SlideShare a Scribd company logo
1 of 112
Download to read offline
องคความรูและนวัตกรรม
ดานเกษตรอินทรีย
ป พ.ศ. 2552-2553
สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สารบัญ
รายชื่อองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย ป พ.ศ. 2552-2553
กลุมที่ 1: ขาว ............................................................................................................................. 7
กลุมที่ 2: ผักและผลไม .............................................................................................................. 15
กลุมที่ 3: ปศุสัตวและประมง...................................................................................................... 39
กลุมที่ 4: แปรรูป....................................................................................................................... 53
กลุมที่ 5: ปจจัยการผลิต............................................................................................................ 65
กลุมที่ 6: มาตรฐาน .................................................................................................................. 91
กลุมที่ 7: รูปแบบการผลิต ......................................................................................................... 97
กลุมที่ 8: อื่นๆ .........................................................................................................................103
รายชื่อองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย
ป พ.ศ. 2552-2553 (เรียงตามประเภทผลงาน)
รหัส ชื่อโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรับผิดชอบ
1. การเพาะปลูกขาวหอมมะลิ105 เกษตรอินทรียสมบูรณแบบ ขาว ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร
บริเวณเขตภาคกลางของประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน
2. ขาวอินทรียและการผลิตดวยเทคโนโลยีที่เหมาะสม ขาว มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ
3. การศึกษาวิธีการเพิ่มผลผลิตของขาวดวยระบบปลูก ขาว คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน
แบบ SRI ในจังหวัดพัทลุง มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
4. การทำนาขาวอินทรีย ขาว สถาบันการพัฒนาการเรียนรูเกษตรอินทรีย
จังหวัดสุพรรณบุรี และสำนักงานปลัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ
5. อิทธิพลของจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพ (Effective Microorganisms, ขาว คณะเกษตรศาสตร
EM) ที่มีตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของขาวเจาสายพันธุ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ขาวดอกมะลิ 105ในดินชุดรอยเอ็ด
6. การศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตขาวขาวดอกมะลิ 105 โดย ขาว คณะเกษตรศาสตร
วิธีการผลิตแบบอินทรียและแบบทั่วไป ในจังหวัดอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
7. ความเปนไปไดของการผลิตขาวหอมมะลิในระบบเกษตรอินทรีย ขาว คณะเกษตรศาสตร
ที่จะเปนอาชีพทางเลือกที่มีศักยภาพในการแกไขปญหาความ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ยากจนสำหรับเกษตรกรภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง
8. การเพาะปลูกผักเกษตรอินทรียสมบูรณเพื่อการสงออก ผักและผลไม ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร
ตลาดโลกของประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน
9. สายพันธุถั่วเหลืองที่มีศักยภาพในการตรึงไนโตรเจนสูง ผักและผลไม สถานีวิจัยเขาหินซอนสถาบันอินทรีจันทรสถิตยฯ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
10. การเพาะปลูกขาวโพดหวานเกษตรอินทรียสมบูรณ เพื่ออุตสาหกรรม ผักและผลไม ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร
เกษตรและการสงออกตลาดโลกโดยประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน
11. ความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนท ผักและผลไม คณะวิศวกรรมละอุตสาหกรรมเกษตร
ของสารสกัดจากผักอินทรีย มหาวิทยาลัยแมโจ
12. การปลูกผักรวมกับปอเทือง ผักและผลไม ศูนยฝกอบรมวิศวกรรมเกษตร บางพูน
13. ผลของการใชจุลินทรียอีเอ็ม(Em)ตอการเพิ่มผลผลิต ผักและผลไม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย
เห็ดโคนญี่ปุนในฟางขาว
14. ขาวโพดหวานอินทรีย ผักและผลไม สถาบันวิจัยและเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยเทคดนโลยีราชมงคลลานนา
15. ชาอินทรีย ผักและผลไม สำนักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง
16. การเจริญเติบโตและผลผลิตเมล็ดของถั่วเขียว ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน
ที่ไดจากการปลูกโดยใชปุยอินทรียและปุยเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน
17. อิทธิพลของพันธุและระยะปลูกตอการผลิต ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน
