ายพัฒนาบุคลากรเพื่อเกษตรและชุมชน (AHD)
6-8 ลงพื้นที่ติดตามงานโครงการนักการตลาด
ณ จ.สกลนคร
กิจกรรมเดือนตุลาคม 2560
ฝ่ายจัดการความรู้เพื่อเกษตรและชุมชน (ATT)
4-6 ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อจัดทาสื่อการอบรม
เชิงปฏิบัติการหลักสูตร “พัฒนาศักยภาพ
ทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่ ด้วยวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรม”
ณ โรงแรมสกลแกรนด์พาเลช อ.เมือง จ.สกลนคร
17-18 ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อจัดทาสื่อการ
อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “พัฒนาศักยภาพ
ทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่ ด้วยวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรม”
ณ อ.เมือง จ.ลาปาง

More Related Content

More from นางสาวขวัญธิดา ดงหลง

More from นางสาวขวัญธิดา ดงหลง (12)

E news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-finalE news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-final
 
E news-june-2018-final
E news-june-2018-finalE news-june-2018-final
E news-june-2018-final
 
E news-june-2018-final
E news-june-2018-finalE news-june-2018-final
E news-june-2018-final
 
E news-may-2018-final
E news-may-2018-finalE news-may-2018-final
E news-may-2018-final
 
E news-april-2018-final
E news-april-2018-finalE news-april-2018-final
E news-april-2018-final
 
Agritec book 2017
Agritec book 2017Agritec book 2017
Agritec book 2017
 
Agritec book 2017
Agritec book 2017Agritec book 2017
Agritec book 2017
 
E news-march-2018-final
E news-march-2018-finalE news-march-2018-final
E news-march-2018-final
 
E news-january-2018-final
E news-january-2018-finalE news-january-2018-final
E news-january-2018-final
 
E news-november-2017-final
E news-november-2017-finalE news-november-2017-final
E news-november-2017-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 

