SlideShare a Scribd company logo
1 of 184
ส่วนที่ ๑
สภาพการจัดการศึกษา
และแนวทางการพัฒนา
~ ๓๒ ~
ส่วนที่ ๑
ข้อมูลพื้นฐาน
โรงเรียนบ้านอาเลาเป็ นหน่วยงานภาครัฐสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ก
า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า สุ ริ น ท ร์ เ ข ต ๒
มีหน้าที่จัดการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพและ
ม า ต ร ฐ า น เ ท่ า เ ที ย ม กั น
โดยมีปริมาณงานผลการดาเนินงานและแนวทางการพัฒนา ดังนี้
๑. ข้อมูลทั่วไป
ประวัติและความเป็นมาโรงเรียนบ้านอาเลา
โรงเรียนบ้านอาเลาเดิมเป็ นโรงเรียนประชาบาลตาบลสนม
ได้รับการก่อตั้งเมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๔๘๒ เดิมอาศัยกุฏิวัดบ้านอาเลา
(วัดอารีราษฎร์วราราม) เป็ นที่เรียนโดยครั้งแรกมีครู ๒ คนคือนายเสาร์
วงศ์ฉลาด เป็นครูใหญ่ ซึ่งขณะนั้นมีนักเรียน จานวน ๗๙ คน เป็นชาย
๓ ๒ ค น ห ญิ ง ๔ ๓ ค น เ ปิ ด ท า ก า ร ส อ น ค รั้ ง แ ร ก
ไ ด้ รั บ เ งิ น ส นั บ ส นุ น จ า ก ป ร ะ ช า บ า ล ต า บ ล ส น ม
และปัจจุบันได้ขยับขยายมาอยู่ที่ดินสาธารณะที่ประชาชนสงวนไว้เป็ นสนา
มกีฬา ซึ่งเดิมสถานที่แห่งนี้เป็ นสถานที่ฝังศพ หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า
ป่ าช้า โดยได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและชาวบ้าน บ้านอาเลา
แ ล ะ บ้ า น หั ว เ สื อ
ช่วยกันสร้างอาคารเรียนเป็ นเอกเทศโดยใช้ไม้ทุบเปลือกไม้มุงหลังคา
และย้ายมาเรียนในวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๑๒ บนเนื้อที่ ๒๕ ไร่ ๒ งาน
ให้ชื่อว่าโรงเรียนบ้านอาเลา จนถึงปัจจุบัน
ปั จ จุ บั น โ ร ง เ รี ย น บ้ า น อ า เ ล า
เป็ นโรงเรียนในโครงการขยายโอกาส ทางการศึกษาเปิ ดสอน ๓
ร ะ ดับ คื อ ตั้ ง แ ต่ ร ะ ดับ ก่ อ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า
และมัธยมศึกษาตอนต้น มีข้าราชการครูทั้งหมด ๑๕ คน
พนักงานราชการ ๑ คน นักการภารโรง ๑ คน และธุรการ ๑ คน
เป็ นโรงเรียนขนาดกลาง มีนักเรียนทั้งหมด ๑๒๗ คน ผู้บริหารคือ
นางสิทธิสินี สอนเลิศ ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน
ใ น ปั จ จุ บัน อ า ค า ร เ รี ย น แ ล ะ อ า ค า ร ป ร ะ ก อ บ
ดังนี้โรงเรียนมีอาคารทั้งสิ้นจานวน ๓ หลัง แบ่งเป็ นอาคารเรียน ๓ หลัง
ห้องปฏิบัติการทางภาษา ๑ ห้อง ห้องทดลองวิทยาศาสตร์ ๑ ห้อง
ห้องสมุด ๑ ห้อง ห้องพยาบาล ๑ ห้อง
โรงเรียนตั้งอยู่ห่างจากชุมชนประมาณ ๓๐๐ เมตร
สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็ นชุมชนชนบททั่วๆไป
บ ริ เ ว ณ ใ ก ล้ เ คี ย ง โ ด ย ร อ บ โ ร ง เ รี ย น ทิ ศ เ ห นื อ มี ส า นัก ส ง ฆ์
ตั้ ง อ ยู่ ห่ า ง จ า ก โ ร ง เ รี ย น ป ร ะ ม า ณ ๑ ๐ ๐ เ ม ต ร
~ ๓๓ ~
ทิศตะวันออกห่างจากโรงเรียนประมาณ ๒๐๐ เมตรเป็ นที่ตั้งหมู่บ้านอาเลา
ทิศใต้เป็ นที่ตั้งหมู่บ้านหัวเสือ และทิศตะวันตกห่างจากโรงเรียนประมาณ
๑ , ๕ ๐ ๐ เ ม ต ร เ ป็ น ที่ ตั้ ง ข อ ง ห มู่ บ้ า น อ า เ ย า ะ
จานวนประชากรที่อยู่ในเขตบริการของโรงเรียนมีจานวน ๙๗๕ คน
อ า ชี พ ห ลั ก ข อ ง ชุ ม ช น คื อ ท า น า
เนื่องจากพื้นที่เป็ นที่ราบสูงและมีสภาพแห้งแล้ง น้าใต้ดิน มีน้อย
ห น้ า แ ล้ ง จึ ง ไ ม่ เ ห ม า ะ ต่ อ ก า ร เ พ า ะ ป ลู ก
เมื่อเสร็จจากฤดูทานาประชาชนส่วนใหญ่จะไปประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป
ที่ ก รุ ง เ ท พ ฯ แ ล ะ ต่ า ง จั ง ห วั ด
ด้ า น ก า ร นั บ ถื อ ศ า ส น า ส่ ว น ใ ห ญ่ นั บ ถื อ ศ า ส น า พุ ท ธ
ป ร ะ เ พ ณี วั ฒ น ธ ร ร ม ท้ อ ง ถิ่ น ที่ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก โ ด ย ทั่ ว ไ ป คื อ
ประเพณีทาบุญวันสาคัญทางศาสนา ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา
ป ระ เพ ณี ลอ ย ก ระ ท ง ป ระ เพ ณี ส งก รานต์ ป ระ เพ ณี แ ต่งงาน
ประเพณีขึ้นบ้านใหม่ ประเพณีบวชนาคและประเพณีทอดกฐิน ทอดผ้าป่า
เป็นต้น
โรงเรียนบ้านอาเลาตั้งอยู่เลขที่ ๑๓๔ หมู่ที่ ๖ บ้านอาเลา
ตาบลหนองอียอ อาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ รหัสไปรษณีย์ ๓๒๑๖๐
โทรศัพท์ ๐๔๔ - ๕๑๗๓๖๔
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒
๒. ปริมาณงาน
๒.๑ จานวนนักเรียน ห้องเรียน จานวนรายชั้น รายเพศ
ในปีการศึกษา ๒๕๖๕
โรงเรียนบ้านอาเลามีข้อมูลเกี่ยวกับจานวนนักเรียนดังนี้
๑)
จานวนนักเรียนในเขตพื้นที่บริการและเขตพื้นที่นอกบริการทั้งสิ้น ๑๒๗
คน
๒) จานวนนักเรียนจาแนกตามชั้นที่เปิดสอน ปีการศึกษา
๒๕๖๔ ดังนี้
ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ
ชาย หญิง
อนุบาล ๒ 8 9 17
อนุบาล ๓ 4 7 11
ประถมศึกษาปีที่ ๑ 3 8 11
ประถมศึกษาปีที่ ๒ 3 5 8
ประถมศึกษาปีที่ ๓ 5 6 11
~ ๓๔ ~
ประถมศึกษาปีที่ ๔ 5 6 11
ประถมศึกษาปีที่ ๕ 7 9 16
ประถมศึกษาปีที่ ๖ 6 5 11
มัธยมศึกษาปีที่ ๑ 6 3 9
มัธยมศึกษาปีที่ ๒ 11 2 13
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ 3 6 9
รวมจานวนทั้งหมด 53 57 127
๒.๒ ข้อมูลนักเรียนพิการเรียนร่วม ๙ ประเภท จานวนรายชั้น รายเพศ
ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ
ชาย หญิง
อนุบาล ๒ - - -
อนุบาล ๓ - - -
ประถมศึกษาปีที่
๑
- - -
ประถมศึกษาปีที่
๒
- - -
ประถมศึกษาปีที่
๓
1 - 1
ประถมศึกษาปีที่
๔
2 - 2
ประถมศึกษาปีที่
๕
2 1 3
ประถมศึกษาปีที่
๖
1 2 3
มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๒ ๑ ๓
มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๔ ๑ ๕
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๒ ๑ ๒
รวมจานวนทั้งหม
ด
๑๒ 6 ๑๙
๒.๓ จานวนนักเรียนด้อยโอกาสเรียนร่วม จานวนรายชั้น รายเพศ
ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ
ชาย หญิง
อนุบาล ๒ - - -
อนุบาล ๓ - - -
~ ๓๕ ~
ประถมศึกษาปี
ที่ ๑
3 8 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๒
3 5 8
ประถมศึกษาปี
ที่ ๓
5 6 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๔
5 6 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๕
7 9 16
ประถมศึกษาปี
ที่ ๖
6 5 11
มัธยมศึกษาปีที่
๑
6 3 9
มัธยมศึกษาปีที่
๒
11 2 13
มัธยมศึกษาปีที่
๓
3 6 9
รวมจานวนทั้งห
มด
๔๙ 5๐ 1๑7
๒.๔ จานวนนักเรียนออกกลางคัน ปีการศึกษา ๒๕๖๔
จานวนรายชั้น รายเพศ
ระดับชั้น จานวนนักเรีย
น
รวม หมายเหตุ
ชาย หญิง
อนุบาล ๒ - - -
อนุบาล ๒ - - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๑
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๒
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๓
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๔
- - -
~ ๓๖ ~
ประถมศึกษาปี
ที่ ๕
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๖
- - -
มัธยมศึกษาปีที่
๑
- - -
มัธยมศึกษาปีที่
๒
- - -
มัธยมศึกษาปีที่
๓
- - -
รวมจานวนทั้งห
มด
- - -
๒.๕ จานวนนักเรียนที่จบการศึกษาภาคบังคับ (ชั้น ม. ๓ ) ปี
๒๕๖๔ จาแนก รายเพศ
ระดับชั้น
จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ
ชาย หญิง
อนุบาล ๑ - - -
อนุบาล ๒ - - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๑
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๒
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๓
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๔
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๕
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๖
- - -
~ ๓๗ ~
มัธยมศึกษาปีที่
๑
- - -
มัธยมศึกษาปีที่
๒
- - -
มัธยมศึกษาปีที่
๓
๓ ๑๐ ๑๓
รวมจานวนทั้งห
มด
๓ ๑๐ ๑๓
๒.๖ จานวนนักเรียนที่จบชั้น ป.๖ เข้าเรียนต่อชั้น ม. ๑
(ร.ร.ทั่วไป) จาแนก รายเพศ
ระดับชั้น
จานวนนักเรียน
รวม หมายเหตุ
ชาย หญิง
อนุบาล ๑ - - -
อนุบาล ๒ - - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๑
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๒
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๓
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๔
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๕
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๖
๗ ๕ ๑๒
มัธยมศึกษาปีที่
๑
- - -
มัธยมศึกษาปีที่
๒
- - -
มัธยมศึกษาปีที่
๓
- - -
รวมจานวนทั้งห
มด
๗ ๕ ๑๒
~ ๓๘ ~
๒.๗ จานวนนักเรียนที่จบชั้น ม. ๓ เข้าเรียนต่อชั้น ม. ๔ จาแนก
รายเพศ
ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ
ชาย หญิง
อนุบาล ๒ - - -
อนุบาล ๓ - - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๑
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๒
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๓
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๔
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๕
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๖
- - -
มัธยมศึกษาปีที่
๑
- - -
มัธยมศึกษาปีที่
๒
- - -
มัธยมศึกษาปีที่
๓
๓ ๑๐ ๑๓
รวมจานวนทั้งห
มด
๓ ๑๐ ๑๓
๒.๘ จานวนนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่คล่อง ปีการศึกษา ๒๕๖๔
จาแนกรายชั้น รายเพศ
ระดับชั้น
จานวนนักเรียน
รวม หมายเหตุ
ชาย หญิง
อนุบาล ๒ - - -
อนุบาล ๓ - - -
~ ๓๙ ~
ประถมศึกษาปี
ที่ ๑
1 - 1
ประถมศึกษาปี
ที่ ๒
1 - 1
ประถมศึกษาปี
ที่ ๓
๑ - ๑
ประถมศึกษาปี
ที่ ๔
3 2 -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๕
3 1 -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๖
- - -
มัธยมศึกษาปีที่
๑
2 1 3
มัธยมศึกษาปีที่
๒
2 - 2
มัธยมศึกษาปีที่
๓
1 - 1
รวมจานวนทั้งห
มด
14 4 12
๒.๙
จานวนนักเรียนมีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่องมือใน
การเรียนรู้ จาแนกรายชั้น
ระดับชั้น
จานวนนักเรียน
รวม หมายเหตุ
ชาย หญิง
ประถมศึกษาปี
ที่ ๑
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๒
- - -
ประถมศึกษาปี
ที่ ๓
5 6 11
~ ๔๐ ~
ประถมศึกษาปี
ที่ ๔
5 6 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๕
7 9 16
ประถมศึกษาปี
ที่ ๖
6 5 11
มัธยมศึกษาปีที่
๑
6 3 9
มัธยมศึกษาปีที่
๒
11 2 13
มัธยมศึกษาปีที่
๓
3 6 9
รวมจานวนทั้งห
มด ๔๓ ๓๗ ๘๐
๒.๑๐
จานวนนักเรียนได้รับการพัฒนาให้มีจิตสานึกความเป็ นไทยยึดมั่นในสถา
บันชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
ระดับชั้น
จานวนนักเรียน
รวม หมายเหตุ
ชาย หญิง
อนุบาล ๒ 8 9 17
อนุบาล ๓ 4 7 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๑
3 8 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๒
3 5 8
ประถมศึกษาปี
ที่ ๓
5 6 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๔
5 6 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๕
7 9 16
ประถมศึกษาปี
ที่ ๖
6 5 11
~ ๔๑ ~
มัธยมศึกษาปีที่
๑
6 3 9
มัธยมศึกษาปีที่
๒
11 2 13
มัธยมศึกษาปีที่
๓
3 6 9
รวมจานวนทั้งห
มด
53 57 127
๒.๑๑
จานวนนักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐ
านปีการศึกษา ๒๕๖๔ จาแนกรายชั้น รายเพศ
ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ
ชาย หญิง
อนุบาล ๒ ๘ ๙ 17
อนุบาล ๓ 4 7 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๑
3 8 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๒
3 5 8
ประถมศึกษาปี
ที่ ๓
5 6 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๔
5 6 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๕
7 9 16
ประถมศึกษาปี
ที่ ๖
6 5 11
มัธยมศึกษาปีที่
๑
6 3 9
มัธยมศึกษาปีที่
๒
11 2 13
มัธยมศึกษาปีที่
๓
3 6 9
~ ๔๒ ~
รวมจานวนทั้งห
มด
53 57 127
๒.๑๒
จานวนนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาทักษะการดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลั
กปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จาแนกรายชั้น รายเพศ
ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ
ชาย หญิง
อนุบาล 2 ๘ ๙ 17
อนุบาล 3 4 7 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๑
3 8 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๒
3 5 8
ประถมศึกษาปี
ที่ ๓
5 6 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๔
5 6 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๕
7 9 16
ประถมศึกษาปี
ที่ ๖
6 5 11
มัธยมศึกษาปีที่
๑
6 3 9
มัธยมศึกษาปีที่
๒
11 2 13
มัธยมศึกษาปีที่
๓
3 6 9
รวมจานวนทั้งห
มด
53 57 127
๒.๑๓
จานวนนักเรียนที่ได้รับการสนับสนุนการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรั
บรายการค่าเล่าเรียน หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน
~ ๔๓ ~
เครื่องแบบนักเรียนและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จานวนรายชั้น รายเพศ
ปีการศึกษา ๒๕๖๕
ระดับชั้น
จานวนนักเรียน
รวม หมายเหตุ
ชาย หญิง
อนุบาล ๒ ๘ ๙ 17
อนุบาล ๓ 4 7 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๑
3 8 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๒
3 5 8
ประถมศึกษาปี
ที่ ๓
5 6 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๔
5 6 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๕
7 9 16
ประถมศึกษาปี
ที่ ๖
6 5 11
มัธยมศึกษาปีที่
๑
6 3 9
มัธยมศึกษาปีที่
๒
11 2 13
มัธยมศึกษาปีที่
๓
3 6 9
รวมจานวนทั้งห
มด
53 57 127
๒.๑๔ จานวนผู้รับบริการ (นักเรียน)
มีความพึงพอใจในการจัดการศึกษา จาแนกเป็นระดับ
ระดับชั้น
จานวนนักเรียน
รวม หมายเหตุ
ชาย หญิง
อนุบาล 2 ๘ ๙ 17
อนุบาล 3 4 7 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๑
3 8 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๒
3 5 8
~ ๔๔ ~
ประถมศึกษาปี
ที่ ๓
5 6 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๔
5 6 11
ประถมศึกษาปี
ที่ ๕
7 9 16
ประถมศึกษาปี
ที่ ๖
6 5 11
มัธยมศึกษาปีที่
๑
6 3 9
มัธยมศึกษาปีที่
๒
11 2 13
มัธยมศึกษาปีที่
๓
3 6 9
รวมจานวนทั้งห
มด
53 57 127
๒.๑๕ จานวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงเรียน จาแนกรายเพศ
ตามตาแหน่งและวิทยฐานะ
โรงเรียนบ้านอาเลา มีผู้อานวยการสถานศึกษาปัจจุบัน คือ
นางสิทธิสินี สอนเลิศ วุฒิการศึกษาสูงสุด ศ.ษม.
สาขาการบริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่วันที่ ๑๐
เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐ จนถึงปัจจุบัน
ครูและบุคลากรจานวนทั้งสิ้น ๑๙ คน ดังนี้
ชื่อ-สกุล ตาแหน่ง/วิทยฐานะ วุฒิ/วิชาเอก
นางสิทธิสินี
สอนเลิศ
ผู้อานวยการชานาญ
การพิเศษ
ศ.ษม.
การบริหารการศึกษา
นางสาวพาระนี
พรมตวง
ครูชานาญการพิเศษ กศ.บ.สังคมศึกษา
นายชัยศักดิ์ ปิ่นแก้ว ครูชานาญการพิเศษ ค.บ. คณิตศาสตร์
นางสาวโสภา
บัวพรม
ครูชานาญการพิเศษ กศ.ม.
การบริหารการศึกษา
นางสาวอัจฉราภรณ์
เทียมคลี
ครูชานาญการพิเศษ กศ.ม.
การบริหารการศึกษา
~ ๔๕ ~
นางสาววลัยภรณ์
สาราญจิต
ครูชานาญการพิเศษ กศ.ม.
การบริหารการศึกษา
นางชลลดา พิศงาม ครูชานาญการพิเศษ ค.บ.สังคมศึกษา
นางอนงลักษณ์
เศรษฐศักดิ์อาพล
ครูชานาญการ กศม.หลักสูตรและการส
อน
นางขนิษฐา
แก้วขวัญ
ครูชานาญการ กศม.การบริหารการศึก
ษา
นางสาวธนารัตน์
สาเภาดี
ครูชานาญการ บธ.บ.
เทคโนโลยีทางการศึกษา
นายพิทวัส สุดชารี ครู ศษ.บ. ภาษาอังกฤษ
นางสาวสุกัญญา
เหนือคูเมือง
ครู ค.บ.เคมี
นางสุกัญญา
กะการดี
ครู คบ.การศึกษาปฐมวัย
นางสาวอารยา ยอดลี ครูผู้ช่วย ค.บ. คณิตศาสตร์
นางสาวกาญจนาพร
สมเสร็จ
ครูผู้ช่วย ค.บ. ภาษาไทย
นายกิตติพงศ์ มงคุณ พนักงานราชการ บธ.บ.
เทคโนโลยีสารสนเทศธุร
กิจ
นายคาร กล้าจริง นักการฯ ม.๖
นางสาวพัชรินทร์
มีเพ็ชร
ธุรการ วทบ.วิทยาศาสตร์
~ ๔๖ ~
๓. โครงสร้างการบริหารงานของโรงเรียนบ้านอาเลา
โรงเรียนบ้านอาเลาบริหารจัดการตามแนวทางการบริหารงานโรงเรี
ยนที่เป็นนิติบุคคล
และระเบียบสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒
ว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษา ซึ่งแบ่งกลุ่มงานออกเป็ น
๔ กลุ่มงาน ประกอบด้วย
๑. กลุ่มงานวิชาการ
๒. กลุ่มงานงบประมาณ
๓. กลุ่มงานบุคลากร
๔. กลุ่มงานบริหารทั่วไป
ซึ่งแสดงด้วยแผนภูมิได้ดังนี้
แผนภูมิโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนบ้านอาเลา
คณะกรรมการบริหารสถ
านศึกษา
ผู้อำนวยกำรสถ
ำนศึกษำ
นำงสิทธิสินี
สอนเลิศ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พื้นฐาน
งานวิชาการ
นางสาวพาระนี
พรมตวง
นางสาวอัจฉราภรณ์
เทียมคลี
นางสาววลัยภรณ์
สาราญจิต
นางอนงลักษณ์
เศรษฐศักดิ์อาพล
นางสาวสุกัญญา
เหนือคูเมือง
นางสาวกาญจนาพร
สมเสร็จ
นางสาวพัชรินทร์
มีเพ็ชร
งานงบประมาณ
นายชัยศักดิ์ ปิ่นแก้ว
นางอนงลักษณ์
เศรษฐศักดิ์อาพล
นางสาวพาระนี พรมตวง
นายพิทวัส สุดชารี
นางสาวอรยา ยอดลี
นางสาวพัชรินทร์ มีเพ็ชร
งานบุคคล
นางสิทธิสินี
สอนเลิศ
นางสาวพาระนี
พรมตวง
นายชัยศักดิ์
งานบริหารทั่วไป
นางอนงลักษณ์
เศรษฐศักดิ์อาพล
นางสาวโสภา
บัวพรม
นางชลลดา พิศงาม
นางสุกัญญา
กะการดี
นายพิทวัส สุดชารี
นางขนิษฐา
แก้วขวัญ
นายกิตติพงศ์ มงคุณ
นางสาวพัชรินทร์
มีเพ็ชร
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุริน
ทร์ เขต ๒
~ ๔๗ ~
๔. ผลการดาเนินงาน
จากการดาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ได้จัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติราชการปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ทั้งหมด ๔ งาน ได้แก่ ๑. กลุ่มบริหารงานวิชาการ ๒.