เมล็ดพันธุถั่วเขียวตามระบบเกษตรอินทรีย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน
18. อิทธิพลของปุยอินทรียและปุยเคมีตอการเจริญเติบโต ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน
และการสรางผลผลิตของผักชี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน
19. การเปรียบเทียบผลผลิตและคุณภาพของเมล็ดพันธุถั่วเหลืองและ ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน
ถั่วงอกหัวโตที่ไดจากการผลิตแบบเกษตรอินทรียและแบบใชสารเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน
สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)4
รหัส ชื่อโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรับผิดชอบ
20. ผลผลิตและคุณภาพผลผลิตของขาวโพดฝกออนพันธุการคา4 ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน
พันธุที่ผลิตแบบระบบเกษตรดีที่เหมาะสมและระบบเกษตรอินทรีย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน
21. การประเมินความตานทานไวรัสเสนใบเหลืองและผลผลิต ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน
ของพันธุลูกชั่วที่2และพันธุลูกผสมกระเจี๊ยบเขียว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน
22. ผลของปุยอินทรียอผลผลิตและคุณภาพของหนอไมฝรั่ง ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน
23. ผลของปุยชีวภาพตอการสรางผลผลิตของคะนา ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน
24. การศึกษาอิทธิพลของปุยอินทรียและปุยชีวภาพ ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน
ตอการสรางผลผลิตผักบุงจีน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน
25. การศึกษาศักยภาพการผลิต การขนสง และการตลาด ผักและผลไม สถาบันวิจัยและพัฒนา
ผักอินทรียตามมาตรฐานสากลเพื่อการสงออก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
26. การศึกษาศักยภาพการผลิตผักอินทรียและแนวทาง ผักและผลไม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
การสรางรูปแบบความสัมพันธระหวางภาคการผลิต
และการตลาดผักอินทรียอยางครบวงจร
27. โครงการนำรองการใชบรรจุภัณฑพลาสติกชีวภาพ ผักและผลไม สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)
สำหรับลำไยอินทรีย
28. หลักสูตรการปลูกกลวยไขและมะละกออินทรียวิทยาลัยชุมชน ผักและผลไม วิทยาลัยชุมชนแพร
29. ศักยภาพการปลูกสละ “พันธุเนินวง” ดวยระบบ ผักและผลไม คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
เกษตรอินทรียในจังหวัดอุบลราชธานี
30. การเพาะปลูกผลไมเกษตรอินทรียสมบูรณ ผักและผลไม ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร
เพื่อการสงออกตลาดโลกของประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน
31. น้ำนมอินทรียที่มีปริมาณ CLA และ OMEGA 3 สูง ปศุสัตวและ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)
ประมง
32. การเลี้ยงไกไข(อินทรีย) ปศุสัตวและ ศูนยเรียนรูชุมชนปลักไมลาย จังหวัดนครปฐม
ประมง และสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
33. น้ำนมแพะอินทรีย ปศุสัตวและ สำนักงานปศุสัตวจังหวัดภูเก็ต
ประมง
34. เปดไขอินทรียเชียงใหม ปศุสัตวและ สำนักสุขศาสตรสัตวและสุขอนามัยที่ 5
ประมง
35. เครือขายปศุสัตวอินทรียบานทัพไท สุรินทร ตัวอยาง ปศุสัตวและ สำนักสุขศาสตรสัตวและสุขอนามัยที่ 3
การพัฒนาชนบทดวยเกษตรอินทรียครบวงจร ประมง
36. การปรับเปลี่ยนการเลี้ยงโคนมสูมาตรฐานโคนมอินทรีย ปศุสัตวและ ศูนยปศุสัตวอินทรีย กรมปศุสัตว
ประมง
37. การศึกษาประสิทธิภาพของพืชสมุนไพรไทยในการยับยั้งการ ปศุสัตวและ ภาควิชาสัตวศาสตร คณะเกษตรศาสตร
เจริญเติบโตของเชื้อ อี.โคไล ชนิดกอโรคในทางเดินอาหาร ประมง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
38. การศึกษาศักยภาพการเลี้ยงสุกรกึ่งชีวภาพ ปศุสัตวและ คณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติ
เพื่อประยุกตใชสำหรับเกษตรกรรายยอย ประมง และสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยนเรศวร
39. การผลิตเมล็ดพันธุพืชอาหารสัตวอินทรียในนาราง ปศุสัตวและ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
จังหวัดสุราษฎรธานี ประมง วิทยาเขตสุราษฎรธานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
40. การผลิตเมล็ดพันธุพืชอาหารสัตวอินทรีย ปศุสัตวและ กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว
เพื่อใชเปนอาหารสัตวอินทรีย ประมง
41. น้ำผึ้งอินทรียทางการแพทย ปศุสัตวและ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)
ประมง
42. โครงการเลี้ยงปลาเบญจพรรณอินทรีย ปศุสัตวและ วิทยาลัยชุมชนยโสธร
ประมง
องคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย ป พ.ศ. 2552-2553 5
รหัส ชื่อโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรับผิดชอบ
43. ผลิตภัณฑอินทรียสำหรับทำความสะอาดและดูแลผิวเด็ก แปรรูป สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)
จากน้ำมันหอมระเหยที่สกัดดวยวิธีของเหลวยิ่งยวด
44. “LumLum”ซอสพริกอินทรียที่มีไลโคพีนสูง แปรรูป สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)