E news-september-2017-final

  • 1. นช่วงต้นเดือนกันยายน 2560..สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ นวัตกรรมเกษตร (สท.) ได้เข้าร่วมกิจกรรมงาน “SIMA ASEAN 2017” งาน แสดงสินค้าและการประชุมนานาชาติเพื่อธุรกิจภาคการเกษตรที่ใหญ่ที่สุดใน ภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ 3 ระหว่างวันที่ 7-9 กันยายน 2560 ณ ศูนย์การแสดง สินค้าอิมแพ็ค เมืองทองธานี สท. ร่วมจัดนิทรรศการในงาน SIMA ASEAN 2017 ใ 12 กันยายน 2560 1 > จัดแสดงโมเดลโรงเรือนอัจฉริยะ ผลงานวิจัยและ พัฒนาโดยศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (TMEC) ซึ่งโรงเรือนอัจฉริยะมีระบบเซ็นเซอร์ควบคุม ปัจจัยการปลูกพืชโดยอัตโนมัติ ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้น ความชื้นในดิน แสง และโครงสร้างของ โรงเรือนออกแบบให้อากาศไหลเวียนได้เหมาะสม โดยเกษตรกรสามารถสั่งงานผ่านโทรศัพท์มือถือได้ โรงเรือนอัจฉริยะเป็นอีกหนึ่งเทคโนโลยีมุ่งเน้นการ พัฒนาภาคการเกษตร ตอบรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ตามโมเดลประเทศไทย 4.0 ที่ให้ความสาคัญกับการ ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี > จัดสัมมนา “SmartxIOTxforxAgriculture” การประยุกต์ ใช้ Internet of Things (อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง) สาหรับ บริหารจัดการระบบการเกษตรและควบคุมปัจจัยการผลิต เช่น การควบคุมปัจจัยการผลิตผ่าน mobile application การ ใช้ Drone พ่นยาฆ่าแมลง รวมไปถึงการสังเคราะห์เทคโนโลยี ต่างๆ เพื่อการนาไปใช้ประโยชน์และสาธิตการใช้งานของ เทคโนโลยีที่สามารถนาไปใช้จริง จากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แก่ ดร.อัมพร โพธิ์ใย ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีไมโคร อิเล็กทรอนิกส์ (TMEC) สวทช. คุณกาพล โชคสุนทสุทธิ์ ประธานกรรมการ บริษัท เอเชนเทค (ประเทศไทย) จากัด และคุณกันตพงษ์ แก้วกมล ประธานเครือข่ายยังสมาร์ท ฟาร์มเมอร์ ประเทศไทย ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ตรงในการ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนางานด้านการเกษตร
  • 2. สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ร่วมกับสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ผนึกกาลังนาชุดความรู้และเทคโนโลยีเรื่อง “ข้าวไทย” จัด แสดงในพื้นที่ Bio Economy หรือเศรษฐกิจชีวภาพ ภายในงาน Thailand Tech Show 2017 ระหว่างวันที่ 20-24 กันยายน 2560 ณ ไบเทค บางนา ซึ่ง Bio Economy เป็นเศรษฐกิจพื้นฐานของ การวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม ต่อยอดการใช้ทรัพยากรฐาน ชีวภาพ (พืช สัตว์ จุลินทรีย์) รวมถึงวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ของเสีย/น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ฟาร์มปศุสัตว์ และ ชุมชน พัฒนาเป็น “ผลิตภัณฑ์ชีวภาพ” ที่มีมูลค่าสูงก่อให้กิด ความก้าวหน้าและนวัตกรรมในมิติใหม่ๆ ที่ส่งผลต่อการปฏิรูป ภาคการเกษตร ภาคสังคมและภาคเศรษฐกิจของโลก สท. ได้นาชุดเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นปัจจัยด้าน การผลิตข้าวมาจัดแสดงและเผยแพร่ข้อมูลวิธีการใช้สาร ชีวภัณฑ์เพื่อกาจัดศัตรูพืชในแปลงนา อาทิ ราบิวเวอเรีย ไวรัส เอ็นพีวี ไตรโคเดอร์มา สเตรป เป็นต้น รวมถึงนาเสนอ แอพพลิเคชั่นด้านการเกษตร ผลงานวิจัยและพัฒนาของศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) อาทิ BaikhaoNK เป็นแอพที่ใช้อ่านสีของใบข้าวเพื่อการประเมิน ความต้องการธาตุอาหารไนโตรเจน-โพแทสเซียมของต้นข้าว FAARMis ระบบขึ้นทะเบียนเกษตรกรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นแอพ พลิเคชันสาหรับใช้ขึ้นทะเบียนเกษตรกร (ทบก.) เหมาะสาหรับ เจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมการเกษตร Agri-Map แอพพลิเคชั่นบน สมาร์ทโฟนที่ช่วยเพิ่มความสะดวกให้เกษตรกรและเจ้าหน้าที่ สามารถเข้าถึงและใช้ข้อมูลเชิงสารสนเทศด้านการเกษตร เพื่อ บริหารจัดการพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น นอกจากนี้ สท. ได้จัดกิจกรรมเวิร์กช็อป “การแปรรูป ข้าว” ให้ผู้เข้าชมงานได้ร่วมฝึกปฏิบัติ อาทิ เจลลี่ข้าว ครีมมาส์ก หน้าจากข้าว ผงชงดื่มทดแทนอาหารมื้อเช้า เป็นต้น ซึ่งได้รับ ความสนใจจากผู้เข้าชมงานอย่างมาก ผู้ร่วมกิจกรรมยังได้ ผลิตภัณฑ์จากผลงานตนเองกลับบ้านด้วย THAILAND TECH SHOW 2017 “Bio Economy” 2