กลุ่มบริหารงบประมาณ ๓. กลุ่มบริหารงานบุคคล ๔.
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
ซึ่งงานแต่ละงานมีโครงการดาเนินงาน ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้
๑. กลุ่มบริหารงานวิชาการ
๑.๑ ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา
ปีการศึกษา ๒๕๖๔
๑.๑.๑ ระดับการศึกษาปฐมวัย
ร ะ ดั บ ป ฐ ม วั ย
ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินพัฒนาการแต่ละด้านในระดับ ๓
ขึ้นไป
ระดับชั้น
ผลการประเมินพัฒนาการนักเรียนด้าน ครบทั้ง 4
ด้าน
ร่างกาย
อารมณ์
จิตใจ สังคม สติปัญญา
อ.2 ๑๑ ๑๑ ๑๑ 10 ๑๑
อ.3 ๑๑ ๑๑ ๑๑ 10 11
รวม ๒๒ ๒๒ ๒๒ ๒๐ ๒๒
ร้อยละ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๙๐.๙๐ ๑๐๐
๑.๑.๒ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑ )
ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาใน
ระดับ ๓ ขึ้นไป ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จานวน ๑๐๔ คน
ระดับ
ชั้น
รายวิชา (พื้นฐาน)
ภาษาไทย
คณิ
ต
ศาสต
ร์
วิ
ท
ยาศาสต
ร์
สั
ง
คมศึ
ก
ษ
าฯ
ประวั
ต
ิ
ศ
าส
ตร์
สุ
ข
ศึ
ก
ษาฯ
ศิ
ล
ปะ
การงานอา
ชี
พ
ฯ
ภาษาอั
ง
กฤ
ษ
ป.1 7 8 5 8 6 8 8 6 8
ป.2 6 7 5 8 8 10 10 6 10
ป.3 9 11 10 11 9 11 12 12 11
~ ๔๘ ~
ป.4 8 9 8 7 5 16 13 17 11
ป.5 5 8 8 5 2 9 11 12 5
ป.6 8 7 12 9 6 12 12 12 9
ม.1 9 5 5 3 5 13 13 10 9
ม.2 6 5 5 6 6 7 6 9 6
ม.3 11 6 9 7 8 13 11 11 11
รวม 69 66 67 64 55 99 96 95 80
ร้อยละ
6๘.๓๑ 65.34 66.33
63.3
6
54.4
5
98.0
1
95.0
4
94.0
5
79.2
0
๒) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียน ในระดับดีขึ้นไป
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา
๒๕๖๔ จานวนนักเรียน ๑0๑ คน
ระดับชั้น จานวนนักเรียน
ผลการประเมิน ระดับดี
ขึ้นไป
ร้อยละ
ไม่ผ่าน ผ่าน ดี ดีเยี่ยม
ป.1 8 ๐ 0 2 6 8 100
ป.2 11 ๐ 0 2 9 11 100
ป.3 11 ๐ 1 7 3 10 90.90
ป.4 1๗ ๐ 0 1๑ 6 1๗ 100
ป.5 11 ๐ 0 9 2 11 100
ป.6 12 ๐ 0 4 8 12 100
ม.1 13 ๐ 6 4 3 7 53.84
ม.2 9 ๐ 3 3 3 6 66.66
ม.3 13 ๐ 2 3 ๘ 1๑ 84.61
รวม 10๔ 0 12
ร้อยละ 100 - 11.๕๓
๓ )
ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับ
ดีขึ้นไประดับ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
ระดับชั้น จานวนนักเรียน
ผลการประเมิน ระดับดี
ขึ้นไป
ร้อยละ
ไม่ผ่าน ผ่าน ดี ดีเยี่ยม
~ ๔๙ ~
ป.1 8 ๐ 0 0 8 8 100
ป.2 11 ๐ 0 0 11 11 100
ป.3 11 ๐ 0 3 ๘ 1๑ 100
ป.4 1๗ ๐ 0 0 17 17 100
ป.5 1๑ ๐ 0 0 11 11 100
ป.6 12 ๐ 0 1 11 12 100
ม.1 13 ๐ 2 3 8 11 91.66
ม.2 9 ๐ 0 1 8 9 100
ม.3 13 ๐ 0 1 12 13 100
รวม 10๔ 0 2 ๙ ๙๓ 102
ร้อยละ 100 ๐
๑.๒ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-
NET) ปีการศึกษา ๒๕๖4
รายวิชา
คะแนนเฉลี่ย
ปีการศึกษา
๒๕๖๒
ปีการศึกษา
๒๕๖๓
ปีการศึกษา
๒๕๖๔ คะแนนระดับชาติ เปรียบ
ภาษาไทย 56.19 ๕๔.๘๕ 64.41 50.38
คณิตศาสตร์ 41.88 ๑๗.๐๐ 55.38 36.83
วิทยาศาสตร์ 55.66 ๔๓.๖๗ 49.38 34.31
ภาษาอังกฤษ 52.50 ๓๘.๐๐ 67.19 39.22
คิดเป็ นร้อยละ 5๑.5๖ ๓๘.๓๘ 59.09 40.19
หมายเหตุ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
เป็ นปีที่การสอบโอเน็ตเป็ นไปด้วยความสมัครใจของนักเรียน
และเรียนออนไลน์ช่วงโควิดทาให้นักเรียนเรียนไม่ทัน
เลยอาจเป็ นผลให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีผลการสอบระดับชาติ
ไม่เป็ นที่พอใจ ซึ่งผ่านระดับชาติมีแค่วิชาเดียวคือวิชาวิทยาศาสตร์
๑.๓ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
รายวิชา
คะแนนเฉลี่ย
ปีการ
ศึกษา
๒๕๖๑
ปีการ
ศึกษา
๒๕๖๒
ปีการ
ศึกษา
๒๕๖๓
ปีการ
ศึกษา
๒๕๖4
คะแ
นน
ระดับ
ชาติ
เปรียบเทียบคะแ
นนระดับชาติ
~ ๕๐ ~
ภาษาไ
ทย 58.36
75.00 ๗๐.๘
๓
59.88 51.1
9
+8.69
คณิตศา
สตร์ 30.91
56.00 ๒๕.๓
๓
23.89 24.4
7
-0.58
วิทยาศา
สตร์ 42.55
29.00 ๓๕.๔
๐
38.39 31.4
5
+6.94
ภาษาอัง
กฤษ 27.82
32.00 ๓๔.๑
๗
34.72 31.1
1
+3.61
คิดเป็ น
ร้อยละ
๓๙.๗
๓
๔๘.๐
๐
๔๑.๔
๓
39.22 34.5
6
+4.66
๑.๔ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT)
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
รายวิชา
คะแนนเฉลี่ย
ปีการศึกษา
๒๕๖๑
ปีการศึกษา
๒๕๖๒
ปีการศึกษา
๒๕๖๓
ปีการศึกษา
๒๕๖4 คะแนน
ระดับชาติ เปร
ด้านภาษา ๖๕.๑๙ ๕๑.๒๗ ๕๒.๕๔ 70.27 56.14
ด้านคานวณ ๖๕.๑๙ ๕๘.๕๕ ๖๒.๐๐ 58.45 49.44
ด้านเหตุผล ๖๐.๕๑ - - - -
คิดเป็ นร้อยละ ๖๓.๖๓
๕๔.๙๑ ๕๗.๒๓ 64.36 52.80
๑.๕ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (RT)
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
รายวิชา
คะแนนเฉลี่ย
ปีการศึกษา
๒๕๖๑
ปีการศึกษา
๒๕๖๒
ปีการศึกษา
๒๕๖๓๓
คะแนน
ระดับชาติ เปรียบเทียบค
ด้านอ่านออกเสียง ๖๒.๓๑ ๘๓.๐๐ ๙๐.๔๐ ๖๖.๑๓ +๒
ด้านอ่านรู้เรื่อง ๖๖.๓๗ ๘๐.๓๓ ๘๔.๐๐ ๗๑.๒๔ +๑
คิดเป็ นร้อยละ ๖๔.๓๔ ๘๑.๖๖ ๘๗.๒๐ ๖๘.๖๙ +๑
๒. กลุ่มบริหารงบประมาณ
การบริหารงานเอกสาร บัญชี พัสดุ และการเงิน
ค่าสาธารณูปโภคของโรงเรียนมีความมีความสะดวกและรวดเร็วทางานให้
งานออกมามีประสิทธิภาพ
๓. กลุ่มบริหารงานบุคคล
~ ๕๑ ~
คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาได้เข้ารับการอบรมและพัฒนาต
นเองอย่างต่อเนื่อง
๔. กลุ่มบริหารงานทั่วไป
โรงเรียนมีบริบทที่น่าอยู่น่าเรียน
~ ๕๒ ~
ส่วนที่ ๒
ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑๓๔
ส่วนที่ ๒
ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑. วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าประสงค์ กลยุทธ์
ทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านอาเลา
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าประสงค์ระดับปฐมวัย
วิสัยทัศน์
โรงเรียนบ้านอาเลา
จัดการศึกษาให้ผู้เรียนระดับปฐมวัยให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
โดยเน้นให้มีร่างกายเจริญเติบโต มีสุขนิสัย สุขภาพจิตที่ดี มีคุณธรรม
คิดแก้ปัญหาและใช้ภาษาสื่อสารได้อย่างเหมาะสมตามวัย
และยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พันธกิจ
๑.ครูผู้สอนระดับปฐมวัย
จัดทาแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
เน้นพัฒนาการทั้งสี่ด้าน
๒. สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนทั้งสี่ด้าน
๓. จัดหาสื่อ แหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมและหลากหลาย
๔. เฝ้ าระวังดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหาร การแปรงฟัน
การดื่มนม อย่างสม่าเสมอ
๕. ปลูกฝังให้นักเรียน มีคูณธรรม
จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักการของ
ปฐมวัย
๖. มีการประเมินพัฒนาการผู้เรียนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ
ด้วยวิธีการและเครื่องมือที่
หลากหลาย
๗. ครูผู้สอนระดับปฐมวัยได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
๘. ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน บุคลากร ผู้ปกครองและชุมชน
เพื่อระดมความคิด
ทรัพยากรมาช่วยเหลือ
๙. ในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนพัฒนาหลักสูตรในร
ะดับปฐมวัย
เป้ าประสงค์
๑. ครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ดี
มีคุณภาพ
๒. โรงเรียนมีการจัดบรรยากาศการเรียนรู้อย่างเหมาะสม
ตามสภาพของท้องถิ่น
๓. โรงเรียนมีสื่อ และแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมและหลากหลาย
ผู้เรียนมีโอกาสได้เรียนรู้และสัมผัสจริง
๑๓๘
๔. ผู้เรียนระดับระดับปฐมวัยร้อยละ 95
มีสุขภาพดีเจริญเติบโตตามวัย
๕. เด็กปฐมวัยมีคุณธรรม จริยธรรมเหมาะสมกับวัย
๖. ผู้เรียนระดับปฐมวัยทุกคน ได้รับการประเมินพัฒนาการ
และนาผลการประเมินนั้น ไปปรับปรุงและพัฒนา
๗. ครูผู้สอนระดับปฐมวัย
เข้ารับการอบรมทุกครั้งที่มีการจัดการอบรมเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการจัด
การศึกษาปฐมวัย
๘. หน่วยงาน บุคลากร ผู้ปกครองและชุมชน
มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าประสงค์ระดับขั้นพื้นฐาน
วิสัยทัศน์
โรงเรียนบ้านอาเลาจัดการศึกษาให้ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาต
รฐาน
โดยเน้นการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมและยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี
ยง
พันธกิจ
๑.
ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการประกันโอกาสทางการศึกษา
๒. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
และมีคุณภาพตามมาตรฐาน
๓. ปลูกฝังผู้เรียนให้มีคุณธรรม
จริยธรรมและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๔. บริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เป้ าประสงค์
๑. ประชากรวัยเรียนทุกคน ทุกกลุ่ม
ได้รับโอกาสในการศึกษาตามสิทธิอย่างเท่าเทียมและทั่วถึงตามเอกัตภาพ
๒. ผู้เรียนทุกคนมีคุณธรรม จริยธรรม
ตามหลักศาสนาและวัฒนธรรม
๓.
ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
๔. ผู้บริหาร ครู
บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนทุกคนดาเนินชีวิตโดยใช้หลักเศรษฐกิจ
พอเพียง
กลยุทธ์โรงเรียน
กลยุทธ์ที่ ๑
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม
ความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
๑๓๘
กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝังคุณธรรม
ความสานึกในความเป็นชาติไทย
และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอพียง
กลยุทธ์ที่ ๓ ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม
ผู้เรียนได้รับโอกาสใน
การพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ
ให้สามารถจัดการเรียน
การสอนได้อย่างมีคุณภาพ
กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
ตามแนวการกระจายอานาจทางการศึกษาหลักธรรมมาภิบาล
เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่ว
นท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา
๒. เป้ าหมายและตัวชี้วัดความสาเร็จ
โรงเรียนบ้านอาเลา ได้กาหนดเป้ าหมายและตัวชี้วัดความสาเร็จ
จาแนกตามกลุ่มกลยุทธ์ของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
กลยุทธ์ที่ ๑
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม
ความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
ที่ เป้ าหมายความสาเร็จ
๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๕ กลุ่มสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้นร้อยละ ๓ ต่อปี
๒ ผู้เรียนที่มีปัญหาการอ่านการเขียนภาษาไทยต่ากว่าเกณฑ์ลดลงร้อยละ ๒
๓ นักเรียนมีความสารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ไม่น้อยกว่าร้อ
๘๕
กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทย
และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอพียง
ที่ เป้ าหมายความสาเร็จ
๑ ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีคุณธรรมจิตสานึกความเป็นไทย
๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าร้อ
๓ โรงเรียนทุกโรงจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม
ความสานึกความเป็ นชาติไทยและวิถีตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๑๓๘
๔ ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะการดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญาเศร
กลยุทธ์ที่ ๓ ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม
ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
ที่ เป้ าหมายความสาเร็จ
๑ ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๒ ผู้เรียนได้เรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานภายในกาหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐
๓ ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพ
๔ ผู้เรียนทุกคนได้รับการสนับสนุนการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับรายการค่าเ
หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ
กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ
ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ
ที่ เป้ าหมายความสาเร็จ
๑ ข้าราชการครูที่ได้รับการพัฒนา สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพไม่น้อยก
๒ ครูและบุคลากรทาการศึกษามีความพอใจในความมั่นคงของการประกอบวิชาชีพไ
๓ บุคลากรทางการศึกษาได้รับพัฒนาให้มีคุณภาพและสามารถปฏิบัติงานได้ตามมาต
๘๕
กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
ตามแนวการกระจายอานาจทางการศึกษาหลักธรรมมาภิบาล
เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่ว
นท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา
ที่ เป้ าหมายความสาเร็จ
๑ สถานศึกษาผ่านการรับรองมาตรฐาน จาน
แท
๒ สถานศึกษาทุกแห่งได้รับการนิเทศ
ติดตามช่วยเหลือการดาเนินงานให้มีคุณภาพ
จาน
ติด
๓ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ
๘๕
ร้อย
ขอ
๑๓๘
ส่วนที่ ๓
รายละเอียดแผนปฏิบัติการ
ประจาปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๕
๑๓๘
ส่วนที่ ๓
รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
สาระสาคัญของแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
โรงเรียนบ้านอาเลาได้นากลยุทธ์ของสานักงานคณะกรรมการการศึ
ก ษ า ขั้น พื้ น ฐ า น ม า ก า ห น ด เ ป็ น ม า ต ร ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร
ต า ม ง บ ป ร ะ ม า ณ ที่ ไ ด้ รั บ จั ด ส ร ร ก า ห น ด บ ท บ า ท
วิธีการและผู้รับผิดชอบในการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้ าประสงค์ ดังนี้
๑. การประมาณการรายรับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
๑.๑ การประมาณการเงินอุดหนุน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ (ข้อมูล ณ
๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๔)
ระดับ จานวน
นักเรีย
น
อัตรา
จัดสรร จานวนเ
งิน
กรณีนักเรียน
ต่ากว่า ๑๒๐
คน รวมเงิน
หมายเหตุ
อัตรา เงินเ
พิ่ม
๑. ก่อนประถม ๒๒ ๑,๗๐๐ ๓๗,๔๐
๐
- - ๓๗,๔๐
๐
๒. ประถม ๗๒ ๑,๙๐๐ ๑๓๖,๘
๐๐
- - ๑๓๖,๘
๐๐
๓. มัธยม ๓๖ ๓,๕๐๐ ๑๒๖,๐๐
๐
๑,๐๐
๐
๓๖,๐
๐๐
๑๖๒,๐
๐๐
๔. ปัจจัยพื้นฐาน
(ประถม) ๔๖ ๔๖,๐๐๐ ๔๖,๐๐๐ - - ๔๖,๐๐
๐
๕. ปัจจัยพื้นฐาน
(มัธยม) ๒๕ ๗๕,๐๐๐ - -
๑๓๘
๗๕,๐๐
๐
๗๕,๐๐
๐
๖.โครงการอาหารกล
างวัน
๙๔ ๒๐บาท/๒๐
๐วัน
๓๙๔,๘
๐๐
- - ๓๙๔,๘
๐๐
๘๕๒,๐๐
๐
๗. เงินโครงการเรียนฟรี๑๕ ปี
๗.๑ เงินเรียนฟรี ๑๕
ปี (ค่าหนังสือ)
๑๓๐ อบ.๒๐๐
ประถม(๖๕
๖,๖๕๐,๖๕
๓,
๗๐๗,๘๔๖,
๘๕๙)
มัธยม
(๘๐๘,๙๑๒
,๙๙๖)
๔,๔๐๐
๕๑,๙๑
๔
๒๙,๐๑
๗
- - ๘๕,๓๓
๑
๗.๒ เงินเรียนฟรี ๑๕
ปี
(ค่าอุปกรณ์การเรียน
)
๑๓๐ อบ. ๒๐๐
ประถม
๓๙๐
มัธยม ๔๒๐
๔,๔๐๐
๒๘,๐๘
๐
๑๖,๒๐๐
- - ๔๘,๖๘
๐
๗.๓ เงินเรียนฟรี ๑๕
ปี
(ค่าเครื่องแบบนักเรีย
น)
๑๓๐ อบ. ๓๐๐
ประถม
๓๖๐
มัธยม ๔๕๐
๖,๖๐๐
๒๕,๙๒
๐
๑๖,๒๐๐
- -
๔๘,๗๒
๐
๗.๔ เงินเรียนฟรี ๑๕
ปี
(ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เ
รียน)
๑๓๐ อบ. ๔๓๐
ประถม
๔๘๐
มัธยม ๘๘๐
๙,๔๖๐
๓๔,๕๖
๐
๓๑,๖๘
๐
- -
๗๕,๗๐
๐
๒๕๘,๔๓
๑
รวม ๑๓๐ ๑,๑๑๐,
๔๓๑
๑.๒ เงินงบประมาณยกมาจากปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จานวน
๖๙,๗๖๓.๐๑บาท จาแนกตามกลุ่มงานของโรงเรียน
ประเภทเงิน
บริหาร
งานวิชา
การ
บริหาร
งานบุคคล
บริหาร
งานงบประมา
ณ
บริหารทั่
วไป
สารอง
จ่าย รวมเงิน
หมายเ
หตุ
๑. เงินอุดหนุน
รายหัว
(ก่อนประถม)
- ๑,๖๐๐ - - - ๑,๖๐๐
๒. เงินอุดหนุน
รายหัว(ประถม) -
๑๕,๐๐๐
- - - ๑๕,๐๐๐
๓.เงินอุดหนุน
รายหัว(มัธยม) - ๑๑,๔๐๐ -
-
- ๔,๐๖
๐
๑๕,๔๖๐
๑๓๘
๔. เงินปัจจัย
พื้นฐาน
- - ๓๕๕ - - ๓๕๕
๕. เงินเรียนฟรี
๑๕ ปี
- - ๓๗,๓๓๔.๐๑ - - ๓๗,๓๓๔.
๐๑
๖.
เงินอาหารกลางวั
น
- - ๑๔ - - ๑๔
รวม - ๒๘,๐๐๐ ๓๗,๗๐๓.๐๑ - ๔,๐๖
๐
๖๙,๗๖๓.
๐๑
๑.๓ เงินงบประมาณ รวมทั้ง ๑ + ๒ เงินงบประมาณจากปีงบประมาณ
๒๕๖๕ จานวน ๑,๑๑๐,๔๓๑ บาท เงินงบประมาณปี งบประมาณ
๒๕๖๔ จานวน ๖๙,๗๖๓.๐๑บาท รวม ๑,๑๘๐,๑๙๔.๐๑ บาท
จัดสรรจาแนกตามกลุ่มงานของโรงเรียน ดังนี้
ประเภทเงิน บริหารง
านวิชาก
าร
บริหารงานบุ
คคล
บริหารงานง
บประมาณ
บริหารทั่
วไป
สารองจ่า
ย
รวมเงิน
๑.
เงินอุดหนุนรายหัว(
ก่อนประถม)
๒๓,๔๐
๐
๓,๙๐๐ ๑,๕๖๐ ๘,๑๙๐ ๑,๙๕๐ ๓๙,๐๐๐
๒.
เงินอุดหนุนรายหัว(
ประถม)
๙๑,๐๘
๐
๑๕,๑๘๐ ๖,๐๗๐ ๓๑,๘๘
๐
๗,๕๙๐ ๑๕๑,๘๐๐
๓เงินอุดหนุนรายหั
ว(มัธยม) ๑๐๖,๔
๘๐
๑๗,๗๒๐
๗,๑๒๐ ๓๗,๒๗
๐
๘,๘๗๐ ๑๗๗,๔๖๐
๔.เงินปัจจัยพื้นฐาน - - ๑๒๑,๓๕๕ - - ๑๒๑,๓๕๕
๕.เงินเรียนฟรี๑๕ปี - - ๒๙๕,๗๖๕.๐
๑
- - ๒๙๕,๗๖๕.๐๑
๖.เงินอาหารกลางวั
น - - ๓๙๔,๘๑๔ - - ๓๙๔,๘๑๔
รวม ๒๒๐,๙
๖๐ ๓๖,๘๐๐
๘๒๖,๖๘๔.๐
๑ ๗๗,๓๔๐ ๑๘,๔๑๐
๑๑๘๐,๑๙๔.๐๑
๒.หน้างบโครงการปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔
๑.กลุ่มบริหารงานวิชาการ จานวน ๒๒๐,๙๖๐.๐๐ บาท
คิดเป็นร้อยละ ๖๐
๒. กลุ่มบริหารงบประมาณ จานวน ๑๔,๗๕๐.๐๐ บาท
คิดเป็นร้อยละ ๔
๓. กลุ่มบริหารงานบุคคล จานวน ๓๖,๘๐๐.๐๐ บาท
คิดเป็นร้อยละ ๑๐
๔.กลุ่มบริหารงานทั่วไป จานวน ๗๗,๓๔๐.๐๐ บาท
คิดเป็นร้อยละ ๒๑
๕.งบสารองจ่ายอื่นๆ จานวน ๑๘,๔๑๐.๐๐ บาท
คิดเป็นร้อยละ ๕
๖.งบพัฒนาผู้เรียน จานวน ๙๗,๗๐๐.๐๐ บาท
๗.ปัจจัยพื้นฐาน จานวน ๑๒๑,๓๕๕.๐๐ บาท
๘.ค่าอุปกรณ์ จานวน ๔๗,๖๐๐.๐๐ บาท
๑๓๘
๙.ค่าหนังสือแบบเรียน จานวน ๙๒,๒๔๙.๐๐ บาท
๑๐.เครื่องแบบนักเรียน จานวน ๔๘,๗๒๐.๐๐ บาท
๑๑.อาหารกลางวัน จานวน ๓๙๔,๙๑๔.๐๐ บาท