45. น้ำสมสายชูหมักจากเสาวรส แปรรูป วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการโนนดินแดง
46. การแปรรูปและถนอมอาหารเกษตรอินทรียของ แปรรูป มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
ชุมชนโรงเรียน ตำรวจตระเวนชายแดน
47. การถายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑอาหาร แปรรูป คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร
และเครื่องดื่มเกษตรอินทรีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
48. การปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑปลาดุกรา แปรรูป คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน
ดวยการเติมสมุนไพรไทย มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
49. การพัฒนาผลิตภัณฑโจกขาวเจาหอมดำอินทรีย แปรรูป คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ผสมกึ่งสำเร็จรูป มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
50. การพัฒนาผลิตภัณฑเครื่องดื่มจากขาวเจาหอมดำอินทรีย แปรรูป คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
51. การพัฒนาผลิตภัณฑคุกกี้ขาวสังขหยดเพื่อสุขภาพ แปรรูป คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
52. น้ำมันรำขาวและจมูกขาวหอมมะลิอินทรีย แปรรูป สหกรณกรีนเนท จำกัด
53. “ตะวัน คันไถ” ปุยอินทรียคุณภาพสูง ปจจัยการผลิต สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)
54. สารชีวภาพเพื่อกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาขาว ปจจัยการผลิต สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)
55. ชีวภัณฑจากจุลินทรียปฏิปกษ (PMOs) ปจจัยการผลิต คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ยับยั้งเชื้อกอโรคเหี่ยว (Ralstonia solanacearum) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม
56. การใชสาร allelopathy จากพืชและการคลุมดินในการ ปจจัยการผลิต ฝายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง
ควบคุมวัชพืชในแปลงปลูกผักระบบเกษตรอินทรีย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน
57. การผลิตเชื้อจุลินทรียสำหรับยอยสลายสาร ปจจัยการผลิต สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและ
ในขยะและน้ำเสียเชิงพาณิชย มาตรฐานผลิตภัณฑ มหาวิทยาลัยแมโจ
58. การใชถั่วปุยพืชสดเปนปุยอินทรีย ปจจัยการผลิต วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพัทลุง
ในการผลิตขาวพันธุสังขหยดพัทลุง
59. การประยุกตใชเชื้อรา Beauveria bassiana สายพันธุ ปจจัยการผลิต คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ทองถิ่นในการควบคุมศัตรูพืชเพื่อการผลิตผักวงศกะหล่ำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
ปลอดภัยจากสารพิษในสภาพควบคุม
60. การถายทอดเทคโนโลยีเชิงปฏิบัติการเรื่อง ปจจัยการผลิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
การผลิตปุยหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใช เขตพื้นที่เชียงราย
61. โครงการอบรมการทำปุยอินทรียจากมูลสัตวและเศษกากพืช ปจจัยการผลิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
เขตพื้นที่เชียงราย
62. การผลิตจุลินทรียที่เปนประโยชนจากปุยอินทรีย ปจจัยการผลิต คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยแมโจ
63. หัวเชื้อจุลินทรีย 8พลัง (8เซียน) ปจจัยการผลิต ที่ปรึกษาชมรมเกษตรอินทรียแหงประเทศไทย
64. เชื้อสเตรปโตมัยซิส:จุลินทรียควบคุมโรคผลเนาแบคทีเรียของแตง ปจจัยการผลิต ภาควิชาพืชศาสตรและทรัพยากรการเกษตร
คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
65. ปุยน้ำชีวภาพ ไบโอเทค-1 ปจจัยการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยขอนแกน
66. ปุยน้ำชีวภาพ ไบโอเทค-2 ปจจัยการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยขอนแกน
67. ปุยน้ำชีวภาพ ไบโอเทค-3 ปจจัยการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยขอนแกน
สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)6
รหัส ชื่อโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรับผิดชอบ
68. ปุยน้ำชีวภาพ มข.1 ปจจัยการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยขอนแกน
69. การศึกษาประสิทธิภาพของเชื้อรา Pochonia chlamydosporia ปจจัยการผลิต คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ตอการควบคุมไสเดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita
70. การผลิตปุยอินทรียแบบเติมอากาศ ปจจัยการผลิต คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
เพื่อเปนปจจัยการผลิตพืชผักอินทรีย มหาวิทยาลัยแมโจ
71. การผลิตปุยอินทรียไมพลิกกลับกองวิธีวิศวกรรมแมโจ1 ปจจัยการผลิต คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยแมโจ
72. การผลิตเชื้อจุลินทรียควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืช ปจจัยการผลิต สำนักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาที่ดิน
โดยใชสารเรงซุปเปอรพด3.
