SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
บทที่ ๑
                                               บทนา

ความเป็นมาของโครงการ
            โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า ) เป็นโรงเรียนในสังกัดส่านักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนหนึ่งที่ได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิไทยรัฐ
และสมาคมผู้บริหารโรงเรียนไทยรัฐวิทยา จากการวิเ คราะห์สถานภาพประชากรในโรงเรียนไทยรัฐ
วิทยา พบว่า นักเรียนอ่านหนังสือเพื่อศึกษาค้นคว้าหาความรู้น้อยมาก สมาคมผู้บริหารโรงเรียนไทยรัฐ
วิทยาร่วมกับมูลนิธิไทยรัฐจึงได้ขอทุนสนับสนุนโครงการพัฒนาครูและนักเรียนเพื่อสร้างเสริมนิสัย
รักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา จากส่านักงานกองทุนสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ (สสส.)
            การอ่านเป็นทักษะส่าคัญหนึ่งในห้าสาระของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ซึ่งประกอบด้วย การอ่าน การเขียน การฟัง ดูและพูด หลักการใช้ภาษาไทย วรรณกรรมและวรรณคดี
การอ่า นเป็นเครื่องมือส่าคัญในการสร้างเสริมภูมิปัญญาให้แก่มนุษย์ การอ่านมีส่วนส่าคัญในการ
พัฒนาสมองของเด็ก ทั้งยังบ่มเพาะความสุข สามารถปลูกฝัง ส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมและสังคมการ
อ่านตั้งแต่แรกเริ่มของช่วงชีวิตเด็ก จะน่าไปสู่สังคมสุขภาวะที่ยั่งยืน (ที่มา : แผนงานสร้างเ สริม
วัฒนธรรมการอ่าน ) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเห็นความส่าคัญของการ
อ่านเป็นอย่างยิ่ง พระองค์ทรงบรรยาย ในหัวข้อ “ภาษาไทยเข้มแข็งและรักการอ่าน ” ทรงกล่าวว่าการ
อ่านเป็นเรื่องเกี่ยวกับภาษาโดยตรง ถ้าอ่านมากจะมีความรู้ความคิดที่เป็นประโยชน์ ได้รั บความสนุก
กับการอ่าน พระองค์ทรงแสดงความคิดเห็นว่าคนไทยไม่รักการอ่าน เพราะมีสื่ออื่น ๆ
ที่น่าสนใจกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระองค์ทรงเห็นว่าครูเป็นนักเรียนตลอดชีวิตที่ต้องรักการอ่านด้วย
เพราะถ้าไม่รักการอ่านก็ไ ม่มีอะไรมาสอน (ที่มา : พระราชด่ารัสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกุมารี ทรงบรรยายในงานวันสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่                   ๒๒
ณ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จ .นนทบุรี ) ส่านักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมิ นคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน ) ได้ก่าหนดมาตรฐานตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การพิจารณา
เกี่ยวกับ การรักการอ่านในกลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่         ๓ ผู้เรียน มีความใฝ่รู้และเรียนรู้
อย่างต่อเนื่อง
            ส่านักงานสถิติแห่งชาติ ได้ส่ารวจเรื่องการอ่านหนังสือของคนไทย พบว่า คนไทยอ่านหนังสือ
เฉลี่ยปีละ ๒ เล่ม ขณะที่ชาวสิงคโปร์อ่านหนังสือเฉลี่ยปีละ ๔๐-๕๐ เล่ม ชาวเวียดนามอ่านเฉลี่ยปีละ
๖๐ เล่ม (ที่มา : มติชนออนไลน์ วันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๒ เวลา ๑๙.๕๘.๓๓ น.) นับว่าการอ่าน
หนังสือของคนไทยก่าลังเข้าสู่ ภาวะวิกฤติ หลายองค์กรหันมาให้ความส่าคัญกับการแก้ปัญหา
เรื่องวิกฤติการอ่านของคนไทย รัฐบาลก่าหนดให้การส่งเสริมการอ่านเป็นวาระแห่งชาติ และก่าหนดให้
วันที่ ๒ เมษายน ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เป็นวั นรักการอ่าน รวมทั้งก่าหนดให้ปี ๒๕๕๒- ๒๕๖๑ เป็นทศวรรษแห่งการอ่าน โดยมอบหมาย
ให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพิ่มแหล่งการอ่านหนังสือดี มีคุณค่าให้ครอบคลุมทุกต่าบล ชุมชนสร้างภาคี
เครือข่ายการอ่าน ปลูกฝังนิสัยรัก การอ่านและเรียนรู้ตลอดชีพอย่างยั่          งยืน ยุทธศาสตร์ส่าคัญ
คือพัฒนาคนไทยให้มีความรู้ ความสามารถด้านการอ่าน มีนิสัยรักการอ่านและเพื่อให้เกิดผล
เป็นรูปธรรม รัฐบาลจัดสรรงบประมาณโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ๒๕๕๕ (SP๒)
การพิจารณามาตรการด้านภาษีอากร และอื่น ๆ เพื่อเป็นแรงจูงใจให้เกิดการส่งเสริมการอ่าน
อย่างจริงจัง (มติชนออนไลน์ วันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๒ เวลา ๑๙.๕๘.๓๓ น.)
            เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการส่งเสริมการอ่าน กระทรวงศึกษาธิกา                  ร
และส่านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ก่าหนดโรงเรียนเป็นสถาบันหลักในการพัฒนาครู
บรรณารักษ์ให้มีศักยภาพในการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างแรงจูงใจให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านอย่างถาวร
แต่การด่าเนินการยังขาดความต่อเนื่อง และประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมของครูยังไม่บรรลุผล ที่จะท่า
ให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านอย่างแท้จริง ทั้งนี้เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านสื่อและเทคโนโลยี
ด้านดิจิตอลก้าวหน้าไปเร็วมาก การพัฒนาครูแกนน่าให้มีศักยภาพในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้
เพื่อสร้างแรงจูงใจให้นักเรี ยนมีความตระหนัก และมีนิสัยรัก การอ่าน จึงมีความจ่าเป็นอย่างเร่งด่วน
ที่จะพัฒนาครูแกนน่าเพื่อสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา
            สมาคมผู้บริหารโรงเรียนไทยรัฐวิทยา และมูลนิธิไทยรั         ฐ ได้ตระหนักถึงความส่าคัญ
ของปัญหาวิกฤติการอ่านของคนไทย และมีความมุ่งมั่นที่จะยกระดับให้นักเรียนโรงเรียนไทยรัฐวิทยา
ตลอดจนบุคลากรที่เกี่ยวข้อง รวมถึงครอบครัวและชุมชน เป็นโรงเรียนรักการอ่านทั้งระบบ โครงการ
พัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านให้กับนักเรียน บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน
ชุมชน และน่าความรู้ไปวางแผนจัดท่า โครงการสร้างเส ริมนิสัยการรัก การอ่านในโรงเรียนและชุมชน
ต่อไป จึงได้จัดท่าโครงการนี้ขึ้น
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่า) ตามรายละเอียดดังนี้
            โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า ) ตั้งอยู่เลขที่ ๒๓๔ หมู่ ๘ ถนน ศรีสัชนาลัย
ต่าบล ทุ่งยั้ง อ่าเภอ ลับแล จังหวัด อุตรดิตถ์
            เปิดท่าการสอนเมื่อ พ .ศ. ๒๔๘๗ มีบุคลากรทางการศึกษา คณะครู และนักเรียน
ตามรายละเอียด ดังนี้
ตารางที่ ๑ ตารางแสดงจานวนบุคลากรในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่า)

   ประเภทของบุคลากร                    จานวนบุคลากร                    หมายเหตุ
                                ชาย        หญิง           รวม

          ผู้บริหาร               ๑            -           ๑

             ครู                  ๖            ๙          ๑๕

      นักการ – ภารโรง
                                  ๑            -           ๑
          คนงาน

            รวม                   ๘            ๙          ๑๗


ตารางที่ ๒ ตารางแสดงจานวนนักเรียนโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่า)