๑๒.เงินกองทุนเพื่ออาหารกลางวัน จานวน ๑๓๗.๙๓ บาท
๑๓.งบทุนผลผลิตส่งเสริมอาหารฯ จานวน
๒๓๗.๖๗ บาท
๑๔.ทุน กศส.นักเรียนยากจนพิเศษ จานวน
๒๘๑.๕๙ บาท
๑๓๘
รายละเอียดโครงการ
๑. โครงการกลุ่มงานวิชาการ
๑.๑ โครงการระดับปฐมวัย
๑.๑.๑ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กระดับปฐมวัย
โครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กระดับปฐมวัย
แผนงบประมาณ บริหารวิชาการ
ผู้รับผิดชอบ นางอนงลักษณ์ เศรษฐศักดิ์อาพล/นางสุกัญญา
กะการดี
กลยุทธ์ที่ ๑
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและ
ส่งเสริมความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่องมือในการ
เรียนรู้
หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านอาเลา
ลักษณะของโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ระยะเวลาดาเนินงาน พฤษภาคม ๒๕๖๕ - มีนาคม ๒๕๖๖
--------------------------------------------------------------
------------------------------
๑.หลักการและเหตุผล
การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กอนุบาล
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรนั้น
องค์ประกอบที่สาคัญส่วนหนึ่งคือวัสดุการศึกษาที่จะใช้เป็ นเครื่องมือและเ
ป็นสื่อในการจัดประสบการณ์แก่เด็ก
ซึ่งต้องดาเนินงานให้ทันตามกาหนดเวลาที่จะใช้และเลือกซื้อให้สอดคล้อง
กับการจัดกิจกรรมสาหรับเด็ก จึงจะต้องมีการวางแผนล่วงหน้า
เพื่อให้มีวัสดุที่มีคุณภาพตามความต้องการที่จาเป็นต้องใช้ตลอดปีการศึกษ
า
๒.วัตถุประสงค์
๒.๑ เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงานประจาชั้นอนุบาล ๒-๓
๒.๒
เพื่อจัดหาวัสดุในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กอนุบาลในการเตรียมค
วามพร้อม
๓. เป้ าหมาย
๓.๑ เชิงปริมาณ
๓.๑.๑. มีแบบบันทึกงานธุรการประจาชั้นอนุบาล ๒-๓
ที่เพียงพอ
๑๓๘
๓.๑.๒. มีวัสดุที่ใช้ในการจัดประสบการณ์แก่เด็กชั้นอนุบาล
๒ – ๓ที่เหมาะสม
๓.๒ เชิงคุณภาพ
๓.๒.๑. งานธุรการห้องเรียนเป็นไปอย่างมีระบบ
๓.๒.๒.
นักเรียนได้รับการพัฒนาด้านประสบการณ์อย่างเต็มศักยภาพ
๔. กิจกรรมและรายละเอียดการใช้งบประมาณงบประมาณ ๑๒,๖๐๐ บาท
กิจกรรมและรายละเอียด งบประมาณจาแนกตามหมวดรายจ่
าย
ระยะเวลา
การใช้งบประมาณ ค่าตอบ
แทน
ค่าใช้
สอย
ค่าวัสดุ รายจ่า
ยอื่น
ปฏิบัติ
๑. เสนอขออนุมัติ
๒. วางแผนการดาเนินงาน
๓. ดาเนินการตามแผน
๔. สรุปรายงานผล
๑๒,๖๐
๐
พ.ค.๒๕๖
๕
พ.ค.๒๕๖
๕
พ.ค.๒๕๖
๕
มี.ค.๒๕๖๖
รวมทั้งสิ้น ๑๒,๖๐
๐
๕. การวัดและประเมินผล
ตัวบ่งชี้ /
สภาพความสาเร็จ
วิธีการวัดและประเมิน
ผล
เครื่องมือที่ใช้วัด
๑.มีแบบบันทึกงานธุรการ
๒.มีวัสดุอุปกรณ์ในการส่งเ
สริมพัฒนาการนักเรียน
๑.สารวจ
๑.สารวจ
๑.แบบสารวจ
๑.แบบสารวจ
๖. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๖.๑. ครูประจาชั้นมีบันทึกงานธุรการประจาชั้นอนุบาล ๒ – ๓
๑๓๘
๖.๒. ครูผู้สอนมีวัสดุอุปกรณ์ในการส่งเสริมพัฒนาการนักเรียน
๖.๓. นักเรียนได้รับการส่งเสริมพัฒนาการอย่างมีประสิทธิภาพ
........................................................................................
.
๑.๑.๒ โครงการประกันคุณภาพภายในระดับปฐมวัย
โครงการ ประกันคุณภาพภายในระดับปฐมวัย
แผนงาน งานวิชาการ
ผู้รับผิดชอบ นางอนงลักษณ์ เศรษฐศักดิ์อาพล/นางสุกัญญา กะการดี
กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตาม
แนวการกระจายอานาจ
ทางการศึกษาหลักธรรมมาภิบาล
เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
และความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา
หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านอาเลา
ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง
ระยะเวลา พฤษภาคม ๒๕๖๕ - มีนาคม ๒๕๖๖
๑.หลักการและเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๖ มาตรา
๔๘กาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาโดยให้สถานศึกษาทุกแห่งจั
ดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเ
ป็ นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องมีการจัดทารา
๑๓๘
ยงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อส
าธารณชนเพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนดเพื่อ
รองรับการประเมินภายนอกจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษาโดยสถานศึกษาทุกแห่งต้องรับการประเมินภายนอกจากสานักงานรับ
รองมาตรฐานฯ อย่างน้อย ๑ ครั้งในทุกระยะ ๕ ปี
โรงเรียนเห็นความสาคัญดังกล่าวจึงจัดทาโครงการส่งเสริมการประกันคุ
ณภาพภายในขึ้นเพื่อให้การบริหารและจัดการภายในโรงเรียนเป็ นไปอย่างมีปร
ะสิทธิภาพ
๒.วัตถุประสงค์
๒.๑
เพื่อตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏิบัติงานของโรงเรียนตามมาตรฐานคุณ
ภาพการศึกษา
๒.๒
เพื่อนาผลการประเมินมาจักทาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวข้องกับคุณภาพการจัดกา
รศึกษาของโรงเรียน
และนามาใช้ในการตัดสินใจวางแผนพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของ
โรงเรียน
๒.๓
เพื่อรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนต่อหน่วยงา
นที่เกี่ยวข้อง
และต่อสาธารณชน
๒.๔
เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินจากองค์กรภายนอกเพื่อนาไปสู่
การรับรองคุณภาพ
๓. เป้ าหมาย
๓.๑ เชิงปริมาณ
๓.๑.๑.
นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนดอย่าง
ต่อเนื่อง
ตลอดเวลา
๓.๑.๒. จัดทารายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาประจาปี
๓.๒ เชิงคุณภาพ
๓.๒.๑. โรงเรียนมีระบบการควบคุมคุณภาพการศึกษา
๓.๒.๒. โรงเรียนมีระบบการประเมินคุณภาพการศึกษา
๓.๒.๓. โรงเรียนมีมาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา สมศ.
๔. กิจกรรมและรายละเอียดการใช้งบประมาณงบประมาณ ๕๐๐ บาท
กิจกรรมและรายละเอียด งบประมาณจาแนกตามหมวดรายจ่าย ระยะเวลา
๑๓๘
การใช้งบประมาณ ค่าตอบ
แทน
ค่าใช้ส
อย
ค่าวัสดุ รายจ่า
ยอื่น
ปฏิบัติ
๑.ประชุมฝ่ายวิชาการเพื่อ
ปรึกษาหารือการจัดทาโคร
งการ
๒.เสนอโครงการเพื่อขออนุ
มัติ
๓.
ประชุมบุคลากรและผู้เกี่ยว
ข้องเพื่อดาเนินงานเพื่อพั
ฒนาคุณภาพการศึกษาตา
มแนวประกันคุณภาพ
๔.แต่งตั้งคณะทางานจัดทา
รายงานประจาปี
๕.จัดทารายงานประจาปี
(SAR)
๕.ประเมินผลโครงการและ
รายงาน
๕๐๐
พ.ค.๒๕๖๕
พ.ค. ๒๕๖๕
พ.ค.๒๕๖๕ –
มี.ค.๒๕๖๖
มี.ค. ๒๕๖๖
มี.ค.๒๕๖๖
มี.ค. ๒๕๖๖
รวมทั้งสิ้น ๕๐๐
๕. การประเมินผล
ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ วิธีการ เครื่องมือ
๑.
นักเรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพต
ามเกณฑ์
๒. บุคลากรได้ทราบความก้าวหน้า
๓. รายงานประจาปี
๑.
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรีย
น
๒.
ผลการรายงานตนเอง
๓. สารวจ
๑. แบบสารวจ
๒. แบบสารวจ
๓. แบบสารวจ
๖.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๖.๑. โรงเรียนมีระบบการประกันคุณภาพภายในที่ได้มาตรฐาน
๖.๒.
การบริหารและจัดการภายในโรงเรียนสอดคล้องกับมาตรฐานของหน่วยงาน
ทางการศึกษา
๖.๓.
โรงเรียนได้รับการรับรองรับจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณ
ภาพการศึกษา
๑๓๘
………………………………………………
๑.๑.๓ โครงการส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมบ้านวิทยาศาสตร์น้อย
งาน/โครงการ
ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมบ้านวิทยาศาสตร์น้อย
แผนงบประมาณ บริหารวิชาการ
กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุก
ระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม
สามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่องมือในการเรียนรู้
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอนงลักษณ์ เศรษฐศักดิ์อาพล/นางสุกัญญา
กะการดี
หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านอาเลา
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ระยะเวลาดาเนินงาน พฤษภาคม ๒๕๖๕- มีนาคม ๒๕๖๖
๑. หลักการและเหตุผล
วิทยาศาสตร์มีความจาเป็ นต่อการดารงชีวิตในประจาวันของมนุษย์
การนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในทางที่ถูกต้องและเหมาะสมจะช่วยใ
ห้เกิดการพัฒนาความคิดให้เป็ นคนที่มีเหตุผล มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
รู้ จัก ก า ร คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ส า ม า ร ถ แ ก้ ปั ญ ห า ต่ า ง ๆ ไ ด้
ท า ง โ ร ง เ รี ย น บ้ า น อ า เ ล า
ได้ตระหนักถึงความสาคัญของวิทยาศาสตร์ต่อการพัฒนานักเรียนระดับป
ฐมวัยโดยเฉพาะด้านสติปัญญา ที่เป็ นช่วงวัยแห่งการเรียนรู้
การอยากรู้อยากเห็น อยากทดลอง วัยแห่งการตั้งคาถามสงสัยใคร่รู้สิ่งต่าง
ๆ
รอบตัว เพื่อเป็ นการพัฒนานักเรียนให้รู้จักตั้งคาถามอย่างมีเหตุมีผลใช้
ทั ก ษ ะ ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ วั ย
รู้จักใช้ภาษาที่เหมาะสมกับวัยเกิดจินตนาการความคิดสร้างสรรค์
แ ล ะ ใ ช้ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ไ ด้ อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ
ทางโรงเรียนบ้านอาเลาจึงจัดทาโครงการ บ้านนักวิทยาศาสตร์นี้ขึ้น
๒. วัตถุประสงค์
๑.นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาที่เหมาะสมกับวัย
๒.นักเรียนตั้งคาถามในเรื่องที่สนใจได้อย่างเหมาะสม
๑๓๘
๓.นักเรียนใช้จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ในทางที่เหมาะส
ม
๔.นักเรียนใช้ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาและคิดสร้างสรรค์องค์ความรู้
๓. เป้ าหมาย
๓.๑ เชิงปริมาณ
๑. นักเรียนร้อยละ ๙๐ มีทักษะในการใช้ภาษาที่เหมาะสมตามวัย
๒.นักเรียนร้อยละ ๙๐
ตั้งคาถามในเรื่องที่สนใจได้อย่างเหมาะสมตามวัย
๓.นักเรียนร้อยละ ๙๐
ใช้จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ในทางที่เหมาะสม
๔.นักเรียนร้อยละ ๙๐ ใช้กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาและคิดสร้างสรรค์องค์ความรู้
๓.๒ เชิงคุณภาพ
๑ .นักเรียนชั้นอนุบาล
ได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยตนเอง
๒.นักเรียนได้รู้จักใช้จินตนาการในการสร้างชิ้นงานด้วยตนเอง
๓.นักเรียนสามารถตั้งคาถามในเรื่องที่ตนเองสนใจได้
๔.นักเรียนรู้จักการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาและตัดสินใจได้ตามวัย
๔. กิจกรรมและรายละเอียดการใช้งบประมาณงบประมาณ ๓,๐๐๐ บาท
กิจกรรมและรายละเอียด
การใช้งบประมาณ
งบประมาณจาแนกตามหมวดรายจ่าย ระยะเวลา
ปฏิบัติ
ค่าตอบ
แทน
ค่าใช้สอ
ย
ค่าวัสดุ รายจ่า
ยอื่น
๑.
เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
๒. แต่งตั้งคณะทางาน
๓.
ดาเนินการจัดกิจกรรมต่อไปนี้
-
จัดกิจกรรมบ้านวิทยาศาสตร์น้
อย
๔. นิเทศ กากับ ติดตาม
๕. สรุป ประเมินผล
และรายงาน
-
๓,๐๐๐
- พ.ค.๒๕๖๕
พ.ค.๒๕๖๕
ส.ค.๒๕๖๕
-
ธ.ค. ๒๕๖๕
ธ.ค. ๒๕๖๕
มี.ค. ๒๕๖๖
๑๓๘
รวมทั้งสิ้น - ๓,๐๐๐ -
๕. การวัดและการประเมินผล
ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ
วิธีการวัดและประเ
มินผล
เครื่องมือ
๑.ร้อยละของนักเรียนที่ตั้งคาถามในเรื่องที่ส
นใจได้อย่างเหมาะสมตามวัย
๒.ร้อยละของนักเรียนที่ใช้จินตนาการและค
วามคิดสร้างสรรค์ในทางที่เหมาะสม
๓.ร้อยละของนักเรียนที่ใช้กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาและคิดสร้าง
สรรค์องค์ความรู้
๑. สารวจ
๒. สารวจ
๓. สารวจ
๑.
แบบสารวจ
๒.
แบบสารวจ
๓.
แบบสารวจ
๖. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาที่เหมาะสมกับวัย
๒.นักเรียนตั้งคาถามในเรื่องที่สมใจได้อย่างเหมาะสม
๓.นักเรียนใช้จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ในทางที่เหมาะสม
๔.นักเรียนใช้กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาและคิดสร้างสรรค์องค์ความรู้
๑.๑.๔ โครงการปฐมวัยน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการ ปฐมวัยน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แผนงาน กลุ่มงานบริหารวิชาการ
ผู้รับผิดชอบ นางอนงลักษณ์ เศรษฐศักดิ์อาพล / นางสุกัญญา
กะการดี
กลยุทธ์ที่ ๑
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม
ความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่องมือในการเรียนรู้
๑๓๘
หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านอาเลา
ลักษณะโครงการ ใหม่
ระยะเวลา พฤษภาคม ๒๕๖๕ - มีนาคม ๒๕๖๖
๑. หลักการและเหตุผล
เศรษฐกิจพอเพียง
เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางกา
รดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย
ให้มีการพัฒนาตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท
โดยยึดหลักตามแนวทางสามห่วงคือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล
การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้สองเงื่อนไข คือ ความรู้
ความรอบคอบ และคุณธรรมมาประกอบการวางแผน การตัดสินใจ
และการกระทาต่างๆที่ต้องยึดหลักการดังกล่าว
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศนโยบายเร่งรัดการปฏิรูปการศึกษา
โดยให้ผู้เรียนมีความรู้ควบคู่คุณธรรม
สร้างความตระหนักสานึกในคุณค่าของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนจึงได้เล็งเห็นถึงความสาคัญการพัฒนาผู้เรียนปฐมวัยให้มีความรู้ความ
เข้าใจพื้นฐาน
ผ่านประสบการณ์กิจกรรมที่หลากหลายและส่งเสริมความคิดรวบยอดที่ให้ผู้เรีย
นมีค่านิยมในการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียงขั้นพื้นฐานที่สามารถฝึกปฏิบัติได้ต
ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จึงมีความจาเป็ นที่จะต้องดาเนินงานโครงการนี้
๒. วัตถุประสงค์
๒.๑.
เพื่อให้นักเรียนนาแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวั
นได้ตามศักยภาพเหมาะสมตามวัย
๒.๒. เพื่อสร้างความภาคภูมิใจในคุณค่าของวัฒนธรรม ค่านิยม
เอกลักษณ์ความเป็ นไทย อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รู้จักแบ่งปัน
ไม่เบียดเบียนผู้อื่น
๒.๓. เพื่อให้นักเรียนมีวิธีประหยัดรู้จักการอดออม รู้จักใช้วัสดุ สิ่งของ
ทรัพยากรอย่างพอเพียง
๒.๔ เพื่อให้นักเรียนมีความตระหนัก มีจิตสานึก
รักธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๓. เป้ าหมาย
๓. ๑ เชิงปริมาณ
๓.๑.๑. นักเรียนชั้นอนุบาล ๒ , ๓ ร้อยละ ๙๕
เข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงขั้นพื้นฐาน
สามารถนาไปปรับใช้ดารงตนในชีวิตประจาวันได้เหมาะสมตามวัย
๓.๑.๒. นักเรียนชั้นอนุบาล ๒ , ๓ ร้อยละ ๙๕ รักธรรมชาติ
ใช้ทรัพยากรคุ้มค่า สามารถประหยัดอดออม ในเบื้องต้นตามศักยภาพ
๑๓๘
๓.๒ เชิงคุณภาพ
๓.๒.๑.
ครูทุกคนน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้สอดแทรกในการจัดป
ระสบการณ์ให้กับนักเรียนทุกหน่วยการเรียนรู้
๓.๒.๒. นักเรียนทุกคน
มีความรู้ความเข้าใจในการดาเนินชีวิตแบบพอเพียงขั้นพื้นฐานเหมาะสมตามวัย
๔. กิจกรรมและรายละเอียดการใช้งบประมาณงบประมาณ - บาท
กิจกรรมและรายละเอียด
การใช้งบประมาณ
งบประมาณจาแนกตามหมวดรายจ่าย ระยะเวลา
ปฏิบัติ
ค่าตอบ
แทน
ค่าใช้ส
อย
ค่าวัสดุ รายจ่าย
อื่น
๑. เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
๒.ประชุมชี้แจง
ครูและผู้ปกครองสร้างความ
ตระหนักแก่บุคลากรในโรงเรี
ยน
๓.แต่งตั้งคณะทางาน
๔.
ดาเนินกิจกรรมตามโครงการ
ดังนี้
๔.๑
จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการ
ดาเนินกิจกรรม
๔.๒
จัดกิจกรรมดาเนินงานตามโ
ครงการที่กาหนดไว้
๕. นิเทศ กากับ ติดตาม
๖. สรุป ประเมินผล รายงาน
- - - - พ.ค.๒๕๖๕
พ.ค.๒๕๖๕
พ.ค.๒๕๖๕
พ.ค.๒๕๖๕
มิ.ย. ๒๕๖๕
มิ.ย. ๒๕๖๕
มี.ค. ๒๕๖๖
มี.ค. ๒๕๖๖
รวมทั้งสิ้น - - - -
๕. การประเมินผล
ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ วิธีการ เครื่องมือ
๑๓๘
๑.
นักเรียนน้อมนาหลักปรัชญาของเศร
ษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ได้ตามศักยภาพเหมาะสมตามวัย
๒.
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
การเกษตรและเป็นพื้นฐานในการปร
ะกอบอาชีพดารงตนอย่างพอเพียงใน
อนาคต
๓.
นักเรียนมีวิธีประหยัดรู้จักการอดออ
ม
และใช้ทรัพยากรที่มีให้คุ้มค่าเกิดประ
โยชน์
๔. ครูผู้สอนออกแบบการเรียนรู้
โดยสอดแทรกความรู้ความเข้าใจหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และจัดประสบการณ์ตามแผนจัดประ
สบการณ์ประจาสัปดาห์ทุกหน่วยการ
เรียนรู้
๑. สังเกต
๒. สัมภาษณ์
๓.การออม
๔.บันทึกหลังสอ
น
๑. แบบสังเกต
๒. แบบสัมภาษณ์
๓.สมุดบันทึกการออม
๔.แผนการจัดประสบก
ารณ์เรื่องเศรษฐกิจพอเ
พียง
๖. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๖.๑. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักเศรษฐกิจพอเพียง
๖.๒. นักเรียนรู้วิธีการออมและมีเงินออมในสมุดบันทึกการออมทุกคน
..................................................................................................................
...............
๑.๑.๕ โครงการหนูน้อยพอเพียง
โครงการ หนูน้อยพอเพียง
แผนงาน กลุ่มงานบริหารวิชาการ
ผู้รับผิดชอบ นางอนงลักษณ์ เศรษฐศักดิ์อาพล / นางสุกัญญา
กะการดี
กลยุทธ์ที่ ๑
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม
ความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่องมือในการเรียนรู้
หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านอาเลา
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx

More Related Content

Similar to แผนปฏิบัติการปี 65.docx

พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรEsarnee
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรEsarnee
 
พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1Esarnee
 
Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗
Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗
Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗Nadeewittaya School
 
Sar ปีการศึกษา 2554
Sar ปีการศึกษา 2554Sar ปีการศึกษา 2554
Sar ปีการศึกษา 2554Wangtachuay
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓weskaew yodmongkol
 
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์Ozzy Ozone
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong14
 
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63Watcharasak Chantong
 
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีSAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีcomed
 
การศึกษาของประเทศจีน
การศึกษาของประเทศจีนการศึกษาของประเทศจีน
การศึกษาของประเทศจีนwongsrida
 
แผ่นพับรับนร56.doc
แผ่นพับรับนร56.doc แผ่นพับรับนร56.doc
แผ่นพับรับนร56.doc KruPor Sirirat Namthai
 
ประกาศโรงเรียนสังขะ เรื่อง รับสมัครเรียนต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ห้องเรี...
ประกาศโรงเรียนสังขะ เรื่อง รับสมัครเรียนต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ห้องเรี...ประกาศโรงเรียนสังขะ เรื่อง รับสมัครเรียนต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ห้องเรี...
ประกาศโรงเรียนสังขะ เรื่อง รับสมัครเรียนต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ห้องเรี...สังขะ สุรินทร์
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี นายจักราวุธ คำทวี
 

Similar to แผนปฏิบัติการปี 65.docx (20)

พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1
 
ข้อมูลพื้นฐาน1
ข้อมูลพื้นฐาน1ข้อมูลพื้นฐาน1
ข้อมูลพื้นฐาน1
 
Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗
Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗
Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗
 
Sar ปีการศึกษา 2554
Sar ปีการศึกษา 2554Sar ปีการศึกษา 2554
Sar ปีการศึกษา 2554
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓
 
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
 
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีSAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
 
การศึกษาของประเทศจีน
การศึกษาของประเทศจีนการศึกษาของประเทศจีน
การศึกษาของประเทศจีน
 
แผ่นพับรับนร56.doc
แผ่นพับรับนร56.doc แผ่นพับรับนร56.doc
แผ่นพับรับนร56.doc
 
Pranitee present tahoma
Pranitee present tahomaPranitee present tahoma
Pranitee present tahoma
 
ประกาศโรงเรียนสังขะ เรื่อง รับสมัครเรียนต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ห้องเรี...
ประกาศโรงเรียนสังขะ เรื่อง รับสมัครเรียนต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ห้องเรี...ประกาศโรงเรียนสังขะ เรื่อง รับสมัครเรียนต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ห้องเรี...
ประกาศโรงเรียนสังขะ เรื่อง รับสมัครเรียนต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ห้องเรี...
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
โรงเรียนอนุบาลสงขลา
โรงเรียนอนุบาลสงขลาโรงเรียนอนุบาลสงขลา
โรงเรียนอนุบาลสงขลา
 
โรงเรียนอนุบาลสงขลา
โรงเรียนอนุบาลสงขลาโรงเรียนอนุบาลสงขลา
โรงเรียนอนุบาลสงขลา
 

More from aucharapon theemcle

แบบฝึกทบทวนคำศัพท์ภาษาอังกฤษหมวดผลไม้
แบบฝึกทบทวนคำศัพท์ภาษาอังกฤษหมวดผลไม้แบบฝึกทบทวนคำศัพท์ภาษาอังกฤษหมวดผลไม้
แบบฝึกทบทวนคำศัพท์ภาษาอังกฤษหมวดผลไม้aucharapon theemcle
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารaucharapon theemcle
 