  • 3. เมื่อวันที่ 7xกันยายน 2560 ฝ่ายจัดการความรู้เพื่อเกษตรและชุมชน จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “การแปรรูปผลิตผลตระกูลไซตรัสด้วย วทน. เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร” ณ ห้องประชุม 203 อาคาร INC 1 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี การเพิ่มมูลค่าของมะกรูด มะนาว ส้มโอสู่เชิงพาณิชย์ ตลอดจนนาองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้เพิ่มมูลค่า ผลผลิตทางการเกษตรอื่น การฝึกอบรมฯ ครั้งนี้มีเกษตรกรรุ่นใหม่และผู้ประกอบการ เข้าร่วมจานวน 25xคน ผู้เข้าร่วมอบรมได้เรียนรู้เทคนิคการแปรรูป เบื้องต้น การสกัดน้ามันจากเปลือกผลไม้ชนิดต่างๆ เพื่อนามาเป็น สารสกัดหรือวัตถุดิบตั้งต้นในการแปรรูป ตลอดจนการแปรรูป ผลิตผลตระกูลไซตรัสเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทางการเกษตรและแก้ปัญหาพืช ผัก ผลไม้ล้นตลาด 12 กันยายน 2560 3 ผู้เข้าอบรมได้ฝึกปฏิบัติแปรรูปมะกรูด มะนาว และส้มโอ เป็น 4xผลิตภัณฑ์ ได้แก่ น้ามันนวดจากมะกรูด เจลลี่จากมะนาว ครีม หมักผมจากมะกรูด และสครับขัดผิวจากส้มโอ “การแปรรูปผลิตผลตระกูลไซตรัสด้วย วทน. เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร”
  • 4. ตามที่สานักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี สานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดาเนินงานหมู่บ้านแม่ข่ายวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมการนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) ไปใช้ประโยชน์ใน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชนท้องถิ่น ผ่านกลไก ความร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่าย โดยหมู่บ้าน/ ชุมชน ได้นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ไปประยุกต์ใช้ จนเกิดความเชี่ยวชาญสามารถสร้าง ผลิตภัณฑ์ สร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างงาน เกิดรายได้และ คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น หมู่บ้านเกษตรอินทรีย์บ้าน หนองมัง จ.อุบลราชธานี เป็นหนึ่งในหมู่บ้านที่ผ่าน การประเมินยกระดับหมู่บ้านแม่ข่ายวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีให้เป็นหมู่บ้านนวัตกรรม โดยประกาศ เชิดชูเกียรติในการประชุมเครือข่ายประจาปี 2560 ภายในงาน “Thai Tech EXPO 2017” เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2560 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน สท. ได้จัดแสดงผลงานนิทรรศการเทคโนโลยีชุมชนของ หมู่บ้านเกษตรอินทรีย์บ้านหนองมัง จ.อุบลราชธานี ภายในโซน InnoVillages ของงาน Thai Tech EXPO 2017 ครั้งนี้ด้วยโดยนาผลงานและเทคโนโลยีที่ สท. ได้ ถ่ายทอดให้กลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านหนองมังได้นาไปใช้ ประโยชน์ การจัดแสดงเทคโนโลยีดังกล่าวยังเป็น ช่องทางและขยายโอกาสให้ประชาชนผู้สนใจเข้าถึงการ บริการงานด้าน วทน. ด้วยเช่นกัน ซึ่งผู้เข้าชมงานให้ ความสนใจมากโดยเฉพาะเทคโนโลยีโรงเรือนพลาสติก คัดเลือกแสง และสารชีวภัณฑ์กาจัดแมลงศัตรูพืชบิว- เวอเรีย InnoVillages ชุมชนนวัตกรรม หมู่บ้านเกษตรอินทรีย์ บ้านหนองมัง จ.อุบลราชธานี คุณปิยะทัศน์ ทัศนิยม ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ โนนกลาง เป็นตัวแทนชุมชนรับโล่ และคุณอุไรพรรณ ปรางอุดมทรัพย์ เป็นตัวแทน สวทช. รับเกียรติบัตร นิทรรศการเทคโนโลยีชุมชนนวัตกรรม หมู่บ้านเกษตรอินทรีย์ บ้านหนองมัง จ.อุบลราชธานี 12 กันยายน 2560 4
