SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย 
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ 
สถาบันคลังสมองของ 
ชาติ 
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ระดมความคิดการ 
ประกวดนวัตกรรมชาวบ้านด้านการเกษตรเพื่อ 
พัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรมไทย” 
วันที่ 4 กันยายน 2557 เวลา 
9.10-10.00 น 
ณ ห้องประชุม INC2 ชั้น 4 อาคาร INC-2 
อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ปทุมธานี 
สถาบันคลังสมองของชาติ 
Email: somporn@knit.or.th
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ระดมความคิดการประกวดนวัตกรรมชาวบ้านด้านการเกษตรเพื่อพัฒนาคุณภาพ 
ชีวิตของเกษตรกรรมไทย” วันที่ 4 กันยายน 2557 ณ ห้องประชุม INC2 ชั้น 4 อาคาร INC-2 
อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ปทุมธานี 
1บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระ 
ทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย 
สสถถาาบบัันนคคลลัังงสสมมอองงขขอองงชชาาตติิ2
1. บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย 
ความมั่นคงทางอาหาร 
ลัทธิการปกป้องทางการค้า 
กฎระเบียบการค้ามีความเข้ม 
ข้นมากขึ้น 
 ข้อกังวลโลกร้อนกำาลังถูกนำาไปผูก 
เชื่อมโยงกับกฎกติกาทางการค้า ; 
carbon footprint; carbon credit 
เป็นต้น 
 ข้อตกลงเกี่ยวกับการ 
เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศและ 
สิ่งแวดล้อมผูกมัดมากขึ้น 
การผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรและ 
อาหารเปลี่ยนแปลงและมีความผันผวน 
ทรัพยากรการผลิตมีปริมาณและคุณภาพลดลง 
มีความขัดแย้งพืชอาหาร/พืชพลังงาน 
ต้นทุนการผลิตอาหารสูงขึ้น 
ความต้องการพลังงาน 
ของโลกเพิ่มขึ้น 
เกิดความสั่นคลอน 
ส่งที่จะเกิดขึ้นตามมา 
มีเทคโนโลยีและ 
นวัตกรรมใหม่ๆเกิดขึ้น 
ประชากรเพิ่มพร้อมกับก้าว 
สู่สังคมผู้สูงอายุ 3 
ที่มา:ปรับปรุงจาก 
ลดาวัลย์ คำาภา
1. บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย 
4 
1.2 ความก้าวหน้าด้าน Science and Technology 
มีความเป็นพลวัตสูงขึ้น 
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เป็นปัจจัยสำาคัญในการสร้างขีดความ 
สามารถและการขยายโอกาสด้านการแข่งขันในอนาคต 
Knowledge Technology/ 
Information Technology 
Biotechnology 
Nanotechnology 
innovation 
Competitive 
advantage 
Competitiveness 
 ทำาให้โลกได้ก้าวจาก Factor Driven Economy ของระบบเศรษฐกิจ 
แบบเดิม ไปสู่ Innovation Driven Economy หรือที่เราเรียกว่า 
“Knowledge-based Economy” หรือ New Economy 4
1. บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย 
1.3 ความรุนแรงการเปลี่ยนแปลงด้านภูมิอากาศโลก 
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกนำาไปสู่ความแปรปรวนของ 
ปริมาณนำ้าฝนและอุณหภูมินำามาซึ่งความเสี่ยงต่อการผลิตทางการเกษตร 
เพิ่มมากขึ้นเป็นทวีคูณ 
ที่มา:ปรับปรุงจาก 
ลดาวัลย์ คำาภา 
ความ 
เปลี่ยนแปลงของ 
ภาพ 
แวดล้อม/กายภา 
พ/ชีวภาพ 
ความเสี่ยงใน 
กระบวนการผลิต 
ทางการเกษตรมี 
เพิ่มสูงขนึ้ ทั้งใน 
ด้านนำ้าท่วมและ 
ฝนแล้ง 
CClliimmaattee CChhaannggee 
&& 
GGlloobbaall WWaarrmmiinngg 
สถาบันคลังสมองของชาติ 
ผลกระทบต่อการผลิตภาคการเกษตร 
และอาหาร 5
1.4 ความเป็นพลวัตด้านการขึ้น ค้าและความร่วมมือมีมาก 
ด้า น ก า ร ค้า แ ล ะ ค ว า ม ร่ว ม มือ ที่เ ป ลี่ย น แ ป ล ง 
ที่มา:ดัดแปลงจากลดาวัลย์ 
คำาภา 
6 
การค้า การกีดกันทางการค้า การผูกขาด และผลกระทบจากการเปิดเสรี 
ทางการค้าระหว่างประเทศเพิ่มสูงขึ้น ขณะเดียวกันมีแนวโน้มของความร่วมมือใน 