73. สารเรงซุปเปอร พด.7 สำหรับผลิตสารควบคุมแมลงศัตรูพืช ปจจัยการผลิต สำนักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาที่ดิน
74. ปุยชีวภาพ พด.12 ปจจัยการผลิต สำนักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาที่ดิน
75. จุลินทรียสำหรับพืชปรับปรุงบำรุงดิน พด11. ปจจัยการผลิต สำนักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาที่ดิน
76. การนำรองการใชถุงพลาสติกชีวภาพPBSในการคัดแยก ปจจัยการผลิต สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)
ขยะอินทรียเพื่อผลิตปุยอินทรียณเกาะเสม็ด
77. ‘Phaya-Hero’ ผลิตภัณฑกำจัดแมลงศัตรูพืช ปจจัยการผลิต สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)
จากสารสกัดสมุนไพรหนอนตายหยาก
78. การจัดทำมาตรฐานเกษตรอินทรีย ป 2553 มาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร
แหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ
79. โครงการพัฒนาระบบการผลิตและมาตรฐาน มาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร
ระบบการตรวจรับรองเกษตรอินทรียทองถิ่น แหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ
80. โครงการพัฒนาตลาดและระบบการตรวจรับรอง มาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร
สินคาเกษตรอินทรีย แหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ
81. การใช IT ในการบริหารจัดการระบบควบคุมภายใน สำหรับ มาตรฐาน มูลนิธิสายใยแผนดิน/กรีนเนท
การตรวจสอบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียแบบกลุมผูผลิต
82. ระบบ ICM สำหรับการผลิตพืชอินทรีย รูปแบบการผลิต สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)
83. วิจัยและพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืนเพื่อประโยชนตอ รูปแบบการผลิต สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและ
การศึกษาและการอนุรักษสิ่งแวดลอม : มิติใหมของ มาตรฐานผลิตภัณฑ มหาวิทยาลัยแมโจ
การเกษตรเพื่อสุขภาพและความอยูรอด
84. การพัฒนาความสามารถในการทำเกษตรอินทรียของกลุม รูปแบบการผลิต ภาควิชาพืชไร คณะเกษตรศาสตร
ชุมชนวิทยาศาสตรเกษตรกรพอเพียงบานหนองมัง อำเภอสำโรง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
จังหวัดอุบลราชธานี : กรณีเกษตรอินทรียกับนิเวศนเกษตร
85. การพัฒนารูปแบบการทำเกษตรอินทรียของสมาชิก รูปแบบการผลิต วิทยาลัยชุมชนยโสธร
ชมรมรักษธรรมชาติ จังหวัดยโสธร
86. การพัฒนาตนแบบระบบเกษตรอินทรีย รูปแบบการผลิต สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
ภายใตกรอบทฤษฎีใหม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
87. เครื่องปนวัสดุการเกษตรเอนกประสงค อื่นๆ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา
88. เครื่องอัดเม็ดปุยอินทรียแบบประยุกต อื่นๆ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพิจิตร
89. ผาทอเสนใยกัญชงอินทรียแบบยกดอกสำเร็จรูป อื่นๆ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)
90. การบมเพาะผูประกอบการเกษตรอินทรีย อื่นๆ มูลนิธิสายใยแผนดิน/กรีนเนท
91. ไบโอคลีน อื่นๆ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยขอนแกน
92. บานหญาแฝก อื่นๆ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
93. ‘สรีรารมย’ออรแกนิคเมดิคัลสปา อื่นๆ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)
รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย
ป พ.ศ. 2552-2553
กลุมที่ 1: ขาว
การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย
1. ชื่อผลงาน การเพาะปลูกขาวหอมมะลิ105 เกษตรอินทรียสมบูรณแบบบริเวณเขตภาคกลางของ
ประเทศไทย
Fully Organic Rice Production var. Koa-Dok-Ma-Li-105 on Central Region of
Thailand
2. ชื่อเจาของผลงาน หางหุนสวนจํากัดพรุฟอิท และ
ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน
3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน
จากแนวคิดทางวิทยาศาสตรการเกษตรในการเพาะปลูกขาวหอมมะลิ105 เพิ่มเติมนอกพื้นที่หลักในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ซึ่งไดแก ภาคกลางที่มีพื้นที่ปลูกขาวมากกวา 30 ลานไรที่มีระบบ
ชลประทานที่เพียงพอ จึงไดมีการศึกษาเบื้องตน พบวาสามารถเพาะปลูกไดโดยมีปริมาณผลผลิตตอไรเพิ่มจาก
ผลผลิตขาวเปลือก 300-500 กิโลกรัมตอไร มาสูที่ระดับผลผลิตขาวเปลือก 800-1,000 กิโลกรัมตอไร แตคุณภาพ
ความหอมของขาวหอมมะลิ105 ในผลิตในภาคกลางมีความหอมต่ํากวาขาวหอมมะลิ105 ที่ปลูกจากภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ จึงไดมีแนวคิดเพื่อเพิ่มความหอมในขาวหอมมะลิ105โดยปลูกแบบเกษตรอินทรียที่ไมใช
ปุยเคมี สารกําจัดศัตรูพืชทุกชนิด จากการศึกษาพบวา การเพาะปลูกขาวหอมมะลิ105ในระบบเกษตรอินทรียบน
พื้นที่เพาะปลูกในเขตภาคกลาง ไดผลผลิต 1000 กิโลกรัมขาวเปลือกตอไรโดยมีคุณภาพความนุมและความหอม
ไมนอยกวาขาวหอมมะลิ105 ที่ปลูกจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
4. รายละเอียดผลงาน
โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเทศสําหรับการผลิตขาวหอมมะลิ
เกษตรอินทรีเพื่อการสงออกไปตลาดโลกและตลาดภายในประเทศไทย จากการใชประโยชนของทรัพยากรที่ดิน
แหลงน้ํา บุคลากรทั้งระดับเกษตรกรและนักวิชาการ พันธุขาวหอมมะลิ105 ปจจัยการผลิต (ปจจัยผันแปร)
ทั้งหมดจากประเทศไทย โดยมีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และตรงกับ
หลักการมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการเกษตรดานความปลอดภัย
ที่กําหนดใหไมมีสารพิษตกคางทางการเกษตร (zero-detection of agricultural chemical residues) ได
5. สถานภาพของผลงาน
เสร็จสิ้น และพรอมถายทอดเทคโนโลยีและฝกอบรมความรูเกษตรอินทรียสมบูรณแบบสูเกษตรกรและ
องคกรตางๆ ระยะเวลา 5-7 วัน
6. สถานที่ติดตอ
- หจก.พรุฟอิท 399/1-9 ถนนทาเรือ-ทาลาน ต.จําปา อ.ทาเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา 13130
โทร. 035-341-580
- ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 50
ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-561-3482
การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย
1. ชื่อผลงาน ขาวอินทรียและการผลิตดวยเทคโนโลยีที่เหมาะสม
2. ชื่อเจาของผลงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ
3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน
ขาวอินทรีย (Organic Rice) เปนขาวที่ไดจากการผลิตแบบเกษตรอินทรีย (Organic Farming) ซึ่งเปน
วิธีการผลิตที่หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีหรือสารสังเคราะห เชน ปุยเคมี สารเรงการเจริญเติบโต สารควบคุม สาร
กําจัดวัชพืช สารปองกันกําจัดโรคแมลง และศัตรูขาวในทุกขั้นตอนการผลิต รวมถึงในระหวางการเก็บเกี่ยว