  • 5. ผู้ร่วมงานเยี่ยมชมบูธนิทรรศการ บ้านหนองมัง ต.โนนกลาง อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี เป็นชุมชนขนาดใหญ่ตั้งมากว่า 100 ปี เดิมชุมชนทาการเกษตรแบบดั้งเดิม ทานาเป็นอาชีพหลัก ทาสวนและเลี้ยงสัตว์เป็นอาชีพรอง ด้วยสภาพพื้นที่ เป็นดินร่วนปนทราย มีความเป็นกรดสูง และไม่มีแหล่งน้าธรรมชาติ ผลผลิตทางเกษตรจึงไม่มีคุณภาพ เป็นเวลากว่า 10 ปี ที่ สวทช. ได้ทางานในพื้นที่บ้านหนองมัง โดยนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตการทาเกษตร โดยเฉพาะเมื่อชุมชนมุ่งมั่นเปลี่ยนแนวทางการทา เกษตรจากเคมีสู่เกษตรอินทรีย์ สวทช. ได้เติมเต็มความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ให้กับเกษตรกร พร้อมทั้งนา เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมถ่ายทอดสู่เกษตรกร เกิดการเรียนรู้และพัฒนาการทาเกษตรอินทรีย์จน เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค นาไปสู่การจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจ และเกิด "ศูนย์การเรียนรู้กลุ่มวิสาหกิจชุมชน เกษตรอินทรีย์โนนกลาง" ที่เป็นแหล่งศึกษาดูงานด้านเกษตรอินทรีย์ ปัจจุบันสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์โนนกลาง สามารถนาเทคโนโลยีที่ได้รับการถ่ายทอด ไปใช้ประโยชน์ เกิดความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องในการผลิตพืชในระบบเกษตรอินทรีย์ สามารถผลิตพืชผัก ที่ดีทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ มีการวางแผนการเพาะปลูกและคานึงถึงชนิดของพืชผักที่มีความเหมาะสม และมีมูลค่า ส่งเสริมให้เกิดรายได้และเกิดอาชีพในกลุ่มและมีการสร้างเครือข่ายการทางานร่วมกันอย่างยั่งยืน 5
  • 6. ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน และนักวิจัยไบโอเทค ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ลงพื้นที่วางแผนงาน “โครงการศูนย์การเรียนรู้ ด้านสัตว์น้า” ณ ศูนย์เพาะพันธุ์สัตว์น้าเขื่อนสิรินธร จ.อุบลราชธานี เพื่อให้เกิดศูนย์การเรียนรู้ให้ชุมชน รอบเขื่อนเข้ามาศึกษาด้านสัตว์น้า จากการประเมินพื้นที่และสารวจปัญหาบริเวณพื้นที่ศูนย์เพาะพันธุ์สัตว์น้าของ กฟผ. พบว่าใน บริเวณพื้นที่โดยรอบ มีระบบการผลิตและเพาะพันธุ์สัตว์น้าอยู่แล้ว แต่ควรมีการปรับปรุงระบบโรงเรือน ผลิตให้สามารถผลิตลูกกุ้งก้ามกรามได้ตลอดทั้งปี และสามารถคุมอุณหภูมิได้ในช่วงหน้าหนาว นักวิจัย ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจึงมีแผนจะนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไปพัฒนาระบบการผลิตที่สามารถผลิตกุ้ง ก้ามกรามได้ทั้งปี กระตุ้นให้เกิดการพัฒนาชุมชนรอบเขื่อน กฟผ. ปรับปรุงระบบหมุนเวียนน้าเพื่อใช้ ทรัพยากรน้าอย่างคุ้มค่า พัฒนาระบบการเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์กุ้งก้ามกรามเพื่อเก็บพ่อแม่พันธุ์กุ้งก้ามกราม ไว้ใช้เอง ลดค่าใช้จ่ายการซื้อพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ การเก็บรักษาพันธุ์ปลาพื้นเมือง และการเพาะขยายพันธุ์ ปลาพื้นเมืองในลุ่มแม่น้าโขง โครงการศูนย์การเรียนรู้ด้านสัตว์นา 6
  • 7. 12 กันยายน 2560 7 เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2560 ฝ่ายบริหารจัดการเทคโนโลยีและ นวัตกรรม ร่วมกับฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน จัดอบรม เชิงปฏิบัติการ “การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกองด้วยวัสดุเหลือใช้ทาง การเกษตร และการเลี้ยงไส้เดือนดินเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์” ให้กลุ่มเกษตรกร บ้านโพนงามท่า ต.บ้านแป้น อ.โพนนาแก้ว จ.สกลนคร ณ ศูนย์การเรียนรู้ วิสาหกิจชุมชนทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่บ้านนาหวาย ต.ท่าก้อน อ.อากาศ อานวย จ.สกลนคร เพื่อเป็นแนวทางลดต้นทุนการผลิตในภาคเกษตรกรรม โดยมีอาจารย์แสนวสันต์ ยอดคา คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรม เกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้เรื่องการผลิตปุ๋ย หมักแบบไม่พลิกกลับกอง ซึ่งการผลิตปุ๋ยหมักโดยทั่วไปต้องพลิกกลับกอง เพื่อนาออกซิเจนให้กับจุลินทรีย์ไปย่อยสลายทางชีวภาพ ทาให้ต้องใช้ แรงงานและเปลืองเวลา แต่การผลิตปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกองใช้เวลา ผลิตเพียง 60 วัน ได้ปุ๋ยหมักที่มีค่าตามมาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์ของกรมวิชาการ เกษตร พ.