แต่ละภูมิภาคเพิ่มมากขึ้น 
ลลััทธธิิกกาาร 
ปกปป้้องแแลละะ 
กกีีดกกััน 
ททาางกกาารคค้้าา 
กฎรระะเเบบีียบ 
กกาารคค้้าามมีี 
คววาามเเขข้้ม 
ขข้้นมมาากขขึึ้้น 
กรระะแแสส 
ภภููมมิิภภาาค 
นนิิยม 
คววาาม 
รร่่วมมมืือ 
ของ 
เเออเเชชีีย 
เเพพิิ่่มขขึึ้้น 
สถาบันคลังสมองของชาติ 
1. บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย
1. บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย 
1.5โลกในยุคของการค้าเสรี 
อำานาจจะเป็นของผู้บริโภคมากกว่าผู้ผลิต 
 การค้าจะไร้พรหมแดนมากขึ้น และจะมีการใช้เครื่องมือที่ 
ไม่ใช่ภาษี(non-tariff barrier) มาเป็นเครื่องมือกีดกันทางการค้าเพิ่ม 
มากขึ้น 
การแข่งขันในตลาดสินค้าจะเป็นการแข่งขันในด้านคุณภาพที่ 
รุนแรงขึ้น สินค้าที่ขาดคุณภาพจะถูกเบียดหายไปจากตลาดการ 
ค้า 
7 
มาตรการทางการค้าจะให้ความสนใจกับสุขอนามัยและ 
ความปลอดภัยของผู้บริโภคเป็นสิ่งสำาคัญ ไปพร้อมๆกับมีการ 
กำาหนดมาตรฐานคุณภาพ 
การแข่งขันที่รุนแรงในตลาดการค้า ทำาให้ผู้ผลิตต้องอาศัย 
เทคโนโลยีใหม่มาใช้ในกระบวนการผลิตหรือต้องพึ่งพิง 
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึ้น 
เพื่อทำาให้ต้นทุนการผลิตตำ่าลง 
เพื่อทำาให้คุณภาพดีขึ้นด้วยต้นทุนที่ตำ่า
1. บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย 
1.6 มาตรฐานสินค้าเป็นสิ่งจำาเป็นในยุคของการค้าเสรี 
การเกษตร การเกษตรนานาชาติ 
อาเซียน 
การเกษตรไทย 
8 
การก้าวสู่ยุคการค้าเสรี 
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม 
มาตรฐานสินค้า 
เกษตรและอาหาร 
เช่นข้าวหอมมะลิ 
มาตรฐานระบบ 
(เช่น GAP, Organic 
Thailand, GMP 
เป็นต้น) 
มาตรฐานชุมชน 
มาตรฐานทั่วไป 
SPS/QIE/CODEX 
/ IPPC 
มาตรฐาน IFOAM, 
USDA ORGANIC 
มาตรฐานทั่วไป 
SPS/QIE/CODEX/ 
IPPC 
การเข้าสู่ 
Word Free 
Trade 
Economy ตาม 
บริบทของ 
องค์การการค้า 
โลก 
มิติเวลา
1. บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย 
1.7 การปรับเปลี่ยนบริบทในภูมิภาคโดยเฉพาะเขตเสรีการค้า 
และเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจใหม่สร้างโอกาสใหม่และความ 
ท้าทาย 
1.North-South Corridor 
2.Northern Corridor 
3.North-Eastern Corridor 
4.Eastern Corridor 
5.Central Corridor 
6.East-West Corridor 
7.New Southern Corridor 
8.Southern Corridor 
9.Southern Coastal 
Corridor 
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 
9
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ระดมความคิดการประกวดนวัตกรรมชาวบ้านด้านการเกษตรเพื่อพัฒนาคุณภาพ 
ชีวิตของเกษตรกรรมไทย” วันที่ 4 กันยายน 2557 ณ ห้องประชุม INC2 ชั้น 4 อาคาร INC-2 
อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ปทุมธานี 
10 10 
2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย
2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย 
2.1 มโนทัศน์ที่1: เกษตรกรรายย่อยกลุ่มใหญ่ก้าวไม่ทันกับ 
บริบทโลกที่เปลี่ยนไปและเกิดภาวะล่มสลายในอาชีพ 
เกษตรกรรม 
เงื่อนไข 
ที่รายย่อย 
เผชิญ 
อาหารอยู่ใน 
มือธุรกิจ 
ขนาดใหญ่ 
รายเล็ก 
ถอดใจแต่ 
รายใหญ่ 
เห็นโอกาส 
11 การก้าวสู่ยุคการค้าเสรี 
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม 
ก้าวไม่ทันกับการ 
เปลี่ยนแปลงทาง 
เทคโนโลยีและการจัดการ 
การผลิตขาดความ 
เข้าใจถึงผู้บริโภค ก้าว 
ไม่ทันกับการตอบสนอง 
ของกลไกการตลาดสมัย 
ใหม่ 
การผลิตสินค้ายังเป็น 
สินค้าคละ ไม่ได้คำานึงถึง 
คุณภาพและมาตรฐานตาม 
กฎกติกาการค้าใหม่ ทำาให้ 
ไม่ได้ราคา 
การผลิตเป็นรายเล็กราย 
น้อยทำาให้การเข้าถึงตลาด 
สมัยใหม่ทำาได้ยากและ 
จำากัด 