ผลผลิตและการเก็บรักษาผลผลิต โดยเกษตรกรสามารถใชสารสกัดจากพืชหรือวัสดุจากธรรมชาติที่ไมมีสารพิษ
ตกคางในผลิตผลและสิ่งแวดลอมและสถานการณปจจุบันเกษตรกรมีตนทุนในการผลิตสูงเนื่องจากการใชแรงงาน
ของครัวเรือนลดลงมีการใชเทคโนโลยีจากตางประเทศ ปจจัยการผลิตมีราคาสูงขึ้น เกิดภัยทางธรรมชาติ มี
ปญหาเกี่ยวกับวัชพืชและศัตรูพืช ซึ่งเกษตรกรสวนใหญขาดองคความรูในการแกไขปญหาดังกลาวรวมถึงการ
ขายผลผลิตขาวไดราคาต่ํา ดังนั้นมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถจึงไดจัดทําชุดความรูในการผลิตขาวตนทุนต่ํา
โดยการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมรวมกับภูมิปญญาทองถิ่นของเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ
4. รายละเอียดผลงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ ไดเสนอสภามหาวิทยาลัยที่จะใหบริการวิชาการในโครงการเกษตรเพื่อ
ลดตนทุน โดยมอบหมายใหศูนยการเรียนรูชุมชนมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ ดําเนินการ ดังนี้
1) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลักสูตร/ สรางจิตสํานึกที่ดีในการประกอบอาชีพ
2) ปรับปรุงโครงสรางดินดวยปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร
3) คัดกรองพันธุขาวหอมทองถิ่นในจังหวัดอุตรดิตถ
4) การผลิตสารสมุนไพร และสารชีวภัณฑเพื่อปองกันรักษาโรคพืชและแมลงศัตรูพืช
5) เทคโนโลยีภูมิปญญาทองถิ่น พัฒนาดวยปราชญชาวบานกับนักวิชาการ (เครื่องหยอดเมล็ดพันธุขาว)
6) การเฝาระวัง และการตรวจติดตามผลในแปลงนา
7) ผลผลิตขาว หอมแดง และหอมนิล
5. สถานภาพของผลงาน
ทดลองใชและขยายผลกับเกษตรกรในจังหวัดอุตรดิตถ
6. สถานที่ติดตอ
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ
การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย
1. ชื่อผลงาน การศึกษาวิธีการเพิ่มผลผลิตของขาวดวยระบบปลูกแบบ SRI ในจังหวัดพัทลุง
Study high-yield method of rice with the system of rice intensification (SRI) in
Phatthalung Province
2. ชื่อเจาของผลงาน อาจารย นันทิยา พนมจันทร, จตุพร ไกรถาวร และชนสิริน กลิ่นมณี
สังกัดคณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน
พัทลุงเปนแหลงปลูกขาวที่สําคัญที่สุดของภาคใต ปญหาที่เกิดขึ้นดานการผลิตขาวคือ ผลผลิตตอไรต่ํา
ขาวคุณภาพต่ํา มีการปนเปอนสารเคมี ขาดแคลนน้ําในฤดูแลง และดินขาดอินทรียวัตถุแนนทึบและเปนกรด จาก
ปญหาดังกลาวโดยเฉพาะดานผลผลิตตอไรต่ํา สามารถแกไขปญหาไดโดยพิจารณาจากความเหมาะสมของระยะ
ปลูก ระบบการผลิตขาวแบบ SRI (The system of rice intensification) เปนระบบการปลูกพืชที่พยายามจะสราง
สภาพแวดลอมใหมที่เอื้อตอการแสดงศักยภาพของตนขาวอยางเต็มที่ ตั้งแตการเตรียมกลาที่ระยะ 8-12 วัน
ลักษณะการเตรียมดิน วิธีการยายปลูกแบบตัว L แทนการปกดํา ใชหนึ่งตนตอหลุม ระยะระหวางหลุมเทากัน
และการจัดการน้ําโดยปลอยใหหนาดินแกงและเปยกสลับกันจนกระทั่งถึงระยะกอนออกรวงเล็กนอย จึงปลอยน้ํา
ทวมประมาณ 1-2 เซนติเมตร ไมมีการใชสารเคมีกําจัดวัชพืช ใชปุยอินทรียแทนการใชปุยเคมี ระบบการผลิตขาว
แบบ SRI จึงปราศจากสารพิษตกคางในดินและพืช รวมทั้งยังชวยปรับโครงสรางของดินใหดีขึ้นทําใหรากพืช
เจริญเติบโต ในดินไดดี สงผลใหผลผลิตขาวเพิ่มสูงขึ้น ดังนั้นจึงทําการศึกษาเพื่อหาวิธีการเพิ่มผลผลิตของขาวให