ศ. 2551 โดยวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ ฟางข้าวหรือผักตบชวา และมูล สัตว์ ในอัตราส่วน 4 : 1 วางทับสลับกันเป็นรูปสามเหลี่ยมสูง 1.5 เมตร ซึ่ง หัวใจของการทาปุ๋ยหมักวิธีนี้คือ 1. ในกองปุ๋ยต้องมีคาร์บอน ( มีในเศษพืช) และไนโตรเจน (มีในมูลสัตว์) สาหรับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ 2. ในกอง ปุ๋ยต้องมีจุลินทรีย์ 3. ในกองปุ๋ยต้องมีความชื้น และ 4. ในกองปุ๋ยต้องมี ออกซิเจน การอบรมครั้งนี้ยังได้รับเกียรติจาก คุณนุจรี โลหะกุล เจ้าของ ฟาร์มไส้เดือนไม้งาม เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ “การเลี้ยงไส้เดือนดิน” โดยใช้ไส้เดือนสายพันธุ์ไทย “พันธุ์ขี้ตาแร่” ที่มีความเหมาะสมในการย่อย สลายขยะอินทรีย์ สามารถผลิตปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนและน้าไส้เดือนที่มี ปริมาณฮิวมัสมาก ผู้เข้าร่วมอบรมฯ ให้ความสนใจ พึงพอใจทั้งทางด้านเนื้อหาการจัด อบรม และความสามารถของวิทยากรเป็นอย่างมาก อีกทั้งวิทยากรได้ให้ ความรู้เพิ่มเติม และตอบข้อซักถามในประเด็นข้อสงสัยให้กับผู้เข้าร่วมอบรม ได้อย่างดี “การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกองด้วยวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และการเลียง ไส้เดือนดินเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์”
  • 8. เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2560 ฝ่ายบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม และ ฝ่ายพัฒนาบุคลากรเพื่อเกษตรและชุมชน ร่วมจัดนิทรรศการและแสดงผลงานการนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถ่ายทอดสู่ชุน ในกิจกรรมตรวจเยี่ยมและติดตามการ ดาเนินงาน ครม. สัญจร เรื่อง การยกระดับสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมโดยใช้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อให้สามารถแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ณ วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ทุ่งทองยั่งยืน ต.จรเข้สามพัน อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี โดยมี ดร.อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็น ประธานในพิธี ซึ่งผลงานที่นาไปจัดแสดง ได้แก่ เทคโนโลยีที่นาไปถ่ายทอดให้กับ เกษตรกรกลุ่มรวมพลังเกษตรชีวภาพบ้านนาคู อ.ผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็น หมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หมู่บ้านบิวเวอเรีย การผลิตเชื้อ Beauveria เพื่อ ป้องกันเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลในนาข้าว การปลูกพืชใช้น้าน้อย (เมล่อน) ในระบบ โรงเรือน และการผลิตมูลไส้เดือนดินเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น ยกระดับสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมโดยใช้ วทน. 8
  • 9. ฝ่ายยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตร และฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน สถาบันการจัดการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ร่วมกับศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) และ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มข.) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การตรวจวินิจฉัยโรคพืชและการจัดการโรค พืชอย่างถูกวิธี” โดยเน้นเมล่อนและพืชวงศ์แตง เพราะเมล่อนเป็นพืชเศรษฐกิจที่ได้รับความสนใจปลูกกันมาก ในระยะที่ผ่านมา เนื่องจากเป็นพืชอายุสั้น สามารถทารายได้เร็ว แต่เมล่อนเป็นพืชที่ต้องการดูแลอย่างใกล้ชิด เนื่องจากมีโรคและแมลงศัตรูรบกวนทุกระยะการเจริญเติบโต ดังนั้น ความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพืช โรคเมล็ด พันธุ์ของเมล่อน การตรวจและวินิจฉัยโรคพืชด้วยตนเอง รวมทั้งวิธีการควบคุมโรคพืชและส่งเสริมการเจริญของ พืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย จึงมีความสาคัญต่อเกษตรกรผู้ปลูกเมล่อนให้สามารถส่งมอบผลผลิตที่มีคุณภาพ ป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับผลผลิต รวมทั้งมีความปลอดภัยต่อเกษตรกรผู้ปลูกเองด้วย การฝึกอบรมฯ ครั้งนี้จึงมุ่งเน้น (1) สร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคพืช โรคเมล็ดพันธุ์ ที่พบในเมล่อน รวมทั้งฝึกปฏิบัติการตรวจโรคพืชและการวินิจฉัยโรคพืชด้วยตนเอง (2) เรียนรู้การใช้สารเคมีควบคุมโรคพืช อย่างถูกต้องและปลอดภัย รวมทั้งการควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี และการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ส่งเสริมการ เจริญของพืช (3) เรียนรู้และฝึกปฎิบัติการขยายเชื้อจากจุลินทรีย์ การฝึกอบรมฯ ครั้งนี้มีผู้สนใจและเข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 42..