                                    จานวนนักเรียน
            ชั้น                                                       หมายเหตุ
                                ชาย     หญิง             รวม
        อนุบาลปีที่ ๑           ๑๒       ๑๔               ๒๖
        อนุบาลปีที่ ๒             ๖      ๑๓               ๑๙
     ประถมศึกษาปีที่ ๑          ๑๒        ๘               ๒๐
     ประถมศึกษาปีที่ ๒          ๑๒       ๑๐               ๒๒
     ประถมศึกษาปีที่ ๓          ๑๔       ๑๐               ๒๔
     ประถมศึกษาปีที่ ๔           ๕       ๑๐               ๑๕
     ประถมศึกษาปีที่ ๕          ๑๓        ๖               ๑๙
     ประถมศึกษาปีที่ ๖          ๑๗       ๑๔               ๓๑
     มัธยมศึกษาปีที่ ๑           ๗        ๕               ๑๒
     มัธยมศึกษาปีที่ ๒           ๑๑      ๑๔               ๒๕
     มัธยมศึกษาปีที่ ๓          ๑๒       ๑๗               ๒๙
            รวม                 ๑๒๑     ๑๒๑              ๒๔๒
ผลงานดีเด่น
          โรงเรียน
          ๑. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพดีเด่นระดับทอง จากสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา
๒๕๕๓
           ๒. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาวะนักเรียนในโรงเรียนด้วยกิจกรรม ๖ อ. ดีเด่น ภาคเหนือ
ในกลุ่มโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๓
          ๓. โรงเรียนดีเด่นภาคเหนือในกลุ่มโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๕๕๑
          ๔. โรงเรียนต้นแบบปฐมวัยของส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์เขต ๑
           ๕. โรงเรียนมีผลการประเมินคุณภาพนักเรียนระดับชาติ (o-net) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
มีคะแนนเฉลี่ยสูง ๕ อันดับแรก ของ ส่านักงานงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑
ปีการศึกษา ๒๕๕๒
           ๖. โรงเรียนมีผลการประเมินคุณภาพนักเรียนระดับชาติ (o-net) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
มีคะแนนเฉลี่ยสูง ๕ อันดับแรก ของ ส่านักงานงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑
ปีการศึกษา ๒๕๕๓
           ๗. โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านดีเด่นภาคเหนือ ประจ่าปี ๒๕๕๔ ตามโครงการ
พัฒนาครูและนักเรียนเพื่อสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา
           ผู้บริหาร
           ๑. ผู้บริหารที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด่นรางวัลคุรุสภา ประจ่าปีการศึกษา ๒๕๓๘
           ๒. ผู้บริหารดีเด่นภาคเหนือในกลุ่มโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๐
           ๓. โรงเรียนดีเด่นภาคเหนือในกลุ่มโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๑
           ครู
           ๑. นางศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ ครู วิชาภาษาไทยดีเด่นคุรุสภา ระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนต้น ส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๘
           ๒. นางขนิษฐา จันทร์ดวงดี ครูวิชาภาษาไทยดีเด่นคุรุสภา ระดับชั้นประถมศึกษา
ส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๘
           ๓. นางศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ ได้รับคัดเลือกเป็นครูดีในดวงใจ ล่าดับที่ ๒ ของส่านักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๙
           ๔. นางศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ ครูดีเด่นล่าดับที่ ๒ ในกลุ่มโรงเรียนไทยรัฐวิทยาภาคเหนือ
ปีการศึกษา ๒๕๕๑
๕. นางศจี เพ็งวัน ครูดีเด่นล่าดับที่ ๒ ในกลุ่มโรงเรียนไทยรัฐวิทยาภาคเหนือ ปีการศึกษา
๒๕๕๒
           ๖. นางขนิษฐา จันทร์ดวงดี ได้รับคัดเลือกเป็นครูดีในดวงใจ ล่าดับที่ ๒ ของส่านักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๒
           ๗. นายอโนทัย สนประเทศ ได้รับคัดเลือกเป็นครูดีในดวงใจ ของส่านักงานเขตพื้นที่
การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓
           ๘. นางศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ ได้รับคัดเลือกให้รับรางวัลชนะเลิศ การจัดกิจกรรมส่งเสริม
การอ่านดีเด่นภาคเหนือ ประจ่าปี ๒๕๕๔ ตามโครงการพัฒนาครูและนักเรียนเพื่อสร้างเสริมนิสัย
รักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา
           ๙. นางขนิษฐา จันทร์ดวงดี เป็นครูผู้พัฒนาห้องเรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน(บ้านหลังที่ ๒ )
จนเป็นแบบอย่าง ของส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ประจ่าปีการศึกษา
๒๕๕๔
           ๙. นายธนู เตชา ได้รับคัดเลือกเป็นครูผู้สอนลูกเสือดีเด่น ของส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษา
อุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔
           ๑๐. นายบุญชุม มีรัตน์ ได้รับคัดเลือกเป็น ครูคุรุสดุดี ผู้บ่าเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม
ของส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔
           ๑๑. นางบานเที่ยง ยอดค่า ได้รับคัดเลือกในโครงการหนึ่งแสนครูดี ของคุรุสภาจังหวัด
อุตรดิตถ์ ประจ่าปีการศึกษา ๒๕๕๔
           ๑๒. นางมยุรี คงนุ่น ได้รับคัดเลือกในโครงการหนึ่งแสนครู ดี ของคุรุสภาจังหวัดอุตรดิตถ์
ประจ่าปีการศึกษา ๒๕๕๔
           ๑๓. นางศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ ได้รับคัดเลือกในโครงการหนึ่งแสนครูดี ของคุรุสภาจั งหวัด
อุตรดิตถ์ ประจ่าปีการศึกษา ๒๕๕๔

         นักเรียน
         ๑. เด็กหญิงปนัดดา หมูตัน รางวัลเหรียญทองการเขียนเรียงความชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๓
         ๒. เด็กหญิงสุณิตรา ยิ้มเจริญ และ เด็กหญิงจิรวรรณ แย้มบัว รางวัลเหรียญทองการแข่งขัน
กิจกรรมหนังสืออิเลคทรอนิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑
ปีการศึกษา ๒๕๕๒
๓. เด็กหญิงพิมพ์ชนก ไพรสันเทียะ รางวัลเหรียญทองการคัดลายมือและอ่านออกเสียง
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๓
           ๔. เด็กหญิงปวีณา พิมพ์สวัสดิ์ รางวัลเหรียญทอง การเขียนเรื่องจากภาพ ชั้นประถมศึกษา
ปีที่ ๓ งานมหกรรมภาพแห่งความส่าเร็จโรงเรียนไทยรัฐวิทยาภาคเหนือ กลุ่มสักทอง ปีการศึกษา
๒๕๕๓
           ๕. เด็กหญิงวนิดา อินเขียว รางวัลเหรียญทอง การคัดลายมืองาม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
งานมหกรรมภาพแห่งความส่าเร็จโรงเรียนไทยรัฐวิทยาภาคเหนือ กลุ่มสักทอง ปีการศึกษา ๒๕๕๓
           ๖. เด็กหญิงวรชา พวงยะ รางวัลเหรียญทอง การกล่าวสุนทรพจน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
งานมหกรรมภาพแห่งความส่าเร็จโรงเรียนไทยรัฐวิทยาภาคเหนือ กลุ่มสักทอง ปีการศึกษา ๒๕๕๔
           ๗. เด็กหญิงพิมพ์ชนก ไพรสันเทียะ รางวัลเหรีญเงิน ผู้ประกาศข่าว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
งานมหกรรมภาพแห่งความส่าเร็จโรงเรียนไทยรัฐวิทยาภาคเหนือ กลุ่มสักทอง ปีการศึกษา ๒๕๕๓
           ๘. เด็กชายณรงค์กร ต่อมแก้ว เด็กหญิงนฤมล จันลอน รางวัลเหรียญทองการวาดภาพ
วิทยาศาสตร์ งานมหกรรมภาพแห่งความส่าเร็จโรงเรียนไทยรัฐวิทยาภาคเหนือ กลุ่มสักทอง ปี
การศึกษา ๒๕๕๓
           ๙. รางวัลเหรียญทองสวดมนต์หมู่งานมหกรรมภาพแห่งความส่าเร็จโรงเรียนไทยรัฐวิทยา
ภาคเหนือ กลุ่มสักทอง ปีการศึกษา ๒๕๕๓
           ๑๐. รางวัลเหรียญทอง ร่าวงมาตรฐานประยุกต์ ระดับประถมศึกษาระดับเขตพื้นที่
การศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๓
           ๑๑. รางวัลเหรียญเงิน ร่าวงมาตรฐานประยุกต์ ระดับมัธยมศึกษาระดับเขตพื้น ที่การศึกษา
ปีการศึกษา ๒๕๕๓

ระยะเวลาในการดาเนินงานโครงการ
        วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๑๕๕๓ – ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๔

วัตถุประสงค์ของโครงการ
       ๑. โรงเรียนส่งเสริมการจัดกิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านทั้งระบบ
       ๒.โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อสร้างนิสัยรักการอ่านที่หลากหลาย
       ๓. โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนชวนพ่อแม่อ่านหนังสือให้ลูกฟัง
       ๔. โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานจากการอ่าน
ขอบเขตของการดาเนินงาน
           ๑. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยวิทยากรบุคคลภายนอก
              ผู้ดาเนินกิจกรรม ครูระดับปฐมวัย – ครูภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๓
              ระยะเวลา
               - อบรมผู้ปกครอง เดือน กันยายน ๒๕๕๓
                    -จัดกิจกรรม “หนูขอเวลา ๕ นาที” และ “ (ลูก,พ่อแม่) อ่านให้ (พ่อแม่,ลูก) ฟัง”
              ตั้งแต่เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔
              นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม นักเรียนระดับปฐมวัย – ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
                                                                          งบประมาณ
                   ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม
                                                                    รายการ            จ่านวนเงิน
  ๑. ผู้บริหารประชุมชี้แจงคณะครู และมอบหมายให้ครู            ๑. ดินน้่ามัน               ๒๑๐
  ผู้รับผิดชอบประสานงานกับวิทยากร ผู้ปกครอง เพื่อ            ๒. สีไม้ยาว                 ๗๐๐
  ก่าหนดเวลาจัดอบรม                                          มาสเตอร์อาร์ต
  ๒. ด่าเนินการอบรมให้ความรู้ และสร้างความตระหนักด้าน ๓. หมึกแคนนอนสี                    ๙๓๕
  การสร้างนิสัยรักการอ่านให้บุตรหลานของตนเอง                 ๔. หมึกแคนนอนด่า            ๖๕๙
  ๓. ผู้ปกครองสร้างหนังสือนิทานให้ลูกอ่านจากนิสัย            ๕. แฟ้มอ่อนโชว์
  ของบุตรหลานของตนเอง                                        เอกสาร                      ๖๐๐
  ๔. จัดกิจกรรม “หนูขอเวลา ๕ นาที” และกิจกรรม “              ๖. ปากกลูกลื่นสีด่า         ๑๕๐
  (ลูก,พ่อแม่) อ่านให้ (พ่อแม่,ลูก) ฟัง”                     ๗. ตุ๊กตา                   ๕๐๐
  ๕. ประเมินผลการจัดกิจกรรมด้วยแบบประเมินความ
  พึงพอใจ
๒. กิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านอย่างหลากหลาย มี ๓ กิจกรรม คือ
              ๑. กิจกรรมอ่านชุดบัตรค่า น่าไปเขียน เพิ่มพูนค่าศัพท์
              ๒. กิจกรรมอ่านบัตรค่า น่าทาง สร้างประโยค
              ๓. กิจกรรมประลองความสามารถในการอ่าน
         ผู้ดาเนินกิจกรรม ครูภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓
         ระยะเวลา
               เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – เดือนกันยายน ๒๕๕๔
         นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓

                                                                    งบประมาณ
              ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม
                                                                รายการ       จ่านวนเงิน
๑. ครูผู้ด่าเนินกิจกรรมออกแบบกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย ๑. กระดาษบัตรค่า
และเพียงพอกับจ่านวนนักเรียน                               ยาว                   ๖๐๐
๒. แต่งตั้งนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีจิตอาสา และ ๒. ปากกา ๒ หัวม้า       ๑๕๖
ชี้แจง แนะน่าวิธีการจัดกิจกรรม เพื่อช่วยเหลือครูและน้อง ๆ ๓. ลวดยิงกระดาษ       ๒๙๐
ขณะด่าเนินกิจกรรม                                         ๔. กรรไกร             ๔๓๒
๓. นักเรียนอาสาและคณะครูเขียนบัตรค่า โดยใช้ค่าที่         ๕. กาวลาเท็กซ์        ๒๘๐
ประสมด้วยสระที่นักเรียนเคยเรียนมาแล้ว อาจเป็นค่า ๑ -๓
พยางค์ ให้มีจ่านวนเพียงพอ
๔. ก่าหนดเวลาการจัดกิจกรรมโดยใช้เวลาว่างหลัง
รับประทานอาหารกลางวัน โดยจัดกิจกรรมละ ๒ วัน
หมุนเวียนกันไป เพื่อไม่ให้นักเรียนเบื่อหน่าย
๕. ประเมินผลการจัดกิจกรรมด้วยแบบประเมิน
ความพึงพอใจโดยวิธีสอบถาม
๓. กิจกรรมรวมเรื่องที่ชอบ
          ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ มี ๓ กิจกรรม คือ
                ๑. กิจกรรมรวมข่าว เช่น ข่าวกีฬา ข่าวเศรษฐกิจ ข่าวสังคม ข่าวเกษตร
                ๒. กิจกรรมรวมค่าคม ค่าขวัญ บทประพันธ์ ข้อสอนใจต่าง ๆ
                ๓. กิจกรรมรวมภาพส่าคัญต่าง ๆ
          ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เน้นรวมข่าว สารคดีวิทยาศาสตร์
          ผู้ดาเนินกิจกรรม ๑. ครูภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖
                               ๒. ครูวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
          ระยะเวลา
                เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – เดือนกันยายน ๒๕๕๔
          นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

                                                                       งบประมาณ
               ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม
                                                                   รายการ       จ่านวนเงิน
๑. ครูผู้ด่าเนินกิจกรรมประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ให้นักเรียน ๑.กาวลาเท็กซ์
                                                         ๑.                         ๓๕
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓          ๒.ไส้แฟ้มสอด            ๗๐
ทราบถึงความส่าคัญของการจัดกิจกรรม และการ                    ๓.แฟ้มโชว์เก็บได้      ๓๔๘
ประเมินผล                                                   ๔.กระดาษ A๔
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบกิจกรรมการรวบรวม              (๒ ห่อ                 ๒๒๔
เรื่องที่ชอบที่หลากหลาย และเกิดประโยชน์กับนักเรียน
อย่างแท้จริง
๓. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยใช้เวลาว่างหลังรับประทาน
อาหารกลางวันที่ห้องสมุดโรงเรียน
๔. นักเรียนตกแต่งชิ้นงานและอ่านให้ครูฟัง
๕. ครูบันทึกผลการอ่านเพื่อน่าไปประเมินผลการอ่าน คิด
วิเคราะห์ และเขียนสื่อความในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖
๖. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ประเมินผลในสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
๗. ประเมินความพึงพอใจ
๔. กิจกรรมหมอภาษา
          ผู้ดาเนินกิจกรรม ครูภาษาไทยทุกระดับชั้น
          ระยะเวลา
                เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – เดือนกันยายน ๒๕๕๔
          นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

                                                                      งบประมาณ
              ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม
                                                                  รายการ       จ่านวนเงิน
๑. ครูผู้ด่าเนินกิจกรรมชี้แจงกิจกรรมให้นักเรียนจิตอาสาที่มี ๑.กระดาษ A๔
ทักษะด้านการอ่าน เป็นพี่เลี้ยงกิจกรรม                       (๒ รีม)               ๒๗๐
๒. นักเรียนพี่เลี้ยงกิจกรรมคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาด้าน ๒.แฟ้มโชว์เติมไส้ได้     ๒๘๐
การอ่าน เช่น อ่านไม่ออก อ่านไม่คล่อง มีปัญหาการออก          ๓.ไส้แฟ้มสอด           ๗๐
เสียงต่าง ๆ จากครูประจ่าชั้น หรือประจ่าวิชา
๓. นักเรียนพี่เลี้ยงประเมินการอ่านเพื่อคัดกรองปัญหาการ
อ่าน ด้วยหนังสือเรียนของแต่ละชั้น เพื่อวินิจฉัยปัญหา
 ๔. นักเรียนพี่เลี้ยงบันทึกผลการคัดกรอง แล้วฝึกทักษะการ
อ่านด้วยแบบฝึกหมอภาษาตามปัญหาที่พบ
๕. นักเรียนพี่เลี้ยงบันทึกผลการอ่าน และผลการพัฒนา
ทุกครั้ง
๖. นักเรียนที่พัฒนาแล้ว ให้อ่านหนังสือในห้องสมุด โดยมี
พี่เลี้ยงคอยแนะน่าช่วยเหลือ และให้ยืมหนังสือกลับไปอ่าน
ที่บ้าน
๗. ประเมินผลการจัดกิจกรรมด้วยแบบประเมินความ
พึงพอใจ
๕. กิจกรรมหนังสือเสี้ยวเดียว
          ผู้ดาเนินกิจกรรม ครูภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓
          ระยะเวลา
                เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – เดือนธันวาคม ๒๕๕๓
          นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

                                                                        งบประมาณ
               ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม
                                                                  รายการ         จ่านวนเงิน
๑. ครูผู้ด่าเนินกิจกรรมชี้แจงกิจกรรมให้นักเรียน             ๑.กระดาษ ๑๓๕
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ เกี่ยวกับกิจกรรมสร้างนิสัย        แกรม ๑๐๐ แผ่น           ๔๒๐
รักการอ่าน และการผลิตชิ้นงานเพื่อส่งเสริมให้น้อง ๆ ใน       ๒.กระดาษปกการ์ด
โรงเรียน                                                    สี ๑๒๐ แกรม             ๑๙๘
๒. นักเรียนและครูร่วมกันออกแบบกิจกรรมที่หลากหลาย            ๓.สีชอล์ก               ๓๐๐
รูปแบบเพื่อเร้าความสนใจและมีคุณค่า                          ๔.กระดาษปกการ์ด
๓. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กิจกรรม “รักยาวให้บั่น     ๑๒๐ g ๕๐ แผ่น           ๓๓๖
รักสั้นให้ต่อ” ค้นคว้า อ่านหนังสือ สื่อต่าง ๆ แล้ วบันทึก   ๕. สีไม้ยาว              ๒๙
ลงในชิ้นงานที่ออกแบบไว้ ตกแต่งให้สวยงาม อ่านออก
เสียงให้ครูฟัง ครูบันทึกในแบบบันทึกผลการอ่าน น่าไป
ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ
๔. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ กิจกรรม “ส่านวนภาษา
น่ารู” ค้นคว้า อ่านหนังสือ สื่อต่ าง ๆ แล้วบันทึกลงใน
     ้
ชิ้นงานที่ออกแบบไว้ ตกแต่งให้สวยงาม อ่านออกเสียงให้
ครูฟัง ครูบันทึกในแบบบันทึกผลการอ่าน น่าไปประเมิน
การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ
๕.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ กิจกรรม “ไวพจน์น่ารู้”
และ “มีอะไรในโคลงโลกนิติ” โดยค้นคว้า อ่ านหนังสือ สื่อ
ต่าง ๆ แล้วบันทึกลงในชิ้นงานที่ออกแบบไว้ ตกแต่งให้
สวยงาม อ่านออกเสียงให้ครูฟัง ครูบันทึกในแบบบันทึกผล
การอ่าน น่าไปประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อ
ความ
งบประมาณ
               ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม
                                                                รายการ       จ่านวนเงิน
๖. มอบรางวัลนักเรียนที่มีผลงานยอดเยี่ยม แล้วน่าผลงาน
ไปจัดนิทรรศการที่ห้องสมุดโรงเรียน
๗. ประเมินผลการจัดกิจกรรมด้วยแบบประเมิน
ความพึงพอใจ


       ๖. กิจกรรมสร้างสรรค์นิทานสอนน้อง
          ผู้ดาเนินกิจกรรม ครูภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓
          ระยะเวลา
                เดือนมกราคม ๒๕๕๔ – เดือนมีนาคม ๒๕๕๔
          นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

                                                                     งบประมาณ
               ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม
                                                                รายการ        จ่านวนเงิน
๑. ครูผู้ด่าเนินกิจกรรมชี้แจงกิจกรรมให้นักเรียน           ๑.กระดาษ ๑๕๐
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ เกี่ยวกับกิจกรรมสร้างนิสัยรัก   แกรม               ๑,๓๕๐
การอ่าน และการผลิตชิ้นงานเพื่อส่งเสริมให้น้อง ๆ อ่าน      ๒.สีไม้ยาว ๒๔ สี
และเป็นการสร้างจิตอาสาผลิตหนังสือนิทานให้ห้องสมุ ด        มาสเตอร์อาร์ต      ๕๓๙
โรงเรียน
๒. นักเรียนและครูร่วมกันออกแบบกิจกรรมที่หลากหลาย
รูปแบบเพื่อเร้าความสนใจและมีคุณค่า
๓. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ผลิตนิทานแผ่นเดียว
ตกแต่งให้สวยงาม อ่านออกเสียงให้ครูฟัง ครูบันทึกในแบบ
บันทึกผลการอ่าน น่าไปประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ
เขียนสื่อความ
๔. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ผลิตนิทาน ๓ เรื่อง โดย
ออกแบบรูปเล่มหนังสือนิทานอย่างสร้างสรรค์ ตกแต่งให้
สวยงาม อ่านออกเสียงให้ครูฟัง ครูบันทึกในแบบบันทึกผล
๗. กิจกรรมป้ายนิเทศสู่การอ่าน
          ผู้ดาเนินกิจกรรม ครูทุกคนทุกสาระการเรียนรู้
          ระยะเวลา
                เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – เดือนกันยายน ๒๕๕๔
          นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