สูงขึ้นดวยระบบปลูกแบบ SRI ซึ่งเปนระบบการปลูกพืชแบบใหมที่สามารถลดตนทุนการผลิต ชวยเพิ่มผลผลิต
ผลผลิตมีคุณภาพไดมาตรฐานและปลอดภัย และสามารถแกปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติได
ดวย
4. รายละเอียดผลงาน
การศึกษาเกี่ยวกับระบบปลูกแบบSRI เปนระบบการปลูกพืชที่พยายามจะสรางสภาพแวดลอมใหมที่เอื้อ
ตอการแสดงศักยภาพของตนขาวอยางเต็มที่เพื่อใหมีผลตอการเพิ่มผลผลิตในขาวพันธุพื้นเมือง พันธุขาวที่
สอดคลองกับยุทธศาสตรของจังหวัด และขาวพันธุใหม ๆ ที่ปรับปรุงพันธุขึ้นมาใหเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว
ในเขตพื้นที่จังหวัดพัทลุง
5. สถานภาพของผลงาน
ดําเนินโครงการเสร็จสิ้นแลว
6. สถานที่ติดตอ
คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 222 หมู 2 ต.บานพราว
อ.ปาพะยอม จ.พัทลุง 93110
การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย
1. ชื่อผลงาน การทํานาขาวอินทรีย
2. ชื่อเจาของผลงาน สถาบันการพัฒนาการเรียนรูเกษตรอินทรีย จ.สุพรรณบุรี (นายทองเหมาะ แจมแจง)
3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน
การทํานาขาวอินทรีย เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมการเกษตรภายใตโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนว
ทฤษฎีใหม โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งการทํานาขาวอินทรียนั้นจะชวยลดตนทุนการผลิตและเพิ่ม
ผลผลิตเพราะการใชปุยจุลินทรียจะทําใหไดผลผลิตประมาณ 800 กิโลกรัม/ไร โดยตนทุนในการใชปุยอินทรีย
ประมาณ 200 บาท/ไร ในขณะที่ใชปุยเคมีจะไดผลผลิตประมาณ 400 บาท ตอไร
4. รายละเอียดผลงาน
การทํานาขาวอินทรีย มีขั้นตอนการดําเนินงานดังนี้
- การเตรียมพันธุขาวและการคัดเลือกพันธุ ตองเลือกเมล็ดขาวที่โตมีความสมบูรณแกจัดถอนออกเปน
รวงที่สมบูรณที่สุด โดยแยกเมล็ดขาวและฟางขาวออกจากกัน จากนั้นนําเมล็ดมาฝดเพื่อคัดเลือกเมล็ดพันธุที่ไม
สมบูรณออก แลวนําเมล็ดขาวที่คัดเลือกวาดีมาตากแหงเก็บไวทําพันธุตอไป
- การเตรียมคูคันนา การทํานาตองเตรียมคูคันนาใหมีความสูงประมาณ 50 – 70 เซนติเมตร หนา 60
– 80 เซนติเมตร เพื่อกักเก็บน้ํา ถาไมมีน้ําขังจะเกิดวัชพืชในนาขาว คันนา ควรใสทอระบายน้ําชวงแรกในการปก
ดําไมควรใหระดับน้ําสูงมากกวา 10 เซนติเมตร เพราะตนขาวยังไมแข็งแรงพอ ถามีน้ําในแปลงนามากจะทําใหตน
ขาวเนาได การขังน้ําควรใหอยูในระดับเดียวกันดวย
- การนําจุลินทรียมาหมักเมล็ดขาว โดยใหน้ําจุลินทรียทวมเมล็ดขาว หากมีเมล็ดขาวฟูน้ํา ใหเก็บออก
ใหหมดควรแชเมล็ดขาวประมาณ 2 – 3 วัน และนําขึ้นจากน้ํามาพักไว 1 วัน แลวนํามาหวานในแปลงที่เตรียมไว
- การเตรียมแปลงเพาะกลาพันธุขาว ควรไถคราดดินใหรวนซุยและระดับพื้นเสมอกัน ปลอยทิ้งไว 2-3
ชม. นําเมล็ดขาวที่เตรียมไวมาหวาน ทั้งนี้ โดยประมาณ 10 – 15 วัน ตนกลาตั้งหนอไดแข็ง นําน้ําจุลินทรียผสม
น้ําพนตนกลา ผสมน้ําจุลินทรีย 3 ชอนโตะ กับน้ํา 20 ลิตร พนใหทั่วแปลงกลาและขังน้ําใสตนกลาอยาใหน้ําขาด
จากแปลงตนกลา โดยกอนจะถอนตนกลา 5 วัน ใชน้ําจุลินทรียพนอีกเพื่อถอนไดงาย
- การปกดํา ในชวงกอนปกดําควรขังน้ําไวในนาเพื่อทําใหดินนิ่ม พอถึงเวลาดํานาควรปลอยน้ําที่ขัง
ออกคันนาใหเหลือประมาณ 10 -15 ซม. หลังจากนั้น นําตนกลามาปกดํา กําหนดใหระยะหางระหวางตนประมาณ
40 ซม. เพื่อใหแตกกอไดดี โดยใสตนกลากอละประมาณ 2 – 3 ตน เมื่อปกดําแลว 15 วัน นําจุลินทรียไปผสมน้ํา