งานนำเสนอโรงเรียนบ้านอาเลา
งานนำเสนอโรงเรียนบ้านอาเลางานนำเสนอโรงเรียนบ้านอาเลา
งานนำเสนอโรงเรียนบ้านอาเลาaucharapon theemcle
 
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscapeเปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscapeaucharapon theemcle
 
Trend ใหม่คนบ้านทุ่ง
Trend ใหม่คนบ้านทุ่งTrend ใหม่คนบ้านทุ่ง
Trend ใหม่คนบ้านทุ่งaucharapon theemcle
 
ภารกิจแก้เซ็งในวันหยุด
ภารกิจแก้เซ็งในวันหยุดภารกิจแก้เซ็งในวันหยุด
ภารกิจแก้เซ็งในวันหยุดaucharapon theemcle
 
การตั้งค่าการ reset เครื่องพิมพ์ samsung ml1640
การตั้งค่าการ reset เครื่องพิมพ์ samsung ml1640การตั้งค่าการ reset เครื่องพิมพ์ samsung ml1640
การตั้งค่าการ reset เครื่องพิมพ์ samsung ml1640aucharapon theemcle
 
จับภาพลงเวบบอร์ดให้ง่าย
จับภาพลงเวบบอร์ดให้ง่ายจับภาพลงเวบบอร์ดให้ง่าย
จับภาพลงเวบบอร์ดให้ง่ายaucharapon theemcle
 
ภาพเคลื่อนไหวด้วย photoscape
ภาพเคลื่อนไหวด้วย photoscapeภาพเคลื่อนไหวด้วย photoscape
ภาพเคลื่อนไหวด้วย photoscapeaucharapon theemcle
 
ใส่ลายน้ำให้รูปภาพใน Blogspot
ใส่ลายน้ำให้รูปภาพใน Blogspotใส่ลายน้ำให้รูปภาพใน Blogspot
ใส่ลายน้ำให้รูปภาพใน Blogspotaucharapon theemcle
 
การใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตร
การใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตรการใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตร
การใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตรaucharapon theemcle
 
ลายเซ็นในอีเมล์
ลายเซ็นในอีเมล์ลายเซ็นในอีเมล์
ลายเซ็นในอีเมล์aucharapon theemcle
 
โปรแกรมช่วยเตือนความจำ
โปรแกรมช่วยเตือนความจำโปรแกรมช่วยเตือนความจำ
โปรแกรมช่วยเตือนความจำaucharapon theemcle
 
การแปลงไฟล์วีดีโอด้วย Realplayer
การแปลงไฟล์วีดีโอด้วย Realplayerการแปลงไฟล์วีดีโอด้วย Realplayer
การแปลงไฟล์วีดีโอด้วย Realplayeraucharapon theemcle
 
โปรแกรมทำ banner
โปรแกรมทำ banner โปรแกรมทำ banner
โปรแกรมทำ banner aucharapon theemcle
 

More from aucharapon theemcle (20)

ปกที่68 (1).pptx
ปกที่68 (1).pptxปกที่68 (1).pptx
ปกที่68 (1).pptx
 
แบบฝึกทบทวนคำศัพท์ภาษาอังกฤษหมวดผลไม้
แบบฝึกทบทวนคำศัพท์ภาษาอังกฤษหมวดผลไม้แบบฝึกทบทวนคำศัพท์ภาษาอังกฤษหมวดผลไม้
แบบฝึกทบทวนคำศัพท์ภาษาอังกฤษหมวดผลไม้
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
งานนำเสนอโรงเรียนบ้านอาเลา
งานนำเสนอโรงเรียนบ้านอาเลางานนำเสนอโรงเรียนบ้านอาเลา
งานนำเสนอโรงเรียนบ้านอาเลา
 
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscapeเปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
 
Trend ใหม่คนบ้านทุ่ง
Trend ใหม่คนบ้านทุ่งTrend ใหม่คนบ้านทุ่ง
Trend ใหม่คนบ้านทุ่ง
 
ภารกิจแก้เซ็งในวันหยุด
ภารกิจแก้เซ็งในวันหยุดภารกิจแก้เซ็งในวันหยุด
ภารกิจแก้เซ็งในวันหยุด
 
การตั้งค่าการ reset เครื่องพิมพ์ samsung ml1640
การตั้งค่าการ reset เครื่องพิมพ์ samsung ml1640การตั้งค่าการ reset เครื่องพิมพ์ samsung ml1640
การตั้งค่าการ reset เครื่องพิมพ์ samsung ml1640
 
จับภาพลงเวบบอร์ดให้ง่าย
จับภาพลงเวบบอร์ดให้ง่ายจับภาพลงเวบบอร์ดให้ง่าย
จับภาพลงเวบบอร์ดให้ง่าย
 
ภาพเคลื่อนไหวด้วย photoscape
ภาพเคลื่อนไหวด้วย photoscapeภาพเคลื่อนไหวด้วย photoscape
ภาพเคลื่อนไหวด้วย photoscape
 
อ่านเมล์ให
อ่านเมล์ใหอ่านเมล์ให
อ่านเมล์ให
 
flash jigsaw
flash jigsawflash jigsaw
flash jigsaw
 
ใส่ลายน้ำให้รูปภาพใน Blogspot
ใส่ลายน้ำให้รูปภาพใน Blogspotใส่ลายน้ำให้รูปภาพใน Blogspot
ใส่ลายน้ำให้รูปภาพใน Blogspot
 
การใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตร
การใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตรการใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตร
การใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตร
 
ลายเซ็นในอีเมล์
ลายเซ็นในอีเมล์ลายเซ็นในอีเมล์
ลายเซ็นในอีเมล์
 
Goolge 1 plus in blogger
Goolge 1 plus in bloggerGoolge 1 plus in blogger
Goolge 1 plus in blogger
 
โปรแกรมช่วยเตือนความจำ
โปรแกรมช่วยเตือนความจำโปรแกรมช่วยเตือนความจำ
โปรแกรมช่วยเตือนความจำ
 
การแปลงไฟล์วีดีโอด้วย Realplayer
การแปลงไฟล์วีดีโอด้วย Realplayerการแปลงไฟล์วีดีโอด้วย Realplayer
การแปลงไฟล์วีดีโอด้วย Realplayer
 
โปรแกรมทำ banner
โปรแกรมทำ banner โปรแกรมทำ banner
โปรแกรมทำ banner
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 