การผลิตให้ผล 
ตอบแทน ตำ่าและ 
เกษตรกรเข้าสู่ภาวะสูง 
วัย 
มีมาตรฐานแต่ 
ราคาอาหารแพง 
ขึ้น 
การมีอยู่ 
ของอาหาร 
ยังขยายตัว 
แต่ food 
safety net 
ของครัว 
เรือนหดตัว 
การเข้า 
ไม่ถึงอาหาร 
และfood 
poverty 
เป็นปัญหา 
ของคนจน 
ในชนบท 
มิติเวลา 
11
2.2 มโนทัศน์ที่ 2: เกษตรกรรายย่อยในกลุ่มที่เลือก 
เดินบนเส้นทางเกษตรกรรมยั่งยืนจะอยู่ดีกินดีและ 
เป็นสุข 
12 
เกษตรกรรม 
ยั่งยืน 
คุณภาพชีวิตที่ 
ดีของเกษตรกร 
ดิน นำ้า 
อากาศbiodiv 
ersity 
ประสิทธิภาพ ความเป็นธรรม 
การผสม 
ผสานการ 
ผลิตพืช และ 
สัตว์ 
2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย
13 
 มีกระบวนการผลิตที่ดีจากต้นนำ้าและเชื่อมต่อกับ 
กระบวนการกลางนำ้าและปลายนำ้า เพื่อให้เกิด 
กระบวนการทำาธุรกิจโดยคำานึงถึงคุณค่า เช่น การ 
ทำาข้าวหอมมะลิอินทรีย์ การผลิตพืชผักปลอดภัย 
คุณภาพและมาตรฐานในทางการค้า 
 ปรับระบบการผลิตในรูปแบบ product mass 
ไปสู่การเป็น product niche โดยการจัดการความรู้ 
ให้กับตนเองและการสร้างกลุ่มอย่างเช้มแข็ง 
 สร้างหลักคิดของการพึ่งพาตนเอง ภายใต้ 
กระบวนการจัดการความรู้ การตระหนักถึงความเสี่ยง 
การสร้างรายได้และการประหยัดรายจ่าย การสร้าง 
คูณธรรมและความเชื่อถือในตัวสินค้า 
2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย 
2.2 มโนทัศน์ที่ 2 (ต่อ)
2.2 มโนทัศน์ที่ 2 (ต่อ) 
การรวมเป็นกลุ่มของเกษตรกรรายย่อยจะทำาให้การสร้างห่วง 
โซ่คุณค่าในกระบวนการผลิตและการตลาดเกิดขึ้นได้และมีความ 
ยั่งยืน 
ระบบการผลิต 
(Production System) 
การสนับสนุนจาก 
หน่วยงานของรัฐ 
ระบบการตลาด 
( 
ระบบการแปรรูป 
(Processing System) 
Marketing System) 
ระบบการบริโภค 
(Consumption System) 
การสนับสนุนจาก 
องค์กรธุรกิจ 
Source: Modified from Boonjit Titapiwatanakun KU 2 Dec. 2003 
2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย
ธุรกิจ 
การจัดการที่ดินและทุน 
สหกรณ์การเกษตร 
การส่งเสริม การให้สิน 
เชื่อ 
Source:Dang Kim Son, 2014 
: 
15 
2.2 มโนทัศน์ที่ 2 (ต่อ) 
2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย
2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย 
2.3 มโนทัศน์ที่ 3: การขยายตัวของ Business 
Farmและการเติบโตของเกษตรอุตสาหกรรม 
มีการขยายตัวของผู้ประกอบการขนาดใหญ่ใน 
เชิงของ Business farmและอุตสาหกรรมแปรรูป 
การผลิตมีลักษณะของผู้ประกอบการรายใหญ่ มีเป้าหมาย 
ทางธุรกิจ ทั้งเพื่อการตอบสนองต่อความต้องการของตลาด 
ทั้งในประเทศและต่างประเทศ พัฒนาเทคโนโลยี 
อุตสาหกรรมอาหาร พัฒนาคุณภาพของสินค้าให้ได้ 
มาตรฐานของตลาด 
การผลิตที่มีลักษณะเป็นเกษตรอุตสาหกรรม มีลักษณะ 
ของการเป็นZoning โดยมีฐานของอุตสาหกรรมการ 
แปรรูปเป็นตัวรองรับเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มจากวัตถุดิบใน 
พื้นกท้าวี่ไปสู่การใช้เทคโนโลยีและเครื่องจักรกลการเกษตร 
และการเป็นธุรกิจฟาร์ม หรือการเป็น corporate farming 
16
2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย 
2.3 มโนทัศน์ที่ 3(ต่อ) 
การผลิตจะให้ความสำาคัญกับมาตรฐานในกระบวนการผลิตเพื่อการ 
ส่งออก 
 การจัดการในโรงเรือนปิด 
(Evaporative cooling system) 
ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ 
(Automatic System) 
การจัดการในโรงเรือนปิด 
(Evaporative Cooling System) 
การนำามูลสุกรมาผลิต Biogas 
พัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้าในระบบปิด 
(Probiotic Farm) 
พัฒนากุ้งพันธุ์ดี 
Good Manufacturing 
Practice (GMP) Good Agricultural 
Practice (GAP) 
ที่มา: ดัดแปลงจากมนตรี คงตระกูลเทียน 2554 17
Q&A ขอบคุณ