คน ประกอบด้วย ผู้ประกอบการฟาร์มแตง และเมล่อน ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ บริษัท/ผู้ประกอบการการค้าวัสดุอุปกรณ์การเกษตร และอาจารย์มหาวิทยาลัย รศ.ดร. เพชรรัตน์ ธรรมเบญจพล ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร (สาขาโรคพืชวิทยา) คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น บรรยายให้ความรู้เรื่อง “โรคพืช โรคเมล็ดพันธุ์ และการจัดการโรคพืช” และ "ฝึกปฏิบัติการตรวจโรคพืช โรคเมล็ดพันธุ์" “การตรวจวินิจฉัยโรคพืชและการจัดการโรคพืชอย่างถูกวิธี” (เมล่อนและพืชวงศ์แตง) วันที่ 27-28 กันยายน 2560 ณ ห้อง Lecture 1 ชัน 1 อาคารบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ. ปทุมธานี 12 กันยายน 2560 9
  • 10. ดร. อรวรรณ หิมานันโต และ ดร. ชาญณรงค์ ศรีภิบาล นักวิจัย หน่วยวิจัยไวรัสวิทยาและเทคโนโลยีแอนติบอดี ห้องปฏิบัติการผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดี ไบโอเทค บรรยายให้ความรู้และสาธิตวิธีการใช้ "ชุดตรวจโรคในพืชวงศ์แตง" รศ.ดร.เพชรรัตน์ ธรรมเบญจพล บรรยายให้ความรู้เรื่อง “การควบคุม โรคพืชและแมลงโดยชีววิธี/การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ส่งเสริมการ เจริญของพืช” และ "ฝึกปฏิบัติการขยายเชื้อไตรโคเดอร์มาที่ถูกต้อง" คุณสัมฤทธิ์ เกียววงษ์ นักวิชาการอาวุโส หน่วยวิจัยไวรัสวิทยาและเทคโนโลยี แอนติบอดี โรงงานต้นแบบผลิตไวรัสเอ็น พีวีเพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช ไบโอเทค บรรยายให้ความรู้เรื่อง "ประโยชน์และ วิธีใช้ ไวรัส NPV" ดร.มงคล อุตมโท นักวิจัย หน่วยวิจัย เทคโนโลยีชีวภาพจุลินทรีย์และชีวเคมีภัณฑ์ ห้องปฏิบัติการวิจัยการควบคุมทางชีวภาพ ไบ โอเทค) บรรยายให้ความรู้เรื่อง “ประโยชน์ และวิธีใช้ บิวเวอเรีย และ แบคทีเรียบีที ” และ "สาธิตขยายเชื้อบิววาเรีย ที่ถูกต้อง" 10
  • 11. 12 ตุลาคม 2560 11 ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน (ATT) 2-3 ประชุมหารือและสารวจพื้นที่การพัฒนาเขต นวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (EECi) ณ สานักงาน ศวภ. 4 จ.ระยอง และมหาวิทยาลัยบูรพา จ.จันทบุรี 4-6 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “พัฒนาศักย- ภาพทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่ ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม” ณ โรงแรมสกลแกรนด์พาเลช อ.เมือง จ.สกลนคร 11-13 ลงพื้นที่เพื่อประเมินพื้นที่สาหรับขยายผล เทคโนโลยีโรงเรือนพลาสติกปลูกผัก ณ อ.สันติสุข อ.บ่อเกลือ และอ.เวียงสา จ.น่าน 12-13 ลงพื้นที่วางแผนขยายผลมันสาปะหลัง ณ จ.กาฬสินธุ์ 17-18 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “พัฒนาศักย- ภาพทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่ ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม” ณ อ.เมือง จ.ลาปาง 18 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการเลี้ยงปูนาในวงบ่อซีเมนต์ ณ อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ ฝ่ายพัฒนาบุคลากรเพื่อเกษตรและชุมชน (AHD) 6-8 ลงพื้นที่ติดตามงานโครงการนักการตลาด ณ จ.สกลนคร กิจกรรมเดือนตุลาคม 2560 ฝ่ายจัดการความรู้เพื่อเกษตรและชุมชน (ATT) 4-6 ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อจัดทาสื่อการอบรม เชิงปฏิบัติการหลักสูตร “พัฒนาศักยภาพ ทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่ ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม” ณ โรงแรมสกลแกรนด์พาเลช อ.เมือง จ.สกลนคร 17-18 ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อจัดทาสื่อการ อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “พัฒนาศักยภาพ ทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่ ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม” ณ อ.เมือง จ.ลาปาง