แผนปฏิบัติการปี 65.docx

  • 2. ~ ๓๒ ~ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน โรงเรียนบ้านอาเลาเป็ นหน่วยงานภาครัฐสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า สุ ริ น ท ร์ เ ข ต ๒ มีหน้าที่จัดการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพและ ม า ต ร ฐ า น เ ท่ า เ ที ย ม กั น โดยมีปริมาณงานผลการดาเนินงานและแนวทางการพัฒนา ดังนี้ ๑. ข้อมูลทั่วไป ประวัติและความเป็นมาโรงเรียนบ้านอาเลา โรงเรียนบ้านอาเลาเดิมเป็ นโรงเรียนประชาบาลตาบลสนม ได้รับการก่อตั้งเมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๔๘๒ เดิมอาศัยกุฏิวัดบ้านอาเลา (วัดอารีราษฎร์วราราม) เป็ นที่เรียนโดยครั้งแรกมีครู ๒ คนคือนายเสาร์ วงศ์ฉลาด เป็นครูใหญ่ ซึ่งขณะนั้นมีนักเรียน จานวน ๗๙ คน เป็นชาย ๓ ๒ ค น ห ญิ ง ๔ ๓ ค น เ ปิ ด ท า ก า ร ส อ น ค รั้ ง แ ร ก ไ ด้ รั บ เ งิ น ส นั บ ส นุ น จ า ก ป ร ะ ช า บ า ล ต า บ ล ส น ม และปัจจุบันได้ขยับขยายมาอยู่ที่ดินสาธารณะที่ประชาชนสงวนไว้เป็ นสนา มกีฬา ซึ่งเดิมสถานที่แห่งนี้เป็ นสถานที่ฝังศพ หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า ป่ าช้า โดยได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและชาวบ้าน บ้านอาเลา แ ล ะ บ้ า น หั ว เ สื อ ช่วยกันสร้างอาคารเรียนเป็ นเอกเทศโดยใช้ไม้ทุบเปลือกไม้มุงหลังคา และย้ายมาเรียนในวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๑๒ บนเนื้อที่ ๒๕ ไร่ ๒ งาน ให้ชื่อว่าโรงเรียนบ้านอาเลา จนถึงปัจจุบัน ปั จ จุ บั น โ ร ง เ รี ย น บ้ า น อ า เ ล า เป็ นโรงเรียนในโครงการขยายโอกาส ทางการศึกษาเปิ ดสอน ๓ ร ะ ดับ คื อ ตั้ ง แ ต่ ร ะ ดับ ก่ อ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า และมัธยมศึกษาตอนต้น มีข้าราชการครูทั้งหมด ๑๕ คน พนักงานราชการ ๑ คน นักการภารโรง ๑ คน และธุรการ ๑ คน เป็ นโรงเรียนขนาดกลาง มีนักเรียนทั้งหมด ๑๒๗ คน ผู้บริหารคือ นางสิทธิสินี สอนเลิศ ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน ใ น ปั จ จุ บัน อ า ค า ร เ รี ย น แ ล ะ อ า ค า ร ป ร ะ ก อ บ ดังนี้โรงเรียนมีอาคารทั้งสิ้นจานวน ๓ หลัง แบ่งเป็ นอาคารเรียน ๓ หลัง ห้องปฏิบัติการทางภาษา ๑ ห้อง ห้องทดลองวิทยาศาสตร์ ๑ ห้อง ห้องสมุด ๑ ห้อง ห้องพยาบาล ๑ ห้อง โรงเรียนตั้งอยู่ห่างจากชุมชนประมาณ ๓๐๐ เมตร สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็ นชุมชนชนบททั่วๆไป บ ริ เ ว ณ ใ ก ล้ เ คี ย ง โ ด ย ร อ บ โ ร ง เ รี ย น ทิ ศ เ ห นื อ มี ส า นัก ส ง ฆ์ ตั้ ง อ ยู่ ห่ า ง จ า ก โ ร ง เ รี ย น ป ร ะ ม า ณ ๑ ๐ ๐ เ ม ต ร
  • 3. ~ ๓๓ ~ ทิศตะวันออกห่างจากโรงเรียนประมาณ ๒๐๐ เมตรเป็ นที่ตั้งหมู่บ้านอาเลา ทิศใต้เป็ นที่ตั้งหมู่บ้านหัวเสือ และทิศตะวันตกห่างจากโรงเรียนประมาณ ๑ , ๕ ๐ ๐ เ ม ต ร เ ป็ น ที่ ตั้ ง ข อ ง ห มู่ บ้ า น อ า เ ย า ะ จานวนประชากรที่อยู่ในเขตบริการของโรงเรียนมีจานวน ๙๗๕ คน อ า ชี พ ห ลั ก ข อ ง ชุ ม ช น คื อ ท า น า เนื่องจากพื้นที่เป็ นที่ราบสูงและมีสภาพแห้งแล้ง น้าใต้ดิน มีน้อย ห น้ า แ ล้ ง จึ ง ไ ม่ เ ห ม า ะ ต่ อ ก า ร เ พ า ะ ป ลู ก เมื่อเสร็จจากฤดูทานาประชาชนส่วนใหญ่จะไปประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป ที่ ก รุ ง เ ท พ ฯ แ ล ะ ต่ า ง จั ง ห วั ด ด้ า น ก า ร นั บ ถื อ ศ า ส น า ส่ ว น ใ ห ญ่ นั บ ถื อ ศ า ส น า พุ ท ธ ป ร ะ เ พ ณี วั ฒ น ธ ร ร ม ท้ อ ง ถิ่ น ที่ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก โ ด ย ทั่ ว ไ ป คื อ ประเพณีทาบุญวันสาคัญทางศาสนา ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา ป ระ เพ ณี ลอ ย ก ระ ท ง ป ระ เพ ณี ส งก รานต์ ป ระ เพ ณี แ ต่งงาน ประเพณีขึ้นบ้านใหม่ ประเพณีบวชนาคและประเพณีทอดกฐิน ทอดผ้าป่า เป็นต้น โรงเรียนบ้านอาเลาตั้งอยู่เลขที่ ๑๓๔ หมู่ที่ ๖ บ้านอาเลา ตาบลหนองอียอ อาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ รหัสไปรษณีย์ ๓๒๑๖๐ โทรศัพท์ ๐๔๔ - ๕๑๗๓๖๔ สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ ๒. ปริมาณงาน ๒.๑ จานวนนักเรียน ห้องเรียน จานวนรายชั้น รายเพศ ในปีการศึกษา ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านอาเลามีข้อมูลเกี่ยวกับจานวนนักเรียนดังนี้ ๑) จานวนนักเรียนในเขตพื้นที่บริการและเขตพื้นที่นอกบริการทั้งสิ้น ๑๒๗ คน ๒) จานวนนักเรียนจาแนกตามชั้นที่เปิดสอน ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ดังนี้ ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ ชาย หญิง อนุบาล ๒ 8 9 17 อนุบาล ๓ 4 7 11 ประถมศึกษาปีที่ ๑ 3 8 11 ประถมศึกษาปีที่ ๒ 3 5 8 ประถมศึกษาปีที่ ๓ 5 6 11
  • 4. ~ ๓๔ ~ ประถมศึกษาปีที่ ๔ 5 6 11 ประถมศึกษาปีที่ ๕ 7 9 16 ประถมศึกษาปีที่ ๖ 6 5 11 มัธยมศึกษาปีที่ ๑ 6 3 9 มัธยมศึกษาปีที่ ๒ 11 2 13 มัธยมศึกษาปีที่ ๓ 3 6 9 รวมจานวนทั้งหมด 53 57 127 ๒.๒ ข้อมูลนักเรียนพิการเรียนร่วม ๙ ประเภท จานวนรายชั้น รายเพศ ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ ชาย หญิง อนุบาล ๒ - - - อนุบาล ๓ - - - ประถมศึกษาปีที่ ๑ - - - ประถมศึกษาปีที่ ๒ - - - ประถมศึกษาปีที่ ๓ 1 - 1 ประถมศึกษาปีที่ ๔ 2 - 2 ประถมศึกษาปีที่ ๕ 2 1 3 ประถมศึกษาปีที่ ๖ 1 2 3 มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๒ ๑ ๓ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๔ ๑ ๕ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๒ ๑ ๒ รวมจานวนทั้งหม ด ๑๒ 6 ๑๙ ๒.๓ จานวนนักเรียนด้อยโอกาสเรียนร่วม จานวนรายชั้น รายเพศ ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ ชาย หญิง อนุบาล ๒ - - - อนุบาล ๓ - - -
  • 5. ~ ๓๕ ~ ประถมศึกษาปี ที่ ๑ 3 8 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๒ 3 5 8 ประถมศึกษาปี ที่ ๓ 5 6 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๔ 5 6 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๕ 7 9 16 ประถมศึกษาปี ที่ ๖ 6 5 11 มัธยมศึกษาปีที่ ๑ 6 3 9 มัธยมศึกษาปีที่ ๒ 11 2 13 มัธยมศึกษาปีที่ ๓ 3 6 9 รวมจานวนทั้งห มด ๔๙ 5๐ 1๑7 ๒.๔ จานวนนักเรียนออกกลางคัน ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จานวนรายชั้น รายเพศ ระดับชั้น จานวนนักเรีย น รวม หมายเหตุ ชาย หญิง อนุบาล ๒ - - - อนุบาล ๒ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๑ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๒ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๓ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๔ - - -
  • 6. ~ ๓๖ ~ ประถมศึกษาปี ที่ ๕ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๖ - - - มัธยมศึกษาปีที่ ๑ - - - มัธยมศึกษาปีที่ ๒ - - - มัธยมศึกษาปีที่ ๓ - - - รวมจานวนทั้งห มด - - - ๒.๕ จานวนนักเรียนที่จบการศึกษาภาคบังคับ (ชั้น ม. ๓ ) ปี ๒๕๖๔ จาแนก รายเพศ ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ ชาย หญิง อนุบาล ๑ - - - อนุบาล ๒ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๑ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๒ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๓ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๔ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๕ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๖ - - -
  • 7. ~ ๓๗ ~ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ - - - มัธยมศึกษาปีที่ ๒ - - - มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๓ ๑๐ ๑๓ รวมจานวนทั้งห มด ๓ ๑๐ ๑๓ ๒.๖ จานวนนักเรียนที่จบชั้น ป.๖ เข้าเรียนต่อชั้น ม. ๑ (ร.ร.ทั่วไป) จาแนก รายเพศ ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ ชาย หญิง อนุบาล ๑ - - - อนุบาล ๒ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๑ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๒ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๓ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๔ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๕ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๖ ๗ ๕ ๑๒ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ - - - มัธยมศึกษาปีที่ ๒ - - - มัธยมศึกษาปีที่ ๓ - - - รวมจานวนทั้งห มด ๗ ๕ ๑๒
  • 8. ~ ๓๘ ~ ๒.๗ จานวนนักเรียนที่จบชั้น ม. ๓ เข้าเรียนต่อชั้น ม. ๔ จาแนก รายเพศ ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ ชาย หญิง อนุบาล ๒ - - - อนุบาล ๓ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๑ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๒ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๓ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๔ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๕ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๖ - - - มัธยมศึกษาปีที่ ๑ - - - มัธยมศึกษาปีที่ ๒ - - - มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๓ ๑๐ ๑๓ รวมจานวนทั้งห มด ๓ ๑๐ ๑๓ ๒.๘ จานวนนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่คล่อง ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จาแนกรายชั้น รายเพศ ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ ชาย หญิง อนุบาล ๒ - - - อนุบาล ๓ - - -
  • 9. ~ ๓๙ ~ ประถมศึกษาปี ที่ ๑ 1 - 1 ประถมศึกษาปี ที่ ๒ 1 - 1 ประถมศึกษาปี ที่ ๓ ๑ - ๑ ประถมศึกษาปี ที่ ๔ 3 2 - ประถมศึกษาปี ที่ ๕ 3 1 - ประถมศึกษาปี ที่ ๖ - - - มัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2 1 3 มัธยมศึกษาปีที่ ๒ 2 - 2 มัธยมศึกษาปีที่ ๓ 1 - 1 รวมจานวนทั้งห มด 14 4 12 ๒.๙ จานวนนักเรียนมีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่องมือใน การเรียนรู้ จาแนกรายชั้น ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ ชาย หญิง ประถมศึกษาปี ที่ ๑ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๒ - - - ประถมศึกษาปี ที่ ๓ 5 6 11
  • 10. ~ ๔๐ ~ ประถมศึกษาปี ที่ ๔ 5 6 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๕ 7 9 16 ประถมศึกษาปี ที่ ๖ 6 5 11 มัธยมศึกษาปีที่ ๑ 6 3 9 มัธยมศึกษาปีที่ ๒ 11 2 13 มัธยมศึกษาปีที่ ๓ 3 6 9 รวมจานวนทั้งห มด ๔๓ ๓๗ ๘๐ ๒.๑๐ จานวนนักเรียนได้รับการพัฒนาให้มีจิตสานึกความเป็ นไทยยึดมั่นในสถา บันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ ชาย หญิง อนุบาล ๒ 8 9 17 อนุบาล ๓ 4 7 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๑ 3 8 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๒ 3 5 8 ประถมศึกษาปี ที่ ๓ 5 6 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๔ 5 6 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๕ 7 9 16 ประถมศึกษาปี ที่ ๖ 6 5 11
  • 11. ~ ๔๑ ~ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ 6 3 9 มัธยมศึกษาปีที่ ๒ 11 2 13 มัธยมศึกษาปีที่ ๓ 3 6 9 รวมจานวนทั้งห มด 53 57 127 ๒.๑๑ จานวนนักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐ านปีการศึกษา ๒๕๖๔ จาแนกรายชั้น รายเพศ ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ ชาย หญิง อนุบาล ๒ ๘ ๙ 17 อนุบาล ๓ 4 7 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๑ 3 8 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๒ 3 5 8 ประถมศึกษาปี ที่ ๓ 5 6 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๔ 5 6 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๕ 7 9 16 ประถมศึกษาปี ที่ ๖ 6 5 11 มัธยมศึกษาปีที่ ๑ 6 3 9 มัธยมศึกษาปีที่ ๒ 11 2 13 มัธยมศึกษาปีที่ ๓ 3 6 9
  • 12. ~ ๔๒ ~ รวมจานวนทั้งห มด 53 57 127 ๒.๑๒ จานวนนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาทักษะการดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลั กปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จาแนกรายชั้น รายเพศ ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ ชาย หญิง อนุบาล 2 ๘ ๙ 17 อนุบาล 3 4 7 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๑ 3 8 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๒ 3 5 8 ประถมศึกษาปี ที่ ๓ 5 6 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๔ 5 6 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๕ 7 9 16 ประถมศึกษาปี ที่ ๖ 6 5 11 มัธยมศึกษาปีที่ ๑ 6 3 9 มัธยมศึกษาปีที่ ๒ 11 2 13 มัธยมศึกษาปีที่ ๓ 3 6 9 รวมจานวนทั้งห มด 53 57 127 ๒.๑๓ จานวนนักเรียนที่ได้รับการสนับสนุนการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรั บรายการค่าเล่าเรียน หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน
  • 13. ~ ๔๓ ~ เครื่องแบบนักเรียนและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จานวนรายชั้น รายเพศ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ ชาย หญิง อนุบาล ๒ ๘ ๙ 17 อนุบาล ๓ 4 7 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๑ 3 8 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๒ 3 5 8 ประถมศึกษาปี ที่ ๓ 5 6 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๔ 5 6 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๕ 7 9 16 ประถมศึกษาปี ที่ ๖ 6 5 11 มัธยมศึกษาปีที่ ๑ 6 3 9 มัธยมศึกษาปีที่ ๒ 11 2 13 มัธยมศึกษาปีที่ ๓ 3 6 9 รวมจานวนทั้งห มด 53 57 127 ๒.๑๔ จานวนผู้รับบริการ (นักเรียน) มีความพึงพอใจในการจัดการศึกษา จาแนกเป็นระดับ ระดับชั้น จานวนนักเรียน รวม หมายเหตุ ชาย หญิง อนุบาล 2 ๘ ๙ 17 อนุบาล 3 4 7 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๑ 3 8 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๒ 3 5 8
  • 14. ~ ๔๔ ~ ประถมศึกษาปี ที่ ๓ 5 6 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๔ 5 6 11 ประถมศึกษาปี ที่ ๕ 7 9 16 ประถมศึกษาปี ที่ ๖ 6 5 11 มัธยมศึกษาปีที่ ๑ 6 3 9 มัธยมศึกษาปีที่ ๒ 11 2 13 มัธยมศึกษาปีที่ ๓ 3 6 9 รวมจานวนทั้งห มด 53 57 127 ๒.๑๕ จานวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงเรียน จาแนกรายเพศ ตามตาแหน่งและวิทยฐานะ โรงเรียนบ้านอาเลา มีผู้อานวยการสถานศึกษาปัจจุบัน คือ นางสิทธิสินี สอนเลิศ วุฒิการศึกษาสูงสุด ศ.ษม. สาขาการบริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่วันที่ ๑๐ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐ จนถึงปัจจุบัน ครูและบุคลากรจานวนทั้งสิ้น ๑๙ คน ดังนี้ ชื่อ-สกุล ตาแหน่ง/วิทยฐานะ วุฒิ/วิชาเอก นางสิทธิสินี สอนเลิศ ผู้อานวยการชานาญ การพิเศษ ศ.ษม. การบริหารการศึกษา นางสาวพาระนี พรมตวง ครูชานาญการพิเศษ กศ.บ.สังคมศึกษา นายชัยศักดิ์ ปิ่นแก้ว ครูชานาญการพิเศษ ค.บ. คณิตศาสตร์ นางสาวโสภา บัวพรม ครูชานาญการพิเศษ กศ.ม. การบริหารการศึกษา นางสาวอัจฉราภรณ์ เทียมคลี ครูชานาญการพิเศษ กศ.ม. การบริหารการศึกษา
  • 15. ~ ๔๕ ~ นางสาววลัยภรณ์ สาราญจิต ครูชานาญการพิเศษ กศ.ม. การบริหารการศึกษา นางชลลดา พิศงาม ครูชานาญการพิเศษ ค.บ.สังคมศึกษา นางอนงลักษณ์ เศรษฐศักดิ์อาพล ครูชานาญการ กศม.หลักสูตรและการส อน นางขนิษฐา แก้วขวัญ ครูชานาญการ กศม.การบริหารการศึก ษา นางสาวธนารัตน์ สาเภาดี ครูชานาญการ บธ.บ. เทคโนโลยีทางการศึกษา นายพิทวัส สุดชารี ครู ศษ.บ. ภาษาอังกฤษ นางสาวสุกัญญา เหนือคูเมือง ครู ค.บ.เคมี นางสุกัญญา กะการดี ครู คบ.การศึกษาปฐมวัย นางสาวอารยา ยอดลี ครูผู้ช่วย ค.บ. คณิตศาสตร์ นางสาวกาญจนาพร สมเสร็จ ครูผู้ช่วย ค.บ. ภาษาไทย นายกิตติพงศ์ มงคุณ พนักงานราชการ บธ.บ. เทคโนโลยีสารสนเทศธุร กิจ นายคาร กล้าจริง นักการฯ ม.๖ นางสาวพัชรินทร์ มีเพ็ชร ธุรการ วทบ.วิทยาศาสตร์
  • 16. ~ ๔๖ ~ ๓. โครงสร้างการบริหารงานของโรงเรียนบ้านอาเลา โรงเรียนบ้านอาเลาบริหารจัดการตามแนวทางการบริหารงานโรงเรี ยนที่เป็นนิติบุคคล และระเบียบสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ ว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษา ซึ่งแบ่งกลุ่มงานออกเป็ น ๔ กลุ่มงาน ประกอบด้วย ๑. กลุ่มงานวิชาการ ๒. กลุ่มงานงบประมาณ ๓. กลุ่มงานบุคลากร ๔. กลุ่มงานบริหารทั่วไป ซึ่งแสดงด้วยแผนภูมิได้ดังนี้ แผนภูมิโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนบ้านอาเลา คณะกรรมการบริหารสถ านศึกษา ผู้อำนวยกำรสถ ำนศึกษำ นำงสิทธิสินี สอนเลิศ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน งานวิชาการ นางสาวพาระนี พรมตวง นางสาวอัจฉราภรณ์ เทียมคลี นางสาววลัยภรณ์ สาราญจิต นางอนงลักษณ์ เศรษฐศักดิ์อาพล นางสาวสุกัญญา เหนือคูเมือง นางสาวกาญจนาพร สมเสร็จ นางสาวพัชรินทร์ มีเพ็ชร งานงบประมาณ นายชัยศักดิ์ ปิ่นแก้ว นางอนงลักษณ์ เศรษฐศักดิ์อาพล นางสาวพาระนี พรมตวง นายพิทวัส สุดชารี นางสาวอรยา ยอดลี นางสาวพัชรินทร์ มีเพ็ชร งานบุคคล นางสิทธิสินี สอนเลิศ นางสาวพาระนี พรมตวง นายชัยศักดิ์ งานบริหารทั่วไป นางอนงลักษณ์ เศรษฐศักดิ์อาพล นางสาวโสภา บัวพรม นางชลลดา พิศงาม นางสุกัญญา กะการดี นายพิทวัส สุดชารี นางขนิษฐา แก้วขวัญ นายกิตติพงศ์ มงคุณ นางสาวพัชรินทร์ มีเพ็ชร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุริน ทร์ เขต ๒