More Related Content

What's hot (18)

Smart farm initiative
Smart farm initiativeSmart farm initiative
Smart farm initiative
 
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทยเกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
 
Modern agriculture
Modern agricultureModern agriculture
Modern agriculture
 
20120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-220120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-2
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Ku 54
Ku 54Ku 54
Ku 54
 
20121120 moac
20121120 moac20121120 moac
20121120 moac
 
Smart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburiSmart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburi
 
Organic agriculture
Organic agricultureOrganic agriculture
Organic agriculture
 
ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2
 
Sf roiet
Sf roietSf roiet
Sf roiet
 
Smart Farm
Smart FarmSmart Farm
Smart Farm
 
Smart farm lecture-ku
Smart farm lecture-kuSmart farm lecture-ku
Smart farm lecture-ku
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0
 
Mahidol ag
Mahidol agMahidol ag
Mahidol ag
 
Ku01
Ku01Ku01
Ku01
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2
 

Viewers also liked

นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)
นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)
นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)กิตติกร ยาสมุทร
 
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)Prachyanun Nilsook
 
การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย
การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทยการวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย
การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทยDr.Choen Krainara
 
Thailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit Maesincee
Thailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit MaesinceeThailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit Maesincee
Thailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit Maesinceeworsak kanok-nukulchai
 
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58somporn Isvilanonda
 
บรรยายมาตรฐานสินค้าเกษตรพืชสวนสำหรับตลาดอาเซียน
บรรยายมาตรฐานสินค้าเกษตรพืชสวนสำหรับตลาดอาเซียนบรรยายมาตรฐานสินค้าเกษตรพืชสวนสำหรับตลาดอาเซียน
บรรยายมาตรฐานสินค้าเกษตรพืชสวนสำหรับตลาดอาเซียนsomporn Isvilanonda
 
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)somporn Isvilanonda
 
ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0
ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0
ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0 maruay songtanin
 
เกษตรในอนาคต
เกษตรในอนาคตเกษตรในอนาคต
เกษตรในอนาคตekawit lamthung
 
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)Somporn Isvilanonda
 
Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]numpueng
 
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...Dr.Choen Krainara
 
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้Pisuth paiboonrat
 
Smart Agriculture / Agricoltura di Precisione
Smart Agriculture / Agricoltura di PrecisioneSmart Agriculture / Agricoltura di Precisione
Smart Agriculture / Agricoltura di PrecisioneMassimo Barbesta
 
ภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้น
ภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้นภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้น
ภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้นกิตติกร ยาสมุทร
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยวchickyshare
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 

Viewers also liked (20)

นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)
นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)
นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command)
 
เกษตรแปลงใหญ่
เกษตรแปลงใหญ่เกษตรแปลงใหญ่
เกษตรแปลงใหญ่
 
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)
 
การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย
การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทยการวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย
การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย
 
Smart farm thailand
Smart farm thailandSmart farm thailand
Smart farm thailand
 
Thailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit Maesincee
Thailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit MaesinceeThailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit Maesincee
Thailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit Maesincee
 
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
 
บรรยายมาตรฐานสินค้าเกษตรพืชสวนสำหรับตลาดอาเซียน
บรรยายมาตรฐานสินค้าเกษตรพืชสวนสำหรับตลาดอาเซียนบรรยายมาตรฐานสินค้าเกษตรพืชสวนสำหรับตลาดอาเซียน
บรรยายมาตรฐานสินค้าเกษตรพืชสวนสำหรับตลาดอาเซียน
 
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)
 
ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0
ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0
ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0
 
เกษตรในอนาคต
เกษตรในอนาคตเกษตรในอนาคต
เกษตรในอนาคต
 
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
 
Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]
 
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
 
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
 
Climate-Smart Agriculture Bruce Campbell, CCAFS
Climate-Smart Agriculture  Bruce Campbell, CCAFS Climate-Smart Agriculture  Bruce Campbell, CCAFS
Climate-Smart Agriculture Bruce Campbell, CCAFS
 