                                                                   งบประมาณ
              ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม
                                                               รายการ       จ่านวนเงิน
๑. ผู้บริหารประชุมชี้แจงคณะครู และมอบหมายให้คณะครู       ๑.กระดาษ A๔
ทุกสาระจัดป้ายนิเทศตามวันส่าคัญต่าง ๆ                    (๓ รีม)               ๔๐๕
๒. ครูผู้ด่าเนินกิจกรรมออกแบบบันทึกการศึกษาเรียนรู้จาก   ๒.กระดาษโปสเตอร์
แหล่งเรียนรู้ให้เป็นรูปแบบเดียวกัน และเพียงพอต่อจ่านวน   บาง ๒ หน้า            ๑๔๔
นักเรียน                                                 ๓.กระดาษโปสเตอร์
๓. นักเรียนและครูร่วมกันจัดป้ายนิเทศ ในศูนย์กลางของ      หนา                   ๑๙๒
โรงเรียนคือในห้องประชุมใหญ่ โรงอาหาร และตามอาคาร         ๔.กระดาษสา             ๙๖
เรียน                                                    ๕.กระดาษปก ๑๒๐
๓. นักเรียนศึกษาเรียนรู้แหล่งเรียนรู้ป้ายนิเทศตามโอกาส   แกรม                  ๑๓๐
ต่าง ๆ
๔. ครูน่าผลการศึกษาเรียนรู้จากการบันทึก ไปประเมินผล
การเรียนรู้ในสาระของตนเอง
๕. ประเมินผลการจัดกิจกรรมด้วยแบบประเมิน
ความพึงพอใจ ทั้งครูและนักเรียน

       ๘. กิจกรรมสร้างสรรค์ผลงานจากการอ่าน การค้นคว้า จัดเป็น ๓ กิจกรรมคือ
          ๑. กิจกรรม “น้องน้อยเขียนข่าว”
          ๒. กิจกรรม “หนังสือพิมพ์เสมือน”
          ๓. กิจกรรม “หนังสือพิมพ์ผนัง”
          ๔. กิจกรรม “หนังสือพิมพ์โรงเรียน”
          ผู้ดาเนินกิจกรรม ครูทุกคนทุกสาระการเรียนรู้
ระยะเวลา
                   เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – เดือนกันยายน ๒๕๕๔
              นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
                                                                        งบประมาณ
                  ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม
                                                                    รายการ         จ่านวนเงิน
๑. ผู้บริหารประชุมชี้แจงคณะครู และมอบหมายให้คณะครู กระดาษ A๔ (๕ รีม)                  ๖๗๕
ทุกสาระออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย
๒. ครูผู้ด่าเนินกิจกรรมออกแบบกิจกรรมเป็น ๔ กิจกรรมคือ
      ๑. กิจกรรม“น้องน้อยเขียนข่าว” ส่าหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ โดยให้นักเรียนเขียนข่าวสั้น ๆ
ตามใบงาน โดยการสัมภาษณ์บุคคลในข่าว สัปดาห์ละ ๒
ครั้ง ใช้เวลาว่างหลังรับประทานอาหารกลางวัน
       ๒. กิจกรรม ”หนังสือพิมพ์เสมือน” ส่าหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ เป็นหนังสือพิมพ์เลียนแบบ
หนังสือพิมพ์ โดยการฉีก ตัด ปะ ข่าวจากสื่อสิ่งพิมพ์แล้ว
เขียนข่าว นักเรียนจะผลิตหนังสือพิมพ์ในเวลาว่าง เดือนละ
๑ ฉบับต่อกลุ่ม
       ๓.กิจกรรม “หนังสือพิมพ์ผนัง” ส่าหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งออกแบบชื่อหนังสื อพิมพ์ โลโก้
เหมือนหนังสือพิมพ์จริง ใช้ภาพข่าวเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง
ในโรงเรียน ผลิตเดือนละ ๑ ฉบับ
       ๔. กิจกรรม “หนังสือพิมพ์โรงเรียน” ส่าหรับนักเรียน
จิตอาสาที่มีทักษะการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อ
ความ ผลิตหนังสือพิมพ์โรงเรียน โดยใช้กระดาษ A๔
จ่านวน ๔ แผ่น ๘ หน้า เดือนละ ๑ ฉบับ โดยใช้เวลาว่าง
๓. นักเรียนศึกษาเรียนรู้แหล่งเรียนรู้ป้ายนิเทศตามโอกาส
ต่าง ๆ
๔. ครูน่าผลการศึกษาเรียนรู้จากการปฏิบัติกิจรรม
ไปประเมินผลการเรียนรู้ในสาระของตนเอง
๕. ประเมินความพึงพอใจผลการจัดกิจกรรม
๙. กิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต จัดเป็น ๓ กิจกรรมคือ
               ๑. กิจกรรม ”บริการยืมสื่อ และหนังสือ”
               ๒. กิจกรรม “ ๓๐ วัน แห่งการค้นพบ ประสบการณ์ใหม่ ๆ”
               ๓. กิจกรรม “ตอบปัญหาสารานุกรม”
               ๔. กิจกรรม “เปิดโลกมหัศจรรย์แห่งการอ่าน”
               ผู้ดาเนินกิจกรรม บรรณารักษ์ และครูภาษาไทยทุกคน
               ระยะเวลา
                     เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – เดือนกันยายน ๒๕๕๔
               นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
                                                                          งบประมาณ
                    ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม
                                                                     รายการ         จ่านวนเงิน
  ๑. ผู้บริหารประชุมชี้แจงคณะครู และมอบหมายให้คณะครู ๑.กระดาษสาสี
  รับผิดชอบกิจกรรมตามช่วงชั้น                                ดอกไม้                     ๙๖
  ๒. จัดบรรยากาศห้องสมุดให้เอื้อต่อการเรียนรู้               ๒.กระดาษ A๔
  ๓. จัดซื้อ จัดหาสื่อที่หลากหลาย                            (๓ รีม)                   ๓๓๖
  ๔. ส่ารวจหนังสือ และจัดหาให้เพียงพอ ครบทุกสาระการ ๓.เทปกาวหน้าเดียว                   ๖๕
  เรียนรู้                                                   ๔.เทปกาว ๒ หน้า            ๙๒
  ๕. เปิดบริการตลอดเวลา และอ่านวยความสะดวก                   ๕.กระดาษกาวย่น             ๕๒
  ๒. จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่ อง สม่่าเสมอ                     ๖.ลวดเสียบ
  ๔. ให้รางวัลนักเรียนที่ใช้บริการห้องสมุด และชนะเลิศการ กระดาษ                          ๙
  แข่งขันกิจกรรมที่จัดขึ้น
  ๕. ประเมินความพึงพอใจผลการจัดกิจกรรม
                                                                       รวม          ๑๒,๐๐๐

กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง
      บุคลากรที่เกี่ยวข้อง              จานวนคน                         หมายเหตุ
  ๑. ผู้บริหาร                              ๑
  ๒. คณะครู                                ๑๖
  ๓. นักเรียน                             ๒๔๒
  ๔. ผู้ปกครอง                            ๑๑๑
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
        ๑. เป็นการพัฒนาสติปัญญาให้เกิดความรู้ ความฉลาด เกิดภูมิคุ้มกันที่ดีในชีวิต
        ๒. ท่าให้มีความรู้ในวิชาการด้านต่าง ๆ
        ๓. ท่าให้รอบรู้ทันโลก ทันเหตุการณ์
        ๔. ท่าให้ค้นหาค่าตอบที่ต้องการได้
        ๕. ท่าให้เกิดความเพลิดเพลิน
        ๖. ท่าให้เกิดทักษะและพัฒนาการในการอ่าน
        ๗. ท่าให้ชีวิตมีพัฒนาการเป็นชีวิตที่สมบูรณ์ ก้าวหน้า ประสบความส่าเร็จ ประพฤติดี
ประพฤติชอบ
        ๘. ท่าให้เป็นผู้มีมนุษย์สัมพันธ์ดีและเสริมสร้างบุคลิกภาพ
        ๙. นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน
        ๑๐. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

นิยามศัพท์
             คณะครู หมายถึง คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนไทยรัฐวิท                      ยา ๕
(วัดตลิ่งต่่า) จ่านวน ๑๖ คน
             นักเรียน หมายถึง นักเรียนโรงเรียนไทยรัฐ ๕ (วัดตลิ่งต่่า) จ่านวน ๒๔๒ คน
             กิจกรรมส่งเสริมนิสัยการอ่าน หมายถึง รูปแบบการ               จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
มีวิธีด่าเนินการ สื่อวัส ดุ อุปกรณ์ประกอบการจัดกิจกรรมด่าเนินไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุ
ตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ก่าหนดให้ และเป็นแบบอย่างที่ดีในการส่งเสริมการอ่าน
บทที่ 1 ใหม่

More Related Content

What's hot

เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคีเผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคีcomed
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมพงษ์เทพ ทองจันทร์
 
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีSAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีcomed
 
แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานpeter dontoom
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555supphawan
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556oraneehussem
 
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42ungpao
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1kruchaily
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์Krupol Phato
 
Teacher award-ok
Teacher award-okTeacher award-ok
Teacher award-okKhemjira_P
 

What's hot (18)

เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคีเผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
 
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีSAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
 
แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงาน
 
Sar ปี2555
Sar ปี2555Sar ปี2555
Sar ปี2555
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
Sar สพค56
Sar สพค56Sar สพค56
Sar สพค56
 