  • 17. ~ ๔๗ ~ ๔. ผลการดาเนินงาน จากการดาเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ได้จัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติราชการปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ทั้งหมด ๔ งาน ได้แก่ ๑. กลุ่มบริหารงานวิชาการ ๒. กลุ่มบริหารงบประมาณ ๓. กลุ่มบริหารงานบุคคล ๔. กลุ่มบริหารงานทั่วไป ซึ่งงานแต่ละงานมีโครงการดาเนินงาน ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ ๑. กลุ่มบริหารงานวิชาการ ๑.๑ ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ๑.๑.๑ ระดับการศึกษาปฐมวัย ร ะ ดั บ ป ฐ ม วั ย ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินพัฒนาการแต่ละด้านในระดับ ๓ ขึ้นไป ระดับชั้น ผลการประเมินพัฒนาการนักเรียนด้าน ครบทั้ง 4 ด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา อ.2 ๑๑ ๑๑ ๑๑ 10 ๑๑ อ.3 ๑๑ ๑๑ ๑๑ 10 11 รวม ๒๒ ๒๒ ๒๒ ๒๐ ๒๒ ร้อยละ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๙๐.๙๐ ๑๐๐ ๑.๑.๒ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑ ) ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาใน ระดับ ๓ ขึ้นไป ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จานวน ๑๐๔ คน ระดับ ชั้น รายวิชา (พื้นฐาน) ภาษาไทย คณิ ต ศาสต ร์ วิ ท ยาศาสต ร์ สั ง คมศึ ก ษ าฯ ประวั ต ิ ศ าส ตร์ สุ ข ศึ ก ษาฯ ศิ ล ปะ การงานอา ชี พ ฯ ภาษาอั ง กฤ ษ ป.1 7 8 5 8 6 8 8 6 8 ป.2 6 7 5 8 8 10 10 6 10 ป.3 9 11 10 11 9 11 12 12 11
  • 18. ~ ๔๘ ~ ป.4 8 9 8 7 5 16 13 17 11 ป.5 5 8 8 5 2 9 11 12 5 ป.6 8 7 12 9 6 12 12 12 9 ม.1 9 5 5 3 5 13 13 10 9 ม.2 6 5 5 6 6 7 6 9 6 ม.3 11 6 9 7 8 13 11 11 11 รวม 69 66 67 64 55 99 96 95 80 ร้อยละ 6๘.๓๑ 65.34 66.33 63.3 6 54.4 5 98.0 1 95.0 4 94.0 5 79.2 0 ๒) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับดีขึ้นไป ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จานวนนักเรียน ๑0๑ คน ระดับชั้น จานวนนักเรียน ผลการประเมิน ระดับดี ขึ้นไป ร้อยละ ไม่ผ่าน ผ่าน ดี ดีเยี่ยม ป.1 8 ๐ 0 2 6 8 100 ป.2 11 ๐ 0 2 9 11 100 ป.3 11 ๐ 1 7 3 10 90.90 ป.4 1๗ ๐ 0 1๑ 6 1๗ 100 ป.5 11 ๐ 0 9 2 11 100 ป.6 12 ๐ 0 4 8 12 100 ม.1 13 ๐ 6 4 3 7 53.84 ม.2 9 ๐ 3 3 3 6 66.66 ม.3 13 ๐ 2 3 ๘ 1๑ 84.61 รวม 10๔ 0 12 ร้อยละ 100 - 11.๕๓ ๓ ) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับ ดีขึ้นไประดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ระดับชั้น จานวนนักเรียน ผลการประเมิน ระดับดี ขึ้นไป ร้อยละ ไม่ผ่าน ผ่าน ดี ดีเยี่ยม
  • 19. ~ ๔๙ ~ ป.1 8 ๐ 0 0 8 8 100 ป.2 11 ๐ 0 0 11 11 100 ป.3 11 ๐ 0 3 ๘ 1๑ 100 ป.4 1๗ ๐ 0 0 17 17 100 ป.5 1๑ ๐ 0 0 11 11 100 ป.6 12 ๐ 0 1 11 12 100 ม.1 13 ๐ 2 3 8 11 91.66 ม.2 9 ๐ 0 1 8 9 100 ม.3 13 ๐ 0 1 12 13 100 รวม 10๔ 0 2 ๙ ๙๓ 102 ร้อยละ 100 ๐ ๑.๒ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O- NET) ปีการศึกษา ๒๕๖4 รายวิชา คะแนนเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ คะแนนระดับชาติ เปรียบ ภาษาไทย 56.19 ๕๔.๘๕ 64.41 50.38 คณิตศาสตร์ 41.88 ๑๗.๐๐ 55.38 36.83 วิทยาศาสตร์ 55.66 ๔๓.๖๗ 49.38 34.31 ภาษาอังกฤษ 52.50 ๓๘.๐๐ 67.19 39.22 คิดเป็ นร้อยละ 5๑.5๖ ๓๘.๓๘ 59.09 40.19 หมายเหตุ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ เป็ นปีที่การสอบโอเน็ตเป็ นไปด้วยความสมัครใจของนักเรียน และเรียนออนไลน์ช่วงโควิดทาให้นักเรียนเรียนไม่ทัน เลยอาจเป็ นผลให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีผลการสอบระดับชาติ ไม่เป็ นที่พอใจ ซึ่งผ่านระดับชาติมีแค่วิชาเดียวคือวิชาวิทยาศาสตร์ ๑.๓ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ รายวิชา คะแนนเฉลี่ย ปีการ ศึกษา ๒๕๖๑ ปีการ ศึกษา ๒๕๖๒ ปีการ ศึกษา ๒๕๖๓ ปีการ ศึกษา ๒๕๖4 คะแ นน ระดับ ชาติ เปรียบเทียบคะแ นนระดับชาติ
  • 20. ~ ๕๐ ~ ภาษาไ ทย 58.36 75.00 ๗๐.๘ ๓ 59.88 51.1 9 +8.69 คณิตศา สตร์ 30.91 56.00 ๒๕.๓ ๓ 23.89 24.4 7 -0.58 วิทยาศา สตร์ 42.55 29.00 ๓๕.๔ ๐ 38.39 31.4 5 +6.94 ภาษาอัง กฤษ 27.82 32.00 ๓๔.๑ ๗ 34.72 31.1 1 +3.61 คิดเป็ น ร้อยละ ๓๙.๗ ๓ ๔๘.๐ ๐ ๔๑.๔ ๓ 39.22 34.5 6 +4.66 ๑.๔ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รายวิชา คะแนนเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ปีการศึกษา ๒๕๖4 คะแนน ระดับชาติ เปร ด้านภาษา ๖๕.๑๙ ๕๑.๒๗ ๕๒.๕๔ 70.27 56.14 ด้านคานวณ ๖๕.๑๙ ๕๘.๕๕ ๖๒.๐๐ 58.45 49.44 ด้านเหตุผล ๖๐.๕๑ - - - - คิดเป็ นร้อยละ ๖๓.๖๓ ๕๔.๙๑ ๕๗.๒๓ 64.36 52.80 ๑.๕ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (RT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ รายวิชา คะแนนเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓๓ คะแนน ระดับชาติ เปรียบเทียบค ด้านอ่านออกเสียง ๖๒.๓๑ ๘๓.๐๐ ๙๐.๔๐ ๖๖.๑๓ +๒ ด้านอ่านรู้เรื่อง ๖๖.๓๗ ๘๐.๓๓ ๘๔.๐๐ ๗๑.๒๔ +๑ คิดเป็ นร้อยละ ๖๔.๓๔ ๘๑.๖๖ ๘๗.๒๐ ๖๘.๖๙ +๑ ๒. กลุ่มบริหารงบประมาณ การบริหารงานเอกสาร บัญชี พัสดุ และการเงิน ค่าสาธารณูปโภคของโรงเรียนมีความมีความสะดวกและรวดเร็วทางานให้ งานออกมามีประสิทธิภาพ ๓. กลุ่มบริหารงานบุคคล
  • 21. ~ ๕๑ ~ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาได้เข้ารับการอบรมและพัฒนาต นเองอย่างต่อเนื่อง ๔. กลุ่มบริหารงานทั่วไป โรงเรียนมีบริบทที่น่าอยู่น่าเรียน
  • 22. ~ ๕๒ ~ ส่วนที่ ๒ ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 23. ๑๓๔ ส่วนที่ ๒ ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑. วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ ทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านอาเลา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าประสงค์ระดับปฐมวัย วิสัยทัศน์ โรงเรียนบ้านอาเลา จัดการศึกษาให้ผู้เรียนระดับปฐมวัยให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน โดยเน้นให้มีร่างกายเจริญเติบโต มีสุขนิสัย สุขภาพจิตที่ดี มีคุณธรรม คิดแก้ปัญหาและใช้ภาษาสื่อสารได้อย่างเหมาะสมตามวัย และยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ ๑.ครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดทาแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่มีคุณภาพ เน้นพัฒนาการทั้งสี่ด้าน ๒. สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนทั้งสี่ด้าน ๓. จัดหาสื่อ แหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมและหลากหลาย ๔. เฝ้ าระวังดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหาร การแปรงฟัน การดื่มนม อย่างสม่าเสมอ ๕. ปลูกฝังให้นักเรียน มีคูณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักการของ ปฐมวัย ๖. มีการประเมินพัฒนาการผู้เรียนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ ด้วยวิธีการและเครื่องมือที่ หลากหลาย ๗. ครูผู้สอนระดับปฐมวัยได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๘. ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน บุคลากร ผู้ปกครองและชุมชน เพื่อระดมความคิด ทรัพยากรมาช่วยเหลือ ๙. ในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนพัฒนาหลักสูตรในร ะดับปฐมวัย เป้ าประสงค์ ๑. ครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ดี มีคุณภาพ ๒. โรงเรียนมีการจัดบรรยากาศการเรียนรู้อย่างเหมาะสม ตามสภาพของท้องถิ่น ๓. โรงเรียนมีสื่อ และแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมและหลากหลาย ผู้เรียนมีโอกาสได้เรียนรู้และสัมผัสจริง
  • 24. ๑๓๘ ๔. ผู้เรียนระดับระดับปฐมวัยร้อยละ 95 มีสุขภาพดีเจริญเติบโตตามวัย ๕. เด็กปฐมวัยมีคุณธรรม จริยธรรมเหมาะสมกับวัย ๖. ผู้เรียนระดับปฐมวัยทุกคน ได้รับการประเมินพัฒนาการ และนาผลการประเมินนั้น ไปปรับปรุงและพัฒนา ๗. ครูผู้สอนระดับปฐมวัย เข้ารับการอบรมทุกครั้งที่มีการจัดการอบรมเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการจัด การศึกษาปฐมวัย ๘. หน่วยงาน บุคลากร ผู้ปกครองและชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าประสงค์ระดับขั้นพื้นฐาน วิสัยทัศน์ โรงเรียนบ้านอาเลาจัดการศึกษาให้ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาต รฐาน โดยเน้นการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมและยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยง พันธกิจ ๑. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการประกันโอกาสทางการศึกษา ๒. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และมีคุณภาพตามมาตรฐาน ๓. ปลูกฝังผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรมและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔. บริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป้ าประสงค์ ๑. ประชากรวัยเรียนทุกคน ทุกกลุ่ม ได้รับโอกาสในการศึกษาตามสิทธิอย่างเท่าเทียมและทั่วถึงตามเอกัตภาพ ๒. ผู้เรียนทุกคนมีคุณธรรม จริยธรรม ตามหลักศาสนาและวัฒนธรรม ๓. ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ๔. ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนทุกคนดาเนินชีวิตโดยใช้หลักเศรษฐกิจ พอเพียง กลยุทธ์โรงเรียน กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม ความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
  • 25. ๑๓๘ กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอพียง กลยุทธ์ที่ ๓ ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้รับโอกาสใน การพัฒนาเต็มตามศักยภาพ กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดการเรียน การสอนได้อย่างมีคุณภาพ กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวการกระจายอานาจทางการศึกษาหลักธรรมมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่ว นท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา ๒. เป้ าหมายและตัวชี้วัดความสาเร็จ โรงเรียนบ้านอาเลา ได้กาหนดเป้ าหมายและตัวชี้วัดความสาเร็จ จาแนกตามกลุ่มกลยุทธ์ของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม ความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ที่ เป้ าหมายความสาเร็จ ๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๕ กลุ่มสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้นร้อยละ ๓ ต่อปี ๒ ผู้เรียนที่มีปัญหาการอ่านการเขียนภาษาไทยต่ากว่าเกณฑ์ลดลงร้อยละ ๒ ๓ นักเรียนมีความสารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ไม่น้อยกว่าร้อ ๘๕ กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอพียง ที่ เป้ าหมายความสาเร็จ ๑ ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีคุณธรรมจิตสานึกความเป็นไทย ๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าร้อ ๓ โรงเรียนทุกโรงจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ความสานึกความเป็ นชาติไทยและวิถีตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  • 26. ๑๓๘ ๔ ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะการดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญาเศร กลยุทธ์ที่ ๓ ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ที่ เป้ าหมายความสาเร็จ ๑ ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒ ผู้เรียนได้เรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานภายในกาหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ๓ ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพ ๔ ผู้เรียนทุกคนได้รับการสนับสนุนการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับรายการค่าเ หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ ที่ เป้ าหมายความสาเร็จ ๑ ข้าราชการครูที่ได้รับการพัฒนา สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพไม่น้อยก ๒ ครูและบุคลากรทาการศึกษามีความพอใจในความมั่นคงของการประกอบวิชาชีพไ ๓ บุคลากรทางการศึกษาได้รับพัฒนาให้มีคุณภาพและสามารถปฏิบัติงานได้ตามมาต ๘๕ กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวการกระจายอานาจทางการศึกษาหลักธรรมมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่ว นท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา ที่ เป้ าหมายความสาเร็จ ๑ สถานศึกษาผ่านการรับรองมาตรฐาน จาน แท ๒ สถานศึกษาทุกแห่งได้รับการนิเทศ ติดตามช่วยเหลือการดาเนินงานให้มีคุณภาพ จาน ติด ๓ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ ร้อย ขอ
  • 28. ๑๓๘ ส่วนที่ ๓ รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ สาระสาคัญของแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านอาเลาได้นากลยุทธ์ของสานักงานคณะกรรมการการศึ ก ษ า ขั้น พื้ น ฐ า น ม า ก า ห น ด เ ป็ น ม า ต ร ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร ต า ม ง บ ป ร ะ ม า ณ ที่ ไ ด้ รั บ จั ด ส ร ร ก า ห น ด บ ท บ า ท วิธีการและผู้รับผิดชอบในการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้ าประสงค์ ดังนี้ ๑. การประมาณการรายรับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๑.๑ การประมาณการเงินอุดหนุน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ (ข้อมูล ณ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๔) ระดับ จานวน นักเรีย น อัตรา จัดสรร จานวนเ งิน กรณีนักเรียน ต่ากว่า ๑๒๐ คน รวมเงิน หมายเหตุ อัตรา เงินเ พิ่ม ๑. ก่อนประถม ๒๒ ๑,๗๐๐ ๓๗,๔๐ ๐ - - ๓๗,๔๐ ๐ ๒. ประถม ๗๒ ๑,๙๐๐ ๑๓๖,๘ ๐๐ - - ๑๓๖,๘ ๐๐ ๓. มัธยม ๓๖ ๓,๕๐๐ ๑๒๖,๐๐ ๐ ๑,๐๐ ๐ ๓๖,๐ ๐๐ ๑๖๒,๐ ๐๐ ๔. ปัจจัยพื้นฐาน (ประถม) ๔๖ ๔๖,๐๐๐ ๔๖,๐๐๐ - - ๔๖,๐๐ ๐ ๕. ปัจจัยพื้นฐาน (มัธยม) ๒๕ ๗๕,๐๐๐ - -
  • 29. ๑๓๘ ๗๕,๐๐ ๐ ๗๕,๐๐ ๐ ๖.โครงการอาหารกล างวัน ๙๔ ๒๐บาท/๒๐ ๐วัน ๓๙๔,๘ ๐๐ - - ๓๙๔,๘ ๐๐ ๘๕๒,๐๐ ๐ ๗. เงินโครงการเรียนฟรี๑๕ ปี ๗.๑ เงินเรียนฟรี ๑๕ ปี (ค่าหนังสือ) ๑๓๐ อบ.๒๐๐ ประถม(๖๕ ๖,๖๕๐,๖๕ ๓, ๗๐๗,๘๔๖, ๘๕๙) มัธยม (๘๐๘,๙๑๒ ,๙๙๖) ๔,๔๐๐ ๕๑,๙๑ ๔ ๒๙,๐๑ ๗ - - ๘๕,๓๓ ๑ ๗.๒ เงินเรียนฟรี ๑๕ ปี (ค่าอุปกรณ์การเรียน ) ๑๓๐ อบ. ๒๐๐ ประถม ๓๙๐ มัธยม ๔๒๐ ๔,๔๐๐ ๒๘,๐๘ ๐ ๑๖,๒๐๐ - - ๔๘,๖๘ ๐ ๗.๓ เงินเรียนฟรี ๑๕ ปี (ค่าเครื่องแบบนักเรีย น) ๑๓๐ อบ. ๓๐๐ ประถม ๓๖๐ มัธยม ๔๕๐ ๖,๖๐๐ ๒๕,๙๒ ๐ ๑๖,๒๐๐ - - ๔๘,๗๒ ๐ ๗.๔ เงินเรียนฟรี ๑๕ ปี (ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เ รียน) ๑๓๐ อบ. ๔๓๐ ประถม ๔๘๐ มัธยม ๘๘๐ ๙,๔๖๐ ๓๔,๕๖ ๐ ๓๑,๖๘ ๐ - - ๗๕,๗๐ ๐ ๒๕๘,๔๓ ๑ รวม ๑๓๐ ๑,๑๑๐, ๔๓๑ ๑.๒ เงินงบประมาณยกมาจากปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จานวน ๖๙,๗๖๓.๐๑บาท จาแนกตามกลุ่มงานของโรงเรียน ประเภทเงิน บริหาร งานวิชา การ บริหาร งานบุคคล บริหาร งานงบประมา ณ บริหารทั่ วไป สารอง จ่าย รวมเงิน หมายเ หตุ ๑. เงินอุดหนุน รายหัว (ก่อนประถม) - ๑,๖๐๐ - - - ๑,๖๐๐ ๒. เงินอุดหนุน รายหัว(ประถม) - ๑๕,๐๐๐ - - - ๑๕,๐๐๐ ๓.เงินอุดหนุน รายหัว(มัธยม) - ๑๑,๔๐๐ - - - ๔,๐๖ ๐ ๑๕,๔๖๐
  • 30. ๑๓๘ ๔. เงินปัจจัย พื้นฐาน - - ๓๕๕ - - ๓๕๕ ๕. เงินเรียนฟรี ๑๕ ปี - - ๓๗,๓๓๔.๐๑ - - ๓๗,๓๓๔. ๐๑ ๖. เงินอาหารกลางวั น - - ๑๔ - - ๑๔ รวม - ๒๘,๐๐๐ ๓๗,๗๐๓.๐๑ - ๔,๐๖ ๐ ๖๙,๗๖๓. ๐๑ ๑.๓ เงินงบประมาณ รวมทั้ง ๑ + ๒ เงินงบประมาณจากปีงบประมาณ ๒๕๖๕ จานวน ๑,๑๑๐,๔๓๑ บาท เงินงบประมาณปี งบประมาณ ๒๕๖๔ จานวน ๖๙,๗๖๓.๐๑บาท รวม ๑,๑๘๐,๑๙๔.๐๑ บาท จัดสรรจาแนกตามกลุ่มงานของโรงเรียน ดังนี้ ประเภทเงิน บริหารง านวิชาก าร บริหารงานบุ คคล บริหารงานง บประมาณ บริหารทั่ วไป สารองจ่า ย รวมเงิน ๑. เงินอุดหนุนรายหัว( ก่อนประถม) ๒๓,๔๐ ๐ ๓,๙๐๐ ๑,๕๖๐ ๘,๑๙๐ ๑,๙๕๐ ๓๙,๐๐๐ ๒. เงินอุดหนุนรายหัว( ประถม) ๙๑,๐๘ ๐ ๑๕,๑๘๐ ๖,๐๗๐ ๓๑,๘๘ ๐ ๗,๕๙๐ ๑๕๑,๘๐๐ ๓เงินอุดหนุนรายหั ว(มัธยม) ๑๐๖,๔ ๘๐ ๑๗,๗๒๐ ๗,๑๒๐ ๓๗,๒๗ ๐ ๘,๘๗๐ ๑๗๗,๔๖๐ ๔.เงินปัจจัยพื้นฐาน - - ๑๒๑,๓๕๕ - - ๑๒๑,๓๕๕ ๕.เงินเรียนฟรี๑๕ปี - - ๒๙๕,๗๖๕.๐ ๑ - - ๒๙๕,๗๖๕.๐๑ ๖.เงินอาหารกลางวั น - - ๓๙๔,๘๑๔ - - ๓๙๔,๘๑๔ รวม ๒๒๐,๙ ๖๐ ๓๖,๘๐๐ ๘๒๖,๖๘๔.๐ ๑ ๗๗,๓๔๐ ๑๘,๔๑๐ ๑๑๘๐,๑๙๔.๐๑ ๒.หน้างบโครงการปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑.กลุ่มบริหารงานวิชาการ จานวน ๒๒๐,๙๖๐.๐๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๖๐ ๒. กลุ่มบริหารงบประมาณ จานวน ๑๔,๗๕๐.๐๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๔ ๓. กลุ่มบริหารงานบุคคล จานวน ๓๖,๘๐๐.๐๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๑๐ ๔.กลุ่มบริหารงานทั่วไป จานวน ๗๗,๓๔๐.๐๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๒๑ ๕.งบสารองจ่ายอื่นๆ จานวน ๑๘,๔๑๐.๐๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๕ ๖.งบพัฒนาผู้เรียน จานวน ๙๗,๗๐๐.๐๐ บาท ๗.ปัจจัยพื้นฐาน จานวน ๑๒๑,๓๕๕.๐๐ บาท ๘.ค่าอุปกรณ์ จานวน ๔๗,๖๐๐.๐๐ บาท