Smart Agriculture / Agricoltura di Precisione
Smart Agriculture / Agricoltura di PrecisioneSmart Agriculture / Agricoltura di Precisione
Smart Agriculture / Agricoltura di Precisione
 
ภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้น
ภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้นภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้น
ภาษีอากรที่สหกรณ์และสมาชิกได้รับการยกเว้น
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
 

Similar to ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย

ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยSomporn Isvilanonda
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged documentapecthaitu
 
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557Somporn Isvilanonda
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3Utai Sukviwatsirikul
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรchompoo28
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนAnantaya
 
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯsomporn Isvilanonda
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยวราภรณ์ ทรัพย์รวงทอง
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเจื๋อง เมืองลื้อ
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah102
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงfreelance
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทายอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทายsomporn Isvilanonda
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)Nutthakorn Songkram
 
07.0%20 pat5tc75
07.0%20 pat5tc7507.0%20 pat5tc75
07.0%20 pat5tc75yyyim
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 

Similar to ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย (20)

ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged document
 
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
 
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทายอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
07.0%20 pat5tc75
07.0%20 pat5tc7507.0%20 pat5tc75
07.0%20 pat5tc75
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Curri 02 11
Curri 02 11Curri 02 11
Curri 02 11
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 

More from somporn Isvilanonda

การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19somporn Isvilanonda
 
Thailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agricultureThailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agriculturesomporn Isvilanonda
 
Factor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price riseFactor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price risesomporn Isvilanonda
 
Somporn reearch management 19 07-2019
Somporn reearch management  19 07-2019Somporn reearch management  19 07-2019
Somporn reearch management 19 07-2019somporn Isvilanonda
 
Durian production and consumption and thailand export 7.06.19
Durian production and consumption and thailand export  7.06.19Durian production and consumption and thailand export  7.06.19
Durian production and consumption and thailand export 7.06.19somporn Isvilanonda
 
Planting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial assetPlanting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial assetsomporn Isvilanonda
 
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบการจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบsomporn Isvilanonda
 
Thailand rice production reform
Thailand rice production reform Thailand rice production reform
Thailand rice production reform somporn Isvilanonda
 
Driving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward researchDriving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward researchsomporn Isvilanonda
 
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้somporn Isvilanonda
 
The future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economyThe future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economysomporn Isvilanonda
 
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555somporn Isvilanonda
 
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017somporn Isvilanonda
 
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทยความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทยsomporn Isvilanonda
 
ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวไทยอย่างยั่งยืน
ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวไทยอย่างยั่งยืน ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวไทยอย่างยั่งยืน
ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวไทยอย่างยั่งยืน somporn Isvilanonda
 
ทำไมข้าวหอมมะลิราคาตก
ทำไมข้าวหอมมะลิราคาตกทำไมข้าวหอมมะลิราคาตก
ทำไมข้าวหอมมะลิราคาตกsomporn Isvilanonda
 
อนาคตข้าวไทย ในตลาดโลก 31 08-59
อนาคตข้าวไทย   ในตลาดโลก  31 08-59อนาคตข้าวไทย   ในตลาดโลก  31 08-59
อนาคตข้าวไทย ในตลาดโลก 31 08-59somporn Isvilanonda
 
ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...
ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...
ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...somporn Isvilanonda
 

More from somporn Isvilanonda (20)

การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
 
World rice market and covid 19
World rice market and covid 19World rice market and covid 19
World rice market and covid 19
 
Thailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agricultureThailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agriculture
 
Factor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price riseFactor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price rise
 
Somporn reearch management 19 07-2019
Somporn reearch management  19 07-2019Somporn reearch management  19 07-2019
Somporn reearch management 19 07-2019
 
Durian production and consumption and thailand export 7.06.19
Durian production and consumption and thailand export  7.06.19Durian production and consumption and thailand export  7.06.19
Durian production and consumption and thailand export 7.06.19
 
Planting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial assetPlanting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial asset
 
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบการจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
 
Thailand rice production reform
Thailand rice production reform Thailand rice production reform
Thailand rice production reform
 
Driving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward researchDriving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward research
 
Agricultural product innovation
Agricultural product innovationAgricultural product innovation
Agricultural product innovation
 
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
 
The future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economyThe future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economy
 
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555
 
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
 
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทยความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
 
ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวไทยอย่างยั่งยืน
ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวไทยอย่างยั่งยืน ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวไทยอย่างยั่งยืน
ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวไทยอย่างยั่งยืน
 
ทำไมข้าวหอมมะลิราคาตก
ทำไมข้าวหอมมะลิราคาตกทำไมข้าวหอมมะลิราคาตก
ทำไมข้าวหอมมะลิราคาตก
 
อนาคตข้าวไทย ในตลาดโลก 31 08-59
อนาคตข้าวไทย   ในตลาดโลก  31 08-59อนาคตข้าวไทย   ในตลาดโลก  31 08-59
อนาคตข้าวไทย ในตลาดโลก 31 08-59
 
ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...
ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...
ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...
 

ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย

  • 1. ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย รศ.สมพร อิศวิลานนท์ สถาบันคลังสมองของ ชาติ การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ระดมความคิดการ ประกวดนวัตกรรมชาวบ้านด้านการเกษตรเพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรมไทย” วันที่ 4 กันยายน 2557 เวลา 9.10-10.00 น ณ ห้องประชุม INC2 ชั้น 4 อาคาร INC-2 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ปทุมธานี สถาบันคลังสมองของชาติ Email: somporn@knit.or.th
  • 2. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ระดมความคิดการประกวดนวัตกรรมชาวบ้านด้านการเกษตรเพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของเกษตรกรรมไทย” วันที่ 4 กันยายน 2557 ณ ห้องประชุม INC2 ชั้น 4 อาคาร INC-2 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ปทุมธานี 1บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระ ทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย สสถถาาบบัันนคคลลัังงสสมมอองงขขอองงชชาาตติิ2
  • 3. 1. บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย ความมั่นคงทางอาหาร ลัทธิการปกป้องทางการค้า กฎระเบียบการค้ามีความเข้ม ข้นมากขึ้น  ข้อกังวลโลกร้อนกำาลังถูกนำาไปผูก เชื่อมโยงกับกฎกติกาทางการค้า ; carbon footprint; carbon credit เป็นต้น  ข้อตกลงเกี่ยวกับการ เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศและ สิ่งแวดล้อมผูกมัดมากขึ้น การผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรและ อาหารเปลี่ยนแปลงและมีความผันผวน ทรัพยากรการผลิตมีปริมาณและคุณภาพลดลง มีความขัดแย้งพืชอาหาร/พืชพลังงาน ต้นทุนการผลิตอาหารสูงขึ้น ความต้องการพลังงาน ของโลกเพิ่มขึ้น เกิดความสั่นคลอน ส่งที่จะเกิดขึ้นตามมา มีเทคโนโลยีและ นวัตกรรมใหม่ๆเกิดขึ้น ประชากรเพิ่มพร้อมกับก้าว สู่สังคมผู้สูงอายุ 3 ที่มา:ปรับปรุงจาก ลดาวัลย์ คำาภา
  • 4. 1. บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย 4 1.2 ความก้าวหน้าด้าน Science and Technology มีความเป็นพลวัตสูงขึ้น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เป็นปัจจัยสำาคัญในการสร้างขีดความ สามารถและการขยายโอกาสด้านการแข่งขันในอนาคต Knowledge Technology/ Information Technology Biotechnology Nanotechnology innovation Competitive advantage Competitiveness  ทำาให้โลกได้ก้าวจาก Factor Driven Economy ของระบบเศรษฐกิจ แบบเดิม ไปสู่ Innovation Driven Economy หรือที่เราเรียกว่า “Knowledge-based Economy” หรือ New Economy 4
  • 5. 1. บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย 1.3 ความรุนแรงการเปลี่ยนแปลงด้านภูมิอากาศโลก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกนำาไปสู่ความแปรปรวนของ ปริมาณนำ้าฝนและอุณหภูมินำามาซึ่งความเสี่ยงต่อการผลิตทางการเกษตร เพิ่มมากขึ้นเป็นทวีคูณ ที่มา:ปรับปรุงจาก ลดาวัลย์ คำาภา ความ เปลี่ยนแปลงของ ภาพ แวดล้อม/กายภา พ/ชีวภาพ ความเสี่ยงใน กระบวนการผลิต ทางการเกษตรมี เพิ่มสูงขนึ้ ทั้งใน ด้านนำ้าท่วมและ ฝนแล้ง CClliimmaattee CChhaannggee && GGlloobbaall WWaarrmmiinngg สถาบันคลังสมองของชาติ ผลกระทบต่อการผลิตภาคการเกษตร และอาหาร 5