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
 
Work you selt3
Work you selt3Work you selt3
Work you selt3
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
Teacher award-ok
Teacher award-okTeacher award-ok
Teacher award-ok
 
1 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar551 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar55
 
Sar2555 1
Sar2555 1Sar2555 1
Sar2555 1
 
Sar peter 60
Sar peter 60Sar peter 60
Sar peter 60
 

Viewers also liked

แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการWichai Likitponrak
 
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power point
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power pointแบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power point
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power pointWichit Chawaha
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
ผลการประเมินโครงการรักการอ่าน
ผลการประเมินโครงการรักการอ่านผลการประเมินโครงการรักการอ่าน
ผลการประเมินโครงการรักการอ่านยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56Dhanee Chant
 
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555Sircom Smarnbua
 
แผน 1 2
แผน 1 2แผน 1 2
แผน 1 2tery10
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638soawaphat
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตpodjarin
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยบีน้อย สุชาดา
 

Viewers also liked (20)

แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
 
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power point
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power pointแบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power point
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power point
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
แบบสอบถาม ความพึงพอใจตำรวจ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจตำรวจแบบสอบถาม ความพึงพอใจตำรวจ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจตำรวจ
 
Panita Kuntasorn
Panita KuntasornPanita Kuntasorn
Panita Kuntasorn
 
ผลการประเมินโครงการรักการอ่าน
ผลการประเมินโครงการรักการอ่านผลการประเมินโครงการรักการอ่าน
ผลการประเมินโครงการรักการอ่าน
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
 
แผน 1 2
แผน 1 2แผน 1 2
แผน 1 2
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
 
Projectbase lobo
Projectbase loboProjectbase lobo
Projectbase lobo
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
007
007007
007
 
005
005005
005
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 

Similar to บทที่ 1 ใหม่

5.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน605.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน60kroodarunee samerpak
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63Watcharasak Chantong
 
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docxแผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docxaucharapon theemcle
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีMontree Jareeyanuwat
 
นำเสนอ ร.ร
นำเสนอ ร.รนำเสนอ ร.ร
นำเสนอ ร.รpoo123456789
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะMontree Jareeyanuwat
 
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7Aon Narinchoti
 
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7Aon Narinchoti
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯsupanyasaengpet
 
SAR ตูมพิทย์ 56
SAR ตูมพิทย์ 56SAR ตูมพิทย์ 56
SAR ตูมพิทย์ 56Ekachai Duangjai
 
นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559
นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559
นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559Nate Sadayu
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕ มาตรฐาน
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕  มาตรฐาน๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕  มาตรฐาน
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕ มาตรฐานผอ.พีระยศ บุญเพ็ง
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรEsarnee
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรEsarnee
 

Similar to บทที่ 1 ใหม่ (20)

5.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน605.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน60
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
 
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
 
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docxแผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
05 sar2556 251257
05 sar2556 25125705 sar2556 251257
05 sar2556 251257
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอแบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
 
นำเสนอ ร.ร
นำเสนอ ร.รนำเสนอ ร.ร
นำเสนอ ร.ร
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
 
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
 
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
 
Pranitee present tahoma
Pranitee present tahomaPranitee present tahoma
Pranitee present tahoma
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯ
 
SAR ตูมพิทย์ 56
SAR ตูมพิทย์ 56SAR ตูมพิทย์ 56
SAR ตูมพิทย์ 56
 
นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559
นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559
นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕ มาตรฐาน
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕  มาตรฐาน๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕  มาตรฐาน
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕ มาตรฐาน
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 