  • 31. ๑๓๘ ๙.ค่าหนังสือแบบเรียน จานวน ๙๒,๒๔๙.๐๐ บาท ๑๐.เครื่องแบบนักเรียน จานวน ๔๘,๗๒๐.๐๐ บาท ๑๑.อาหารกลางวัน จานวน ๓๙๔,๙๑๔.๐๐ บาท ๑๒.เงินกองทุนเพื่ออาหารกลางวัน จานวน ๑๓๗.๙๓ บาท ๑๓.งบทุนผลผลิตส่งเสริมอาหารฯ จานวน ๒๓๗.๖๗ บาท ๑๔.ทุน กศส.นักเรียนยากจนพิเศษ จานวน ๒๘๑.๕๙ บาท
  • 32. ๑๓๘ รายละเอียดโครงการ ๑. โครงการกลุ่มงานวิชาการ ๑.๑ โครงการระดับปฐมวัย ๑.๑.๑ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กระดับปฐมวัย โครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กระดับปฐมวัย แผนงบประมาณ บริหารวิชาการ ผู้รับผิดชอบ นางอนงลักษณ์ เศรษฐศักดิ์อาพล/นางสุกัญญา กะการดี กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและ ส่งเสริมความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่องมือในการ เรียนรู้ หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านอาเลา ลักษณะของโครงการ โครงการต่อเนื่อง ระยะเวลาดาเนินงาน พฤษภาคม ๒๕๖๕ - มีนาคม ๒๕๖๖ -------------------------------------------------------------- ------------------------------ ๑.หลักการและเหตุผล การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กอนุบาล เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรนั้น องค์ประกอบที่สาคัญส่วนหนึ่งคือวัสดุการศึกษาที่จะใช้เป็ นเครื่องมือและเ ป็นสื่อในการจัดประสบการณ์แก่เด็ก ซึ่งต้องดาเนินงานให้ทันตามกาหนดเวลาที่จะใช้และเลือกซื้อให้สอดคล้อง กับการจัดกิจกรรมสาหรับเด็ก จึงจะต้องมีการวางแผนล่วงหน้า เพื่อให้มีวัสดุที่มีคุณภาพตามความต้องการที่จาเป็นต้องใช้ตลอดปีการศึกษ า ๒.วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงานประจาชั้นอนุบาล ๒-๓ ๒.๒ เพื่อจัดหาวัสดุในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กอนุบาลในการเตรียมค วามพร้อม ๓. เป้ าหมาย ๓.๑ เชิงปริมาณ ๓.๑.๑. มีแบบบันทึกงานธุรการประจาชั้นอนุบาล ๒-๓ ที่เพียงพอ
  • 33. ๑๓๘ ๓.๑.๒. มีวัสดุที่ใช้ในการจัดประสบการณ์แก่เด็กชั้นอนุบาล ๒ – ๓ที่เหมาะสม ๓.๒ เชิงคุณภาพ ๓.๒.๑. งานธุรการห้องเรียนเป็นไปอย่างมีระบบ ๓.๒.๒. นักเรียนได้รับการพัฒนาด้านประสบการณ์อย่างเต็มศักยภาพ ๔. กิจกรรมและรายละเอียดการใช้งบประมาณงบประมาณ ๑๒,๖๐๐ บาท กิจกรรมและรายละเอียด งบประมาณจาแนกตามหมวดรายจ่ าย ระยะเวลา การใช้งบประมาณ ค่าตอบ แทน ค่าใช้ สอย ค่าวัสดุ รายจ่า ยอื่น ปฏิบัติ ๑. เสนอขออนุมัติ ๒. วางแผนการดาเนินงาน ๓. ดาเนินการตามแผน ๔. สรุปรายงานผล ๑๒,๖๐ ๐ พ.ค.๒๕๖ ๕ พ.ค.๒๕๖ ๕ พ.ค.๒๕๖ ๕ มี.ค.๒๕๖๖ รวมทั้งสิ้น ๑๒,๖๐ ๐ ๕. การวัดและประเมินผล ตัวบ่งชี้ / สภาพความสาเร็จ วิธีการวัดและประเมิน ผล เครื่องมือที่ใช้วัด ๑.มีแบบบันทึกงานธุรการ ๒.มีวัสดุอุปกรณ์ในการส่งเ สริมพัฒนาการนักเรียน ๑.สารวจ ๑.สารวจ ๑.แบบสารวจ ๑.แบบสารวจ ๖. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๖.๑. ครูประจาชั้นมีบันทึกงานธุรการประจาชั้นอนุบาล ๒ – ๓
  • 34. ๑๓๘ ๖.๒. ครูผู้สอนมีวัสดุอุปกรณ์ในการส่งเสริมพัฒนาการนักเรียน ๖.๓. นักเรียนได้รับการส่งเสริมพัฒนาการอย่างมีประสิทธิภาพ ........................................................................................ . ๑.๑.๒ โครงการประกันคุณภาพภายในระดับปฐมวัย โครงการ ประกันคุณภาพภายในระดับปฐมวัย แผนงาน งานวิชาการ ผู้รับผิดชอบ นางอนงลักษณ์ เศรษฐศักดิ์อาพล/นางสุกัญญา กะการดี กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตาม แนวการกระจายอานาจ ทางการศึกษาหลักธรรมมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านอาเลา ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง ระยะเวลา พฤษภาคม ๒๕๖๕ - มีนาคม ๒๕๖๖ ๑.หลักการและเหตุผล ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๖ มาตรา ๔๘กาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาโดยให้สถานศึกษาทุกแห่งจั ดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเ ป็ นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องมีการจัดทารา
  • 35. ๑๓๘ ยงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อส าธารณชนเพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนดเพื่อ รองรับการประเมินภายนอกจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษาโดยสถานศึกษาทุกแห่งต้องรับการประเมินภายนอกจากสานักงานรับ รองมาตรฐานฯ อย่างน้อย ๑ ครั้งในทุกระยะ ๕ ปี โรงเรียนเห็นความสาคัญดังกล่าวจึงจัดทาโครงการส่งเสริมการประกันคุ ณภาพภายในขึ้นเพื่อให้การบริหารและจัดการภายในโรงเรียนเป็ นไปอย่างมีปร ะสิทธิภาพ ๒.วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏิบัติงานของโรงเรียนตามมาตรฐานคุณ ภาพการศึกษา ๒.๒ เพื่อนาผลการประเมินมาจักทาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวข้องกับคุณภาพการจัดกา รศึกษาของโรงเรียน และนามาใช้ในการตัดสินใจวางแผนพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียน ๒.๓ เพื่อรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนต่อหน่วยงา นที่เกี่ยวข้อง และต่อสาธารณชน ๒.๔ เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินจากองค์กรภายนอกเพื่อนาไปสู่ การรับรองคุณภาพ ๓. เป้ าหมาย ๓.๑ เชิงปริมาณ ๓.๑.๑. นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนดอย่าง ต่อเนื่อง ตลอดเวลา ๓.๑.๒. จัดทารายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาประจาปี ๓.๒ เชิงคุณภาพ ๓.๒.๑. โรงเรียนมีระบบการควบคุมคุณภาพการศึกษา ๓.๒.๒. โรงเรียนมีระบบการประเมินคุณภาพการศึกษา ๓.๒.๓. โรงเรียนมีมาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา สมศ. ๔. กิจกรรมและรายละเอียดการใช้งบประมาณงบประมาณ ๕๐๐ บาท กิจกรรมและรายละเอียด งบประมาณจาแนกตามหมวดรายจ่าย ระยะเวลา
  • 36. ๑๓๘ การใช้งบประมาณ ค่าตอบ แทน ค่าใช้ส อย ค่าวัสดุ รายจ่า ยอื่น ปฏิบัติ ๑.ประชุมฝ่ายวิชาการเพื่อ ปรึกษาหารือการจัดทาโคร งการ ๒.เสนอโครงการเพื่อขออนุ มัติ ๓. ประชุมบุคลากรและผู้เกี่ยว ข้องเพื่อดาเนินงานเพื่อพั ฒนาคุณภาพการศึกษาตา มแนวประกันคุณภาพ ๔.แต่งตั้งคณะทางานจัดทา รายงานประจาปี ๕.จัดทารายงานประจาปี (SAR) ๕.ประเมินผลโครงการและ รายงาน ๕๐๐ พ.ค.๒๕๖๕ พ.ค. ๒๕๖๕ พ.ค.๒๕๖๕ – มี.ค.๒๕๖๖ มี.ค. ๒๕๖๖ มี.ค.๒๕๖๖ มี.ค. ๒๕๖๖ รวมทั้งสิ้น ๕๐๐ ๕. การประเมินผล ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ วิธีการ เครื่องมือ ๑. นักเรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพต ามเกณฑ์ ๒. บุคลากรได้ทราบความก้าวหน้า ๓. รายงานประจาปี ๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรีย น ๒. ผลการรายงานตนเอง ๓. สารวจ ๑. แบบสารวจ ๒. แบบสารวจ ๓. แบบสารวจ ๖.ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๖.๑. โรงเรียนมีระบบการประกันคุณภาพภายในที่ได้มาตรฐาน ๖.๒. การบริหารและจัดการภายในโรงเรียนสอดคล้องกับมาตรฐานของหน่วยงาน ทางการศึกษา ๖.๓. โรงเรียนได้รับการรับรองรับจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณ ภาพการศึกษา
  • 37. ๑๓๘ ……………………………………………… ๑.๑.๓ โครงการส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมบ้านวิทยาศาสตร์น้อย งาน/โครงการ ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมบ้านวิทยาศาสตร์น้อย แผนงบประมาณ บริหารวิชาการ กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุก ระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม สามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่องมือในการเรียนรู้ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอนงลักษณ์ เศรษฐศักดิ์อาพล/นางสุกัญญา กะการดี หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านอาเลา ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง ระยะเวลาดาเนินงาน พฤษภาคม ๒๕๖๕- มีนาคม ๒๕๖๖ ๑. หลักการและเหตุผล วิทยาศาสตร์มีความจาเป็ นต่อการดารงชีวิตในประจาวันของมนุษย์ การนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในทางที่ถูกต้องและเหมาะสมจะช่วยใ ห้เกิดการพัฒนาความคิดให้เป็ นคนที่มีเหตุผล มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้ จัก ก า ร คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ส า ม า ร ถ แ ก้ ปั ญ ห า ต่ า ง ๆ ไ ด้ ท า ง โ ร ง เ รี ย น บ้ า น อ า เ ล า ได้ตระหนักถึงความสาคัญของวิทยาศาสตร์ต่อการพัฒนานักเรียนระดับป ฐมวัยโดยเฉพาะด้านสติปัญญา ที่เป็ นช่วงวัยแห่งการเรียนรู้ การอยากรู้อยากเห็น อยากทดลอง วัยแห่งการตั้งคาถามสงสัยใคร่รู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัว เพื่อเป็ นการพัฒนานักเรียนให้รู้จักตั้งคาถามอย่างมีเหตุมีผลใช้ ทั ก ษ ะ ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ วั ย รู้จักใช้ภาษาที่เหมาะสมกับวัยเกิดจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ แ ล ะ ใ ช้ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ไ ด้ อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ ทางโรงเรียนบ้านอาเลาจึงจัดทาโครงการ บ้านนักวิทยาศาสตร์นี้ขึ้น ๒. วัตถุประสงค์ ๑.นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาที่เหมาะสมกับวัย ๒.นักเรียนตั้งคาถามในเรื่องที่สนใจได้อย่างเหมาะสม
  • 38. ๑๓๘ ๓.นักเรียนใช้จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ในทางที่เหมาะส ม ๔.นักเรียนใช้ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาและคิดสร้างสรรค์องค์ความรู้ ๓. เป้ าหมาย ๓.๑ เชิงปริมาณ ๑. นักเรียนร้อยละ ๙๐ มีทักษะในการใช้ภาษาที่เหมาะสมตามวัย ๒.นักเรียนร้อยละ ๙๐ ตั้งคาถามในเรื่องที่สนใจได้อย่างเหมาะสมตามวัย ๓.นักเรียนร้อยละ ๙๐ ใช้จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ในทางที่เหมาะสม ๔.นักเรียนร้อยละ ๙๐ ใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาและคิดสร้างสรรค์องค์ความรู้ ๓.๒ เชิงคุณภาพ ๑ .นักเรียนชั้นอนุบาล ได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยตนเอง ๒.นักเรียนได้รู้จักใช้จินตนาการในการสร้างชิ้นงานด้วยตนเอง ๓.นักเรียนสามารถตั้งคาถามในเรื่องที่ตนเองสนใจได้ ๔.นักเรียนรู้จักการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาและตัดสินใจได้ตามวัย ๔. กิจกรรมและรายละเอียดการใช้งบประมาณงบประมาณ ๓,๐๐๐ บาท กิจกรรมและรายละเอียด การใช้งบประมาณ งบประมาณจาแนกตามหมวดรายจ่าย ระยะเวลา ปฏิบัติ ค่าตอบ แทน ค่าใช้สอ ย ค่าวัสดุ รายจ่า ยอื่น ๑. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ๒. แต่งตั้งคณะทางาน ๓. ดาเนินการจัดกิจกรรมต่อไปนี้ - จัดกิจกรรมบ้านวิทยาศาสตร์น้ อย ๔. นิเทศ กากับ ติดตาม ๕. สรุป ประเมินผล และรายงาน - ๓,๐๐๐ - พ.ค.๒๕๖๕ พ.ค.๒๕๖๕ ส.ค.๒๕๖๕ - ธ.ค. ๒๕๖๕ ธ.ค. ๒๕๖๕ มี.ค. ๒๕๖๖
  • 39. ๑๓๘ รวมทั้งสิ้น - ๓,๐๐๐ - ๕. การวัดและการประเมินผล ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ วิธีการวัดและประเ มินผล เครื่องมือ ๑.ร้อยละของนักเรียนที่ตั้งคาถามในเรื่องที่ส นใจได้อย่างเหมาะสมตามวัย ๒.ร้อยละของนักเรียนที่ใช้จินตนาการและค วามคิดสร้างสรรค์ในทางที่เหมาะสม ๓.ร้อยละของนักเรียนที่ใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาและคิดสร้าง สรรค์องค์ความรู้ ๑. สารวจ ๒. สารวจ ๓. สารวจ ๑. แบบสารวจ ๒. แบบสารวจ ๓. แบบสารวจ ๖. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑.นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาที่เหมาะสมกับวัย ๒.นักเรียนตั้งคาถามในเรื่องที่สมใจได้อย่างเหมาะสม ๓.นักเรียนใช้จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ในทางที่เหมาะสม ๔.นักเรียนใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาและคิดสร้างสรรค์องค์ความรู้ ๑.๑.๔ โครงการปฐมวัยน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการ ปฐมวัยน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แผนงาน กลุ่มงานบริหารวิชาการ ผู้รับผิดชอบ นางอนงลักษณ์ เศรษฐศักดิ์อาพล / นางสุกัญญา กะการดี กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม ความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่องมือในการเรียนรู้
  • 40. ๑๓๘ หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านอาเลา ลักษณะโครงการ ใหม่ ระยะเวลา พฤษภาคม ๒๕๖๕ - มีนาคม ๒๕๖๖ ๑. หลักการและเหตุผล เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางกา รดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย ให้มีการพัฒนาตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยยึดหลักตามแนวทางสามห่วงคือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้สองเงื่อนไข คือ ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรมมาประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทาต่างๆที่ต้องยึดหลักการดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศนโยบายเร่งรัดการปฏิรูปการศึกษา โดยให้ผู้เรียนมีความรู้ควบคู่คุณธรรม สร้างความตระหนักสานึกในคุณค่าของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนจึงได้เล็งเห็นถึงความสาคัญการพัฒนาผู้เรียนปฐมวัยให้มีความรู้ความ เข้าใจพื้นฐาน ผ่านประสบการณ์กิจกรรมที่หลากหลายและส่งเสริมความคิดรวบยอดที่ให้ผู้เรีย นมีค่านิยมในการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียงขั้นพื้นฐานที่สามารถฝึกปฏิบัติได้ต ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงมีความจาเป็ นที่จะต้องดาเนินงานโครงการนี้ ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑. เพื่อให้นักเรียนนาแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวั นได้ตามศักยภาพเหมาะสมตามวัย ๒.๒. เพื่อสร้างความภาคภูมิใจในคุณค่าของวัฒนธรรม ค่านิยม เอกลักษณ์ความเป็ นไทย อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รู้จักแบ่งปัน ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ๒.๓. เพื่อให้นักเรียนมีวิธีประหยัดรู้จักการอดออม รู้จักใช้วัสดุ สิ่งของ ทรัพยากรอย่างพอเพียง ๒.๔ เพื่อให้นักเรียนมีความตระหนัก มีจิตสานึก รักธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๓. เป้ าหมาย ๓. ๑ เชิงปริมาณ ๓.๑.๑. นักเรียนชั้นอนุบาล ๒ , ๓ ร้อยละ ๙๕ เข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงขั้นพื้นฐาน สามารถนาไปปรับใช้ดารงตนในชีวิตประจาวันได้เหมาะสมตามวัย ๓.๑.๒. นักเรียนชั้นอนุบาล ๒ , ๓ ร้อยละ ๙๕ รักธรรมชาติ ใช้ทรัพยากรคุ้มค่า สามารถประหยัดอดออม ในเบื้องต้นตามศักยภาพ
  • 41. ๑๓๘ ๓.๒ เชิงคุณภาพ ๓.๒.๑. ครูทุกคนน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้สอดแทรกในการจัดป ระสบการณ์ให้กับนักเรียนทุกหน่วยการเรียนรู้ ๓.๒.๒. นักเรียนทุกคน มีความรู้ความเข้าใจในการดาเนินชีวิตแบบพอเพียงขั้นพื้นฐานเหมาะสมตามวัย ๔. กิจกรรมและรายละเอียดการใช้งบประมาณงบประมาณ - บาท กิจกรรมและรายละเอียด การใช้งบประมาณ งบประมาณจาแนกตามหมวดรายจ่าย ระยะเวลา ปฏิบัติ ค่าตอบ แทน ค่าใช้ส อย ค่าวัสดุ รายจ่าย อื่น ๑. เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ ๒.ประชุมชี้แจง ครูและผู้ปกครองสร้างความ ตระหนักแก่บุคลากรในโรงเรี ยน ๓.แต่งตั้งคณะทางาน ๔. ดาเนินกิจกรรมตามโครงการ ดังนี้ ๔.๑ จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการ ดาเนินกิจกรรม ๔.๒ จัดกิจกรรมดาเนินงานตามโ ครงการที่กาหนดไว้ ๕. นิเทศ กากับ ติดตาม ๖. สรุป ประเมินผล รายงาน - - - - พ.ค.๒๕๖๕ พ.ค.๒๕๖๕ พ.ค.๒๕๖๕ พ.ค.๒๕๖๕ มิ.ย. ๒๕๖๕ มิ.ย. ๒๕๖๕ มี.ค. ๒๕๖๖ มี.ค. ๒๕๖๖ รวมทั้งสิ้น - - - - ๕. การประเมินผล ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ วิธีการ เครื่องมือ
  • 42. ๑๓๘ ๑. นักเรียนน้อมนาหลักปรัชญาของเศร ษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน ได้ตามศักยภาพเหมาะสมตามวัย ๒. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การเกษตรและเป็นพื้นฐานในการปร ะกอบอาชีพดารงตนอย่างพอเพียงใน อนาคต ๓. นักเรียนมีวิธีประหยัดรู้จักการอดออ ม และใช้ทรัพยากรที่มีให้คุ้มค่าเกิดประ โยชน์ ๔. ครูผู้สอนออกแบบการเรียนรู้ โดยสอดแทรกความรู้ความเข้าใจหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และจัดประสบการณ์ตามแผนจัดประ สบการณ์ประจาสัปดาห์ทุกหน่วยการ เรียนรู้ ๑. สังเกต ๒. สัมภาษณ์ ๓.การออม ๔.บันทึกหลังสอ น ๑. แบบสังเกต ๒. แบบสัมภาษณ์ ๓.สมุดบันทึกการออม ๔.แผนการจัดประสบก ารณ์เรื่องเศรษฐกิจพอเ พียง ๖. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๖.๑. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักเศรษฐกิจพอเพียง ๖.๒. นักเรียนรู้วิธีการออมและมีเงินออมในสมุดบันทึกการออมทุกคน .................................................................................................................. ............... ๑.๑.๕ โครงการหนูน้อยพอเพียง โครงการ หนูน้อยพอเพียง แผนงาน กลุ่มงานบริหารวิชาการ ผู้รับผิดชอบ นางอนงลักษณ์ เศรษฐศักดิ์อาพล / นางสุกัญญา กะการดี กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม ความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่องมือในการเรียนรู้ หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านอาเลา