  • 6. 1.4 ความเป็นพลวัตด้านการขึ้น ค้าและความร่วมมือมีมาก ด้า น ก า ร ค้า แ ล ะ ค ว า ม ร่ว ม มือ ที่เ ป ลี่ย น แ ป ล ง ที่มา:ดัดแปลงจากลดาวัลย์ คำาภา 6 การค้า การกีดกันทางการค้า การผูกขาด และผลกระทบจากการเปิดเสรี ทางการค้าระหว่างประเทศเพิ่มสูงขึ้น ขณะเดียวกันมีแนวโน้มของความร่วมมือใน แต่ละภูมิภาคเพิ่มมากขึ้น ลลััทธธิิกกาาร ปกปป้้องแแลละะ กกีีดกกััน ททาางกกาารคค้้าา กฎรระะเเบบีียบ กกาารคค้้าามมีี คววาามเเขข้้ม ขข้้นมมาากขขึึ้้น กรระะแแสส ภภููมมิิภภาาค นนิิยม คววาาม รร่่วมมมืือ ของ เเออเเชชีีย เเพพิิ่่มขขึึ้้น สถาบันคลังสมองของชาติ 1. บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย
  • 7. 1. บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย 1.5โลกในยุคของการค้าเสรี อำานาจจะเป็นของผู้บริโภคมากกว่าผู้ผลิต  การค้าจะไร้พรหมแดนมากขึ้น และจะมีการใช้เครื่องมือที่ ไม่ใช่ภาษี(non-tariff barrier) มาเป็นเครื่องมือกีดกันทางการค้าเพิ่ม มากขึ้น การแข่งขันในตลาดสินค้าจะเป็นการแข่งขันในด้านคุณภาพที่ รุนแรงขึ้น สินค้าที่ขาดคุณภาพจะถูกเบียดหายไปจากตลาดการ ค้า 7 มาตรการทางการค้าจะให้ความสนใจกับสุขอนามัยและ ความปลอดภัยของผู้บริโภคเป็นสิ่งสำาคัญ ไปพร้อมๆกับมีการ กำาหนดมาตรฐานคุณภาพ การแข่งขันที่รุนแรงในตลาดการค้า ทำาให้ผู้ผลิตต้องอาศัย เทคโนโลยีใหม่มาใช้ในกระบวนการผลิตหรือต้องพึ่งพิง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึ้น เพื่อทำาให้ต้นทุนการผลิตตำ่าลง เพื่อทำาให้คุณภาพดีขึ้นด้วยต้นทุนที่ตำ่า
  • 8. 1. บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย 1.6 มาตรฐานสินค้าเป็นสิ่งจำาเป็นในยุคของการค้าเสรี การเกษตร การเกษตรนานาชาติ อาเซียน การเกษตรไทย 8 การก้าวสู่ยุคการค้าเสรี ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม มาตรฐานสินค้า เกษตรและอาหาร เช่นข้าวหอมมะลิ มาตรฐานระบบ (เช่น GAP, Organic Thailand, GMP เป็นต้น) มาตรฐานชุมชน มาตรฐานทั่วไป SPS/QIE/CODEX / IPPC มาตรฐาน IFOAM, USDA ORGANIC มาตรฐานทั่วไป SPS/QIE/CODEX/ IPPC การเข้าสู่ Word Free Trade Economy ตาม บริบทของ องค์การการค้า โลก มิติเวลา
  • 9. 1. บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงและจะมีผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมไทย 1.7 การปรับเปลี่ยนบริบทในภูมิภาคโดยเฉพาะเขตเสรีการค้า และเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจใหม่สร้างโอกาสใหม่และความ ท้าทาย 1.North-South Corridor 2.Northern Corridor 3.North-Eastern Corridor 4.Eastern Corridor 5.Central Corridor 6.East-West Corridor 7.New Southern Corridor 8.Southern Corridor 9.Southern Coastal Corridor 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 9
  • 10. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ระดมความคิดการประกวดนวัตกรรมชาวบ้านด้านการเกษตรเพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของเกษตรกรรมไทย” วันที่ 4 กันยายน 2557 ณ ห้องประชุม INC2 ชั้น 4 อาคาร INC-2 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ปทุมธานี 10 10 2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย
  • 11. 2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย 2.1 มโนทัศน์ที่1: เกษตรกรรายย่อยกลุ่มใหญ่ก้าวไม่ทันกับ บริบทโลกที่เปลี่ยนไปและเกิดภาวะล่มสลายในอาชีพ เกษตรกรรม เงื่อนไข ที่รายย่อย เผชิญ อาหารอยู่ใน มือธุรกิจ ขนาดใหญ่ รายเล็ก ถอดใจแต่ รายใหญ่ เห็นโอกาส 11 การก้าวสู่ยุคการค้าเสรี ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม ก้าวไม่ทันกับการ เปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยีและการจัดการ การผลิตขาดความ เข้าใจถึงผู้บริโภค ก้าว ไม่ทันกับการตอบสนอง ของกลไกการตลาดสมัย ใหม่ การผลิตสินค้ายังเป็น สินค้าคละ ไม่ได้คำานึงถึง คุณภาพและมาตรฐานตาม กฎกติกาการค้าใหม่ ทำาให้ ไม่ได้ราคา การผลิตเป็นรายเล็กราย น้อยทำาให้การเข้าถึงตลาด สมัยใหม่ทำาได้ยากและ จำากัด การผลิตให้ผล ตอบแทน ตำ่าและ เกษตรกรเข้าสู่ภาวะสูง วัย มีมาตรฐานแต่ ราคาอาหารแพง ขึ้น การมีอยู่ ของอาหาร ยังขยายตัว แต่ food safety net ของครัว เรือนหดตัว การเข้า ไม่ถึงอาหาร และfood poverty เป็นปัญหา ของคนจน ในชนบท มิติเวลา 11