บทที่ 1 ใหม่

  • 1. บทที่ ๑ บทนา ความเป็นมาของโครงการ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า ) เป็นโรงเรียนในสังกัดส่านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนหนึ่งที่ได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิไทยรัฐ และสมาคมผู้บริหารโรงเรียนไทยรัฐวิทยา จากการวิเ คราะห์สถานภาพประชากรในโรงเรียนไทยรัฐ วิทยา พบว่า นักเรียนอ่านหนังสือเพื่อศึกษาค้นคว้าหาความรู้น้อยมาก สมาคมผู้บริหารโรงเรียนไทยรัฐ วิทยาร่วมกับมูลนิธิไทยรัฐจึงได้ขอทุนสนับสนุนโครงการพัฒนาครูและนักเรียนเพื่อสร้างเสริมนิสัย รักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา จากส่านักงานกองทุนสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ (สสส.) การอ่านเป็นทักษะส่าคัญหนึ่งในห้าสาระของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ซึ่งประกอบด้วย การอ่าน การเขียน การฟัง ดูและพูด หลักการใช้ภาษาไทย วรรณกรรมและวรรณคดี การอ่า นเป็นเครื่องมือส่าคัญในการสร้างเสริมภูมิปัญญาให้แก่มนุษย์ การอ่านมีส่วนส่าคัญในการ พัฒนาสมองของเด็ก ทั้งยังบ่มเพาะความสุข สามารถปลูกฝัง ส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมและสังคมการ อ่านตั้งแต่แรกเริ่มของช่วงชีวิตเด็ก จะน่าไปสู่สังคมสุขภาวะที่ยั่งยืน (ที่มา : แผนงานสร้างเ สริม วัฒนธรรมการอ่าน ) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเห็นความส่าคัญของการ อ่านเป็นอย่างยิ่ง พระองค์ทรงบรรยาย ในหัวข้อ “ภาษาไทยเข้มแข็งและรักการอ่าน ” ทรงกล่าวว่าการ อ่านเป็นเรื่องเกี่ยวกับภาษาโดยตรง ถ้าอ่านมากจะมีความรู้ความคิดที่เป็นประโยชน์ ได้รั บความสนุก กับการอ่าน พระองค์ทรงแสดงความคิดเห็นว่าคนไทยไม่รักการอ่าน เพราะมีสื่ออื่น ๆ ที่น่าสนใจกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระองค์ทรงเห็นว่าครูเป็นนักเรียนตลอดชีวิตที่ต้องรักการอ่านด้วย เพราะถ้าไม่รักการอ่านก็ไ ม่มีอะไรมาสอน (ที่มา : พระราชด่ารัสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี ทรงบรรยายในงานวันสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ ๒๒ ณ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จ .นนทบุรี ) ส่านักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมิ นคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน ) ได้ก่าหนดมาตรฐานตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การพิจารณา เกี่ยวกับ การรักการอ่านในกลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๓ ผู้เรียน มีความใฝ่รู้และเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง ส่านักงานสถิติแห่งชาติ ได้ส่ารวจเรื่องการอ่านหนังสือของคนไทย พบว่า คนไทยอ่านหนังสือ เฉลี่ยปีละ ๒ เล่ม ขณะที่ชาวสิงคโปร์อ่านหนังสือเฉลี่ยปีละ ๔๐-๕๐ เล่ม ชาวเวียดนามอ่านเฉลี่ยปีละ ๖๐ เล่ม (ที่มา : มติชนออนไลน์ วันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๒ เวลา ๑๙.๕๘.๓๓ น.) นับว่าการอ่าน หนังสือของคนไทยก่าลังเข้าสู่ ภาวะวิกฤติ หลายองค์กรหันมาให้ความส่าคัญกับการแก้ปัญหา
  • 2. เรื่องวิกฤติการอ่านของคนไทย รัฐบาลก่าหนดให้การส่งเสริมการอ่านเป็นวาระแห่งชาติ และก่าหนดให้ วันที่ ๒ เมษายน ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นวั นรักการอ่าน รวมทั้งก่าหนดให้ปี ๒๕๕๒- ๒๕๖๑ เป็นทศวรรษแห่งการอ่าน โดยมอบหมาย ให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพิ่มแหล่งการอ่านหนังสือดี มีคุณค่าให้ครอบคลุมทุกต่าบล ชุมชนสร้างภาคี เครือข่ายการอ่าน ปลูกฝังนิสัยรัก การอ่านและเรียนรู้ตลอดชีพอย่างยั่ งยืน ยุทธศาสตร์ส่าคัญ คือพัฒนาคนไทยให้มีความรู้ ความสามารถด้านการอ่าน มีนิสัยรักการอ่านและเพื่อให้เกิดผล เป็นรูปธรรม รัฐบาลจัดสรรงบประมาณโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ๒๕๕๕ (SP๒) การพิจารณามาตรการด้านภาษีอากร และอื่น ๆ เพื่อเป็นแรงจูงใจให้เกิดการส่งเสริมการอ่าน อย่างจริงจัง (มติชนออนไลน์ วันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๒ เวลา ๑๙.๕๘.๓๓ น.) เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการส่งเสริมการอ่าน กระทรวงศึกษาธิกา ร และส่านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ก่าหนดโรงเรียนเป็นสถาบันหลักในการพัฒนาครู บรรณารักษ์ให้มีศักยภาพในการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างแรงจูงใจให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านอย่างถาวร แต่การด่าเนินการยังขาดความต่อเนื่อง และประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมของครูยังไม่บรรลุผล ที่จะท่า ให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านอย่างแท้จริง ทั้งนี้เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านสื่อและเทคโนโลยี ด้านดิจิตอลก้าวหน้าไปเร็วมาก การพัฒนาครูแกนน่าให้มีศักยภาพในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้นักเรี ยนมีความตระหนัก และมีนิสัยรัก การอ่าน จึงมีความจ่าเป็นอย่างเร่งด่วน ที่จะพัฒนาครูแกนน่าเพื่อสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา สมาคมผู้บริหารโรงเรียนไทยรัฐวิทยา และมูลนิธิไทยรั ฐ ได้ตระหนักถึงความส่าคัญ ของปัญหาวิกฤติการอ่านของคนไทย และมีความมุ่งมั่นที่จะยกระดับให้นักเรียนโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ตลอดจนบุคลากรที่เกี่ยวข้อง รวมถึงครอบครัวและชุมชน เป็นโรงเรียนรักการอ่านทั้งระบบ โครงการ พัฒนาครูและนักเรียน เพื่อสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านให้กับนักเรียน บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน ชุมชน และน่าความรู้ไปวางแผนจัดท่า โครงการสร้างเส ริมนิสัยการรัก การอ่านในโรงเรียนและชุมชน ต่อไป จึงได้จัดท่าโครงการนี้ขึ้น ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่า) ตามรายละเอียดดังนี้ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า ) ตั้งอยู่เลขที่ ๒๓๔ หมู่ ๘ ถนน ศรีสัชนาลัย ต่าบล ทุ่งยั้ง อ่าเภอ ลับแล จังหวัด อุตรดิตถ์ เปิดท่าการสอนเมื่อ พ .ศ. ๒๔๘๗ มีบุคลากรทางการศึกษา คณะครู และนักเรียน ตามรายละเอียด ดังนี้
  • 3. ตารางที่ ๑ ตารางแสดงจานวนบุคลากรในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่า) ประเภทของบุคลากร จานวนบุคลากร หมายเหตุ ชาย หญิง รวม ผู้บริหาร ๑ - ๑ ครู ๖ ๙ ๑๕ นักการ – ภารโรง ๑ - ๑ คนงาน รวม ๘ ๙ ๑๗ ตารางที่ ๒ ตารางแสดงจานวนนักเรียนโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่า) จานวนนักเรียน ชั้น หมายเหตุ ชาย หญิง รวม อนุบาลปีที่ ๑ ๑๒ ๑๔ ๒๖ อนุบาลปีที่ ๒ ๖ ๑๓ ๑๙ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ๑๒ ๘ ๒๐ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ๑๒ ๑๐ ๒๒ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ๑๔ ๑๐ ๒๔ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ๕ ๑๐ ๑๕ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ๑๓ ๖ ๑๙ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ๑๗ ๑๔ ๓๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๗ ๕ ๑๒ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑๑ ๑๔ ๒๕ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๑๒ ๑๗ ๒๙ รวม ๑๒๑ ๑๒๑ ๒๔๒
  • 4. ผลงานดีเด่น โรงเรียน ๑. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพดีเด่นระดับทอง จากสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ๒. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาวะนักเรียนในโรงเรียนด้วยกิจกรรม ๖ อ. ดีเด่น ภาคเหนือ ในกลุ่มโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ๓. โรงเรียนดีเด่นภาคเหนือในกลุ่มโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๕๕๑ ๔. โรงเรียนต้นแบบปฐมวัยของส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์เขต ๑ ๕. โรงเรียนมีผลการประเมินคุณภาพนักเรียนระดับชาติ (o-net) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีคะแนนเฉลี่ยสูง ๕ อันดับแรก ของ ส่านักงานงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ ๖. โรงเรียนมีผลการประเมินคุณภาพนักเรียนระดับชาติ (o-net) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีคะแนนเฉลี่ยสูง ๕ อันดับแรก ของ ส่านักงานงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ๗. โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านดีเด่นภาคเหนือ ประจ่าปี ๒๕๕๔ ตามโครงการ พัฒนาครูและนักเรียนเพื่อสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ผู้บริหาร ๑. ผู้บริหารที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด่นรางวัลคุรุสภา ประจ่าปีการศึกษา ๒๕๓๘ ๒. ผู้บริหารดีเด่นภาคเหนือในกลุ่มโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๐ ๓. โรงเรียนดีเด่นภาคเหนือในกลุ่มโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๑ ครู ๑. นางศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ ครู วิชาภาษาไทยดีเด่นคุรุสภา ระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น ส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๘ ๒. นางขนิษฐา จันทร์ดวงดี ครูวิชาภาษาไทยดีเด่นคุรุสภา ระดับชั้นประถมศึกษา ส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๘ ๓. นางศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ ได้รับคัดเลือกเป็นครูดีในดวงใจ ล่าดับที่ ๒ ของส่านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๙ ๔. นางศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ ครูดีเด่นล่าดับที่ ๒ ในกลุ่มโรงเรียนไทยรัฐวิทยาภาคเหนือ ปีการศึกษา ๒๕๕๑
  • 5. ๕. นางศจี เพ็งวัน ครูดีเด่นล่าดับที่ ๒ ในกลุ่มโรงเรียนไทยรัฐวิทยาภาคเหนือ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ ๖. นางขนิษฐา จันทร์ดวงดี ได้รับคัดเลือกเป็นครูดีในดวงใจ ล่าดับที่ ๒ ของส่านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ ๗. นายอโนทัย สนประเทศ ได้รับคัดเลือกเป็นครูดีในดวงใจ ของส่านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ๘. นางศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ ได้รับคัดเลือกให้รับรางวัลชนะเลิศ การจัดกิจกรรมส่งเสริม การอ่านดีเด่นภาคเหนือ ประจ่าปี ๒๕๕๔ ตามโครงการพัฒนาครูและนักเรียนเพื่อสร้างเสริมนิสัย รักการอ่านทั้งระบบในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙. นางขนิษฐา จันทร์ดวงดี เป็นครูผู้พัฒนาห้องเรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน(บ้านหลังที่ ๒ ) จนเป็นแบบอย่าง ของส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ประจ่าปีการศึกษา ๒๕๕๔ ๙. นายธนู เตชา ได้รับคัดเลือกเป็นครูผู้สอนลูกเสือดีเด่น ของส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษา อุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ๑๐. นายบุญชุม มีรัตน์ ได้รับคัดเลือกเป็น ครูคุรุสดุดี ผู้บ่าเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม ของส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ๑๑. นางบานเที่ยง ยอดค่า ได้รับคัดเลือกในโครงการหนึ่งแสนครูดี ของคุรุสภาจังหวัด อุตรดิตถ์ ประจ่าปีการศึกษา ๒๕๕๔ ๑๒. นางมยุรี คงนุ่น ได้รับคัดเลือกในโครงการหนึ่งแสนครู ดี ของคุรุสภาจังหวัดอุตรดิตถ์ ประจ่าปีการศึกษา ๒๕๕๔ ๑๓. นางศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ ได้รับคัดเลือกในโครงการหนึ่งแสนครูดี ของคุรุสภาจั งหวัด อุตรดิตถ์ ประจ่าปีการศึกษา ๒๕๕๔ นักเรียน ๑. เด็กหญิงปนัดดา หมูตัน รางวัลเหรียญทองการเขียนเรียงความชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ๒. เด็กหญิงสุณิตรา ยิ้มเจริญ และ เด็กหญิงจิรวรรณ แย้มบัว รางวัลเหรียญทองการแข่งขัน กิจกรรมหนังสืออิเลคทรอนิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๒
  • 6. ๓. เด็กหญิงพิมพ์ชนก ไพรสันเทียะ รางวัลเหรียญทองการคัดลายมือและอ่านออกเสียง ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ๔. เด็กหญิงปวีณา พิมพ์สวัสดิ์ รางวัลเหรียญทอง การเขียนเรื่องจากภาพ ชั้นประถมศึกษา ปีที่ ๓ งานมหกรรมภาพแห่งความส่าเร็จโรงเรียนไทยรัฐวิทยาภาคเหนือ กลุ่มสักทอง ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ๕. เด็กหญิงวนิดา อินเขียว รางวัลเหรียญทอง การคัดลายมืองาม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ งานมหกรรมภาพแห่งความส่าเร็จโรงเรียนไทยรัฐวิทยาภาคเหนือ กลุ่มสักทอง ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ๖. เด็กหญิงวรชา พวงยะ รางวัลเหรียญทอง การกล่าวสุนทรพจน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ งานมหกรรมภาพแห่งความส่าเร็จโรงเรียนไทยรัฐวิทยาภาคเหนือ กลุ่มสักทอง ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ๗. เด็กหญิงพิมพ์ชนก ไพรสันเทียะ รางวัลเหรีญเงิน ผู้ประกาศข่าว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ งานมหกรรมภาพแห่งความส่าเร็จโรงเรียนไทยรัฐวิทยาภาคเหนือ กลุ่มสักทอง ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ๘. เด็กชายณรงค์กร ต่อมแก้ว เด็กหญิงนฤมล จันลอน รางวัลเหรียญทองการวาดภาพ วิทยาศาสตร์ งานมหกรรมภาพแห่งความส่าเร็จโรงเรียนไทยรัฐวิทยาภาคเหนือ กลุ่มสักทอง ปี การศึกษา ๒๕๕๓ ๙. รางวัลเหรียญทองสวดมนต์หมู่งานมหกรรมภาพแห่งความส่าเร็จโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ภาคเหนือ กลุ่มสักทอง ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ๑๐. รางวัลเหรียญทอง ร่าวงมาตรฐานประยุกต์ ระดับประถมศึกษาระดับเขตพื้นที่ การศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ๑๑. รางวัลเหรียญเงิน ร่าวงมาตรฐานประยุกต์ ระดับมัธยมศึกษาระดับเขตพื้น ที่การศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ระยะเวลาในการดาเนินงานโครงการ วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๑๕๕๓ – ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๔ วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑. โรงเรียนส่งเสริมการจัดกิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านทั้งระบบ ๒.โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อสร้างนิสัยรักการอ่านที่หลากหลาย ๓. โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนชวนพ่อแม่อ่านหนังสือให้ลูกฟัง ๔. โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานจากการอ่าน
  • 7. ขอบเขตของการดาเนินงาน ๑. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยวิทยากรบุคคลภายนอก ผู้ดาเนินกิจกรรม ครูระดับปฐมวัย – ครูภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ ระยะเวลา - อบรมผู้ปกครอง เดือน กันยายน ๒๕๕๓ -จัดกิจกรรม “หนูขอเวลา ๕ นาที” และ “ (ลูก,พ่อแม่) อ่านให้ (พ่อแม่,ลูก) ฟัง” ตั้งแต่เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔ นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม นักเรียนระดับปฐมวัย – ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ งบประมาณ ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม รายการ จ่านวนเงิน ๑. ผู้บริหารประชุมชี้แจงคณะครู และมอบหมายให้ครู ๑. ดินน้่ามัน ๒๑๐ ผู้รับผิดชอบประสานงานกับวิทยากร ผู้ปกครอง เพื่อ ๒. สีไม้ยาว ๗๐๐ ก่าหนดเวลาจัดอบรม มาสเตอร์อาร์ต ๒. ด่าเนินการอบรมให้ความรู้ และสร้างความตระหนักด้าน ๓. หมึกแคนนอนสี ๙๓๕ การสร้างนิสัยรักการอ่านให้บุตรหลานของตนเอง ๔. หมึกแคนนอนด่า ๖๕๙ ๓. ผู้ปกครองสร้างหนังสือนิทานให้ลูกอ่านจากนิสัย ๕. แฟ้มอ่อนโชว์ ของบุตรหลานของตนเอง เอกสาร ๖๐๐ ๔. จัดกิจกรรม “หนูขอเวลา ๕ นาที” และกิจกรรม “ ๖. ปากกลูกลื่นสีด่า ๑๕๐ (ลูก,พ่อแม่) อ่านให้ (พ่อแม่,ลูก) ฟัง” ๗. ตุ๊กตา ๕๐๐ ๕. ประเมินผลการจัดกิจกรรมด้วยแบบประเมินความ พึงพอใจ
  • 8. ๒. กิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่านอย่างหลากหลาย มี ๓ กิจกรรม คือ ๑. กิจกรรมอ่านชุดบัตรค่า น่าไปเขียน เพิ่มพูนค่าศัพท์ ๒. กิจกรรมอ่านบัตรค่า น่าทาง สร้างประโยค ๓. กิจกรรมประลองความสามารถในการอ่าน ผู้ดาเนินกิจกรรม ครูภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ ระยะเวลา เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – เดือนกันยายน ๒๕๕๔ นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ งบประมาณ ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม รายการ จ่านวนเงิน ๑. ครูผู้ด่าเนินกิจกรรมออกแบบกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย ๑. กระดาษบัตรค่า และเพียงพอกับจ่านวนนักเรียน ยาว ๖๐๐ ๒. แต่งตั้งนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีจิตอาสา และ ๒. ปากกา ๒ หัวม้า ๑๕๖ ชี้แจง แนะน่าวิธีการจัดกิจกรรม เพื่อช่วยเหลือครูและน้อง ๆ ๓. ลวดยิงกระดาษ ๒๙๐ ขณะด่าเนินกิจกรรม ๔. กรรไกร ๔๓๒ ๓. นักเรียนอาสาและคณะครูเขียนบัตรค่า โดยใช้ค่าที่ ๕. กาวลาเท็กซ์ ๒๘๐ ประสมด้วยสระที่นักเรียนเคยเรียนมาแล้ว อาจเป็นค่า ๑ -๓ พยางค์ ให้มีจ่านวนเพียงพอ ๔. ก่าหนดเวลาการจัดกิจกรรมโดยใช้เวลาว่างหลัง รับประทานอาหารกลางวัน โดยจัดกิจกรรมละ ๒ วัน หมุนเวียนกันไป เพื่อไม่ให้นักเรียนเบื่อหน่าย ๕. ประเมินผลการจัดกิจกรรมด้วยแบบประเมิน ความพึงพอใจโดยวิธีสอบถาม
  • 9. ๓. กิจกรรมรวมเรื่องที่ชอบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ มี ๓ กิจกรรม คือ ๑. กิจกรรมรวมข่าว เช่น ข่าวกีฬา ข่าวเศรษฐกิจ ข่าวสังคม ข่าวเกษตร ๒. กิจกรรมรวมค่าคม ค่าขวัญ บทประพันธ์ ข้อสอนใจต่าง ๆ ๓. กิจกรรมรวมภาพส่าคัญต่าง ๆ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เน้นรวมข่าว สารคดีวิทยาศาสตร์ ผู้ดาเนินกิจกรรม ๑. ครูภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ๒. ครูวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ระยะเวลา เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – เดือนกันยายน ๒๕๕๔ นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ งบประมาณ ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม รายการ จ่านวนเงิน ๑. ครูผู้ด่าเนินกิจกรรมประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ให้นักเรียน ๑.กาวลาเท็กซ์ ๑. ๓๕ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๒.ไส้แฟ้มสอด ๗๐ ทราบถึงความส่าคัญของการจัดกิจกรรม และการ ๓.แฟ้มโชว์เก็บได้ ๓๔๘ ประเมินผล ๔.กระดาษ A๔ ๒. ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบกิจกรรมการรวบรวม (๒ ห่อ ๒๒๔ เรื่องที่ชอบที่หลากหลาย และเกิดประโยชน์กับนักเรียน อย่างแท้จริง ๓. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยใช้เวลาว่างหลังรับประทาน อาหารกลางวันที่ห้องสมุดโรงเรียน ๔. นักเรียนตกแต่งชิ้นงานและอ่านให้ครูฟัง ๕. ครูบันทึกผลการอ่านเพื่อน่าไปประเมินผลการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนสื่อความในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ๖. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ประเมินผลในสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ๗. ประเมินความพึงพอใจ
  • 10. ๔. กิจกรรมหมอภาษา ผู้ดาเนินกิจกรรม ครูภาษาไทยทุกระดับชั้น ระยะเวลา เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – เดือนกันยายน ๒๕๕๔ นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ งบประมาณ ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม รายการ จ่านวนเงิน ๑. ครูผู้ด่าเนินกิจกรรมชี้แจงกิจกรรมให้นักเรียนจิตอาสาที่มี ๑.กระดาษ A๔ ทักษะด้านการอ่าน เป็นพี่เลี้ยงกิจกรรม (๒ รีม) ๒๗๐ ๒. นักเรียนพี่เลี้ยงกิจกรรมคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาด้าน ๒.แฟ้มโชว์เติมไส้ได้ ๒๘๐ การอ่าน เช่น อ่านไม่ออก อ่านไม่คล่อง มีปัญหาการออก ๓.ไส้แฟ้มสอด ๗๐ เสียงต่าง ๆ จากครูประจ่าชั้น หรือประจ่าวิชา ๓. นักเรียนพี่เลี้ยงประเมินการอ่านเพื่อคัดกรองปัญหาการ อ่าน ด้วยหนังสือเรียนของแต่ละชั้น เพื่อวินิจฉัยปัญหา ๔. นักเรียนพี่เลี้ยงบันทึกผลการคัดกรอง แล้วฝึกทักษะการ อ่านด้วยแบบฝึกหมอภาษาตามปัญหาที่พบ ๕. นักเรียนพี่เลี้ยงบันทึกผลการอ่าน และผลการพัฒนา ทุกครั้ง ๖. นักเรียนที่พัฒนาแล้ว ให้อ่านหนังสือในห้องสมุด โดยมี พี่เลี้ยงคอยแนะน่าช่วยเหลือ และให้ยืมหนังสือกลับไปอ่าน ที่บ้าน ๗. ประเมินผลการจัดกิจกรรมด้วยแบบประเมินความ พึงพอใจ