  • 12. 2.2 มโนทัศน์ที่ 2: เกษตรกรรายย่อยในกลุ่มที่เลือก เดินบนเส้นทางเกษตรกรรมยั่งยืนจะอยู่ดีกินดีและ เป็นสุข 12 เกษตรกรรม ยั่งยืน คุณภาพชีวิตที่ ดีของเกษตรกร ดิน นำ้า อากาศbiodiv ersity ประสิทธิภาพ ความเป็นธรรม การผสม ผสานการ ผลิตพืช และ สัตว์ 2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย
  • 13. 13  มีกระบวนการผลิตที่ดีจากต้นนำ้าและเชื่อมต่อกับ กระบวนการกลางนำ้าและปลายนำ้า เพื่อให้เกิด กระบวนการทำาธุรกิจโดยคำานึงถึงคุณค่า เช่น การ ทำาข้าวหอมมะลิอินทรีย์ การผลิตพืชผักปลอดภัย คุณภาพและมาตรฐานในทางการค้า  ปรับระบบการผลิตในรูปแบบ product mass ไปสู่การเป็น product niche โดยการจัดการความรู้ ให้กับตนเองและการสร้างกลุ่มอย่างเช้มแข็ง  สร้างหลักคิดของการพึ่งพาตนเอง ภายใต้ กระบวนการจัดการความรู้ การตระหนักถึงความเสี่ยง การสร้างรายได้และการประหยัดรายจ่าย การสร้าง คูณธรรมและความเชื่อถือในตัวสินค้า 2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย 2.2 มโนทัศน์ที่ 2 (ต่อ)
  • 14. 2.2 มโนทัศน์ที่ 2 (ต่อ) การรวมเป็นกลุ่มของเกษตรกรรายย่อยจะทำาให้การสร้างห่วง โซ่คุณค่าในกระบวนการผลิตและการตลาดเกิดขึ้นได้และมีความ ยั่งยืน ระบบการผลิต (Production System) การสนับสนุนจาก หน่วยงานของรัฐ ระบบการตลาด ( ระบบการแปรรูป (Processing System) Marketing System) ระบบการบริโภค (Consumption System) การสนับสนุนจาก องค์กรธุรกิจ Source: Modified from Boonjit Titapiwatanakun KU 2 Dec. 2003 2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย
  • 15. ธุรกิจ การจัดการที่ดินและทุน สหกรณ์การเกษตร การส่งเสริม การให้สิน เชื่อ Source:Dang Kim Son, 2014 : 15 2.2 มโนทัศน์ที่ 2 (ต่อ) 2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย
  • 16. 2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย 2.3 มโนทัศน์ที่ 3: การขยายตัวของ Business Farmและการเติบโตของเกษตรอุตสาหกรรม มีการขยายตัวของผู้ประกอบการขนาดใหญ่ใน เชิงของ Business farmและอุตสาหกรรมแปรรูป การผลิตมีลักษณะของผู้ประกอบการรายใหญ่ มีเป้าหมาย ทางธุรกิจ ทั้งเพื่อการตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ทั้งในประเทศและต่างประเทศ พัฒนาเทคโนโลยี อุตสาหกรรมอาหาร พัฒนาคุณภาพของสินค้าให้ได้ มาตรฐานของตลาด การผลิตที่มีลักษณะเป็นเกษตรอุตสาหกรรม มีลักษณะ ของการเป็นZoning โดยมีฐานของอุตสาหกรรมการ แปรรูปเป็นตัวรองรับเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มจากวัตถุดิบใน พื้นกท้าวี่ไปสู่การใช้เทคโนโลยีและเครื่องจักรกลการเกษตร และการเป็นธุรกิจฟาร์ม หรือการเป็น corporate farming 16
  • 17. 2. มองอนาคตเกษตรกรรมไทย 2.3 มโนทัศน์ที่ 3(ต่อ) การผลิตจะให้ความสำาคัญกับมาตรฐานในกระบวนการผลิตเพื่อการ ส่งออก  การจัดการในโรงเรือนปิด (Evaporative cooling system) ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (Automatic System) การจัดการในโรงเรือนปิด (Evaporative Cooling System) การนำามูลสุกรมาผลิต Biogas พัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้าในระบบปิด (Probiotic Farm) พัฒนากุ้งพันธุ์ดี Good Manufacturing Practice (GMP) Good Agricultural Practice (GAP) ที่มา: ดัดแปลงจากมนตรี คงตระกูลเทียน 2554 17

Editor's Notes

  1. .