  • 11. ๕. กิจกรรมหนังสือเสี้ยวเดียว ผู้ดาเนินกิจกรรม ครูภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ ระยะเวลา เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – เดือนธันวาคม ๒๕๕๓ นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ งบประมาณ ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม รายการ จ่านวนเงิน ๑. ครูผู้ด่าเนินกิจกรรมชี้แจงกิจกรรมให้นักเรียน ๑.กระดาษ ๑๓๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ เกี่ยวกับกิจกรรมสร้างนิสัย แกรม ๑๐๐ แผ่น ๔๒๐ รักการอ่าน และการผลิตชิ้นงานเพื่อส่งเสริมให้น้อง ๆ ใน ๒.กระดาษปกการ์ด โรงเรียน สี ๑๒๐ แกรม ๑๙๘ ๒. นักเรียนและครูร่วมกันออกแบบกิจกรรมที่หลากหลาย ๓.สีชอล์ก ๓๐๐ รูปแบบเพื่อเร้าความสนใจและมีคุณค่า ๔.กระดาษปกการ์ด ๓. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กิจกรรม “รักยาวให้บั่น ๑๒๐ g ๕๐ แผ่น ๓๓๖ รักสั้นให้ต่อ” ค้นคว้า อ่านหนังสือ สื่อต่าง ๆ แล้ วบันทึก ๕. สีไม้ยาว ๒๙ ลงในชิ้นงานที่ออกแบบไว้ ตกแต่งให้สวยงาม อ่านออก เสียงให้ครูฟัง ครูบันทึกในแบบบันทึกผลการอ่าน น่าไป ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ ๔. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ กิจกรรม “ส่านวนภาษา น่ารู” ค้นคว้า อ่านหนังสือ สื่อต่ าง ๆ แล้วบันทึกลงใน ้ ชิ้นงานที่ออกแบบไว้ ตกแต่งให้สวยงาม อ่านออกเสียงให้ ครูฟัง ครูบันทึกในแบบบันทึกผลการอ่าน น่าไปประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ ๕.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ กิจกรรม “ไวพจน์น่ารู้” และ “มีอะไรในโคลงโลกนิติ” โดยค้นคว้า อ่ านหนังสือ สื่อ ต่าง ๆ แล้วบันทึกลงในชิ้นงานที่ออกแบบไว้ ตกแต่งให้ สวยงาม อ่านออกเสียงให้ครูฟัง ครูบันทึกในแบบบันทึกผล การอ่าน น่าไปประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อ ความ
  • 12. งบประมาณ ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม รายการ จ่านวนเงิน ๖. มอบรางวัลนักเรียนที่มีผลงานยอดเยี่ยม แล้วน่าผลงาน ไปจัดนิทรรศการที่ห้องสมุดโรงเรียน ๗. ประเมินผลการจัดกิจกรรมด้วยแบบประเมิน ความพึงพอใจ ๖. กิจกรรมสร้างสรรค์นิทานสอนน้อง ผู้ดาเนินกิจกรรม ครูภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ ระยะเวลา เดือนมกราคม ๒๕๕๔ – เดือนมีนาคม ๒๕๕๔ นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ งบประมาณ ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม รายการ จ่านวนเงิน ๑. ครูผู้ด่าเนินกิจกรรมชี้แจงกิจกรรมให้นักเรียน ๑.กระดาษ ๑๕๐ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ เกี่ยวกับกิจกรรมสร้างนิสัยรัก แกรม ๑,๓๕๐ การอ่าน และการผลิตชิ้นงานเพื่อส่งเสริมให้น้อง ๆ อ่าน ๒.สีไม้ยาว ๒๔ สี และเป็นการสร้างจิตอาสาผลิตหนังสือนิทานให้ห้องสมุ ด มาสเตอร์อาร์ต ๕๓๙ โรงเรียน ๒. นักเรียนและครูร่วมกันออกแบบกิจกรรมที่หลากหลาย รูปแบบเพื่อเร้าความสนใจและมีคุณค่า ๓. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ผลิตนิทานแผ่นเดียว ตกแต่งให้สวยงาม อ่านออกเสียงให้ครูฟัง ครูบันทึกในแบบ บันทึกผลการอ่าน น่าไปประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ เขียนสื่อความ ๔. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ผลิตนิทาน ๓ เรื่อง โดย ออกแบบรูปเล่มหนังสือนิทานอย่างสร้างสรรค์ ตกแต่งให้ สวยงาม อ่านออกเสียงให้ครูฟัง ครูบันทึกในแบบบันทึกผล
  • 13. ๗. กิจกรรมป้ายนิเทศสู่การอ่าน ผู้ดาเนินกิจกรรม ครูทุกคนทุกสาระการเรียนรู้ ระยะเวลา เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – เดือนกันยายน ๒๕๕๔ นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ งบประมาณ ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม รายการ จ่านวนเงิน ๑. ผู้บริหารประชุมชี้แจงคณะครู และมอบหมายให้คณะครู ๑.กระดาษ A๔ ทุกสาระจัดป้ายนิเทศตามวันส่าคัญต่าง ๆ (๓ รีม) ๔๐๕ ๒. ครูผู้ด่าเนินกิจกรรมออกแบบบันทึกการศึกษาเรียนรู้จาก ๒.กระดาษโปสเตอร์ แหล่งเรียนรู้ให้เป็นรูปแบบเดียวกัน และเพียงพอต่อจ่านวน บาง ๒ หน้า ๑๔๔ นักเรียน ๓.กระดาษโปสเตอร์ ๓. นักเรียนและครูร่วมกันจัดป้ายนิเทศ ในศูนย์กลางของ หนา ๑๙๒ โรงเรียนคือในห้องประชุมใหญ่ โรงอาหาร และตามอาคาร ๔.กระดาษสา ๙๖ เรียน ๕.กระดาษปก ๑๒๐ ๓. นักเรียนศึกษาเรียนรู้แหล่งเรียนรู้ป้ายนิเทศตามโอกาส แกรม ๑๓๐ ต่าง ๆ ๔. ครูน่าผลการศึกษาเรียนรู้จากการบันทึก ไปประเมินผล การเรียนรู้ในสาระของตนเอง ๕. ประเมินผลการจัดกิจกรรมด้วยแบบประเมิน ความพึงพอใจ ทั้งครูและนักเรียน ๘. กิจกรรมสร้างสรรค์ผลงานจากการอ่าน การค้นคว้า จัดเป็น ๓ กิจกรรมคือ ๑. กิจกรรม “น้องน้อยเขียนข่าว” ๒. กิจกรรม “หนังสือพิมพ์เสมือน” ๓. กิจกรรม “หนังสือพิมพ์ผนัง” ๔. กิจกรรม “หนังสือพิมพ์โรงเรียน” ผู้ดาเนินกิจกรรม ครูทุกคนทุกสาระการเรียนรู้
  • 14. ระยะเวลา เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – เดือนกันยายน ๒๕๕๔ นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ งบประมาณ ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม รายการ จ่านวนเงิน ๑. ผู้บริหารประชุมชี้แจงคณะครู และมอบหมายให้คณะครู กระดาษ A๔ (๕ รีม) ๖๗๕ ทุกสาระออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย ๒. ครูผู้ด่าเนินกิจกรรมออกแบบกิจกรรมเป็น ๔ กิจกรรมคือ ๑. กิจกรรม“น้องน้อยเขียนข่าว” ส่าหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ โดยให้นักเรียนเขียนข่าวสั้น ๆ ตามใบงาน โดยการสัมภาษณ์บุคคลในข่าว สัปดาห์ละ ๒ ครั้ง ใช้เวลาว่างหลังรับประทานอาหารกลางวัน ๒. กิจกรรม ”หนังสือพิมพ์เสมือน” ส่าหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ เป็นหนังสือพิมพ์เลียนแบบ หนังสือพิมพ์ โดยการฉีก ตัด ปะ ข่าวจากสื่อสิ่งพิมพ์แล้ว เขียนข่าว นักเรียนจะผลิตหนังสือพิมพ์ในเวลาว่าง เดือนละ ๑ ฉบับต่อกลุ่ม ๓.กิจกรรม “หนังสือพิมพ์ผนัง” ส่าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งออกแบบชื่อหนังสื อพิมพ์ โลโก้ เหมือนหนังสือพิมพ์จริง ใช้ภาพข่าวเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ในโรงเรียน ผลิตเดือนละ ๑ ฉบับ ๔. กิจกรรม “หนังสือพิมพ์โรงเรียน” ส่าหรับนักเรียน จิตอาสาที่มีทักษะการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อ ความ ผลิตหนังสือพิมพ์โรงเรียน โดยใช้กระดาษ A๔ จ่านวน ๔ แผ่น ๘ หน้า เดือนละ ๑ ฉบับ โดยใช้เวลาว่าง ๓. นักเรียนศึกษาเรียนรู้แหล่งเรียนรู้ป้ายนิเทศตามโอกาส ต่าง ๆ ๔. ครูน่าผลการศึกษาเรียนรู้จากการปฏิบัติกิจรรม ไปประเมินผลการเรียนรู้ในสาระของตนเอง ๕. ประเมินความพึงพอใจผลการจัดกิจกรรม
  • 15. ๙. กิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต จัดเป็น ๓ กิจกรรมคือ ๑. กิจกรรม ”บริการยืมสื่อ และหนังสือ” ๒. กิจกรรม “ ๓๐ วัน แห่งการค้นพบ ประสบการณ์ใหม่ ๆ” ๓. กิจกรรม “ตอบปัญหาสารานุกรม” ๔. กิจกรรม “เปิดโลกมหัศจรรย์แห่งการอ่าน” ผู้ดาเนินกิจกรรม บรรณารักษ์ และครูภาษาไทยทุกคน ระยะเวลา เดือนกันยายน ๒๕๕๓ – เดือนกันยายน ๒๕๕๔ นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ งบประมาณ ขั้นตอนการด่าเนินกิจกรรม รายการ จ่านวนเงิน ๑. ผู้บริหารประชุมชี้แจงคณะครู และมอบหมายให้คณะครู ๑.กระดาษสาสี รับผิดชอบกิจกรรมตามช่วงชั้น ดอกไม้ ๙๖ ๒. จัดบรรยากาศห้องสมุดให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ๒.กระดาษ A๔ ๓. จัดซื้อ จัดหาสื่อที่หลากหลาย (๓ รีม) ๓๓๖ ๔. ส่ารวจหนังสือ และจัดหาให้เพียงพอ ครบทุกสาระการ ๓.เทปกาวหน้าเดียว ๖๕ เรียนรู้ ๔.เทปกาว ๒ หน้า ๙๒ ๕. เปิดบริการตลอดเวลา และอ่านวยความสะดวก ๕.กระดาษกาวย่น ๕๒ ๒. จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่ อง สม่่าเสมอ ๖.ลวดเสียบ ๔. ให้รางวัลนักเรียนที่ใช้บริการห้องสมุด และชนะเลิศการ กระดาษ ๙ แข่งขันกิจกรรมที่จัดขึ้น ๕. ประเมินความพึงพอใจผลการจัดกิจกรรม รวม ๑๒,๐๐๐ กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง บุคลากรที่เกี่ยวข้อง จานวนคน หมายเหตุ ๑. ผู้บริหาร ๑ ๒. คณะครู ๑๖ ๓. นักเรียน ๒๔๒ ๔. ผู้ปกครอง ๑๑๑
  • 16. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑. เป็นการพัฒนาสติปัญญาให้เกิดความรู้ ความฉลาด เกิดภูมิคุ้มกันที่ดีในชีวิต ๒. ท่าให้มีความรู้ในวิชาการด้านต่าง ๆ ๓. ท่าให้รอบรู้ทันโลก ทันเหตุการณ์ ๔. ท่าให้ค้นหาค่าตอบที่ต้องการได้ ๕. ท่าให้เกิดความเพลิดเพลิน ๖. ท่าให้เกิดทักษะและพัฒนาการในการอ่าน ๗. ท่าให้ชีวิตมีพัฒนาการเป็นชีวิตที่สมบูรณ์ ก้าวหน้า ประสบความส่าเร็จ ประพฤติดี ประพฤติชอบ ๘. ท่าให้เป็นผู้มีมนุษย์สัมพันธ์ดีและเสริมสร้างบุคลิกภาพ ๙. นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน ๑๐. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น นิยามศัพท์ คณะครู หมายถึง คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนไทยรัฐวิท ยา ๕ (วัดตลิ่งต่่า) จ่านวน ๑๖ คน นักเรียน หมายถึง นักเรียนโรงเรียนไทยรัฐ ๕ (วัดตลิ่งต่่า) จ่านวน ๒๔๒ คน กิจกรรมส่งเสริมนิสัยการอ่าน หมายถึง รูปแบบการ จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน มีวิธีด่าเนินการ สื่อวัส ดุ อุปกรณ์ประกอบการจัดกิจกรรมด่าเนินไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุ ตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ก่าหนดให้ และเป็นแบบอย่างที่ดีในการส่งเสริมการอ่าน