พนตนขาวเพื่อกระตุนเชื้อจุลินทรียตอนเตรียมดินและทําใหตนขาวแข็งแรงเติบโตและทนตอศัตรูขาว ตองคอยดูแล
รักษาตนขาวและดูระดับน้ําอยาใหขาดจากนาขาว และพนจุลินทรียทุก 20 วัน จนขาวตั้งทองจึงงดพนจุลินทรีย แต
ยังคงตองรักษาระดับน้ําไวอยางเดิม
- ปญหาโรคแมลงในนาขาว ถามีโรคแมลงมารบกวน ใหใชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ ไลแมลงชนิดสกัดหรือ
หมัก ฉีดพนในอัตรา 3-5 ชอนโตะ ตอน้ํา 20 ลิตร พนติดตอกัน 3 วัน โดยเฉพาะควรฉีดพนชวงเย็น
5. สถานภาพของผลงาน
เสร็จสิ้น และมีระบบการผลิตขาวที่ใชในการดํารงชีวิตประจําวันของปราชญชาวบาน
6. สถานที่ติดตอ
สถาบันการพัฒนาการเรียนรูเกษตรอินทรีย (นายทองเหมาะ แจมแจง) 52 หมู 6 ตงวังหวา อ.ศรีประจันต
จ.สุพรรณบุรี โทร 087-0251240
การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย
1. ชื่อผลงาน อิทธิพลของจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพ(Effective Microorganisms, EM) ที่มีตอการ
เจริญเติบโตและผลผลิตของขาวเจาสายพันธุขาวดอกมะลิ 105 ในดินชุดรอยเอ็ด
(Effects of Effective Microorganisms on growth and yields of Khao-Dawk-MaLi 105
Rice on Roi-et Soil Series)
2. ชื่อเจาของผลงาน นายประพนธ บุญเจริญ และคณะ
3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน
ปจจุบันมีการใชสารจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพสูง(Effective Microorganism, EM) เพื่อการเกษตรกรรม
ดานการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว ซึ่งกําลังไดรับความสนใจจากเกษตรกร และมีการนํา EM มาใชกันอยางแพรหลาย
แตยังไมมีหลักฐานทางวิชาการสนับสนุนดานความเปนประโยชน และนอกจากนี้ผลตอการเปลี่ยนแปลงเพิ่มธาตุ
อาหารในดิน ในแงของการไปชวยเรงการยอยสลายเศษซากพืชและสัตวในดิน ที่ตองใชเวลาคอนขางหลายป
ดังนั้นคณะวิจัยจึงไดทําการทดลองเพื่อที่จะศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผลของการใช EM ที่มีตอการเจริญเติบโตและ
ผลผลิตขาวเจาสายพันธุขาวดอกมะลิ 105 ที่ปลูกในดินชุดรอยเอ็ด ในสภาพโรงเรือนและแปลงนาปลูกพืชทดลอง
ในชวงเวลาตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2546 ถึงพฤศจิกายน 2547 ในฤดูนาปรังและนาป
4. รายละเอียดผลงาน
การใส EM อยางเดียว ใหจํานวนใบตอตน จํานวนตนตอกอ และความสูงของตนขาวเจาสายพันธุ ขาว
ดอกมะลิ 105 ไมแตกตางทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการไมใสปุยและไมใส EM ขณะที่การใสปุยเคมี ปุยคอก
และปุยหมักชีวภาพทั้งที่ใสและไมใส EM รวม ทําใหจํานวนตนตอกอ และความสูงเพิ่มขึ้น
การใส EM ใหผลผลิตขาวเจาสายพันธุขาวดอกมะลิ 105 ไมแตกตางทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการไม
ใสปุยและไมใส EM
การใส EM อยางเดียว ไมทําใหปริมาณธาตุอาหารในดินเพิ่มสูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติทางเคมี
ของดินกอนและหลังทําการทดลอง แตปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนและโปแตสเซียม มีปริมาณลดลง
มาก ขณะที่การใสปุยเคมีมีผลทําใหคาความเปนกรดในดินสูงขึ้น
การใสปุยคอกทั้งที่ใสและไมใส EM รวม มีผลทําใหปริมาณของเปอรเซ็นตอินทรียวัตถุในดินหลังการ
ทดลองเพิ่มสูงขึ้น ขณะที่การไมใสปุยและไมใส EM มีผลทําใหปริมาณธาตุอาหารฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนลดลง
ต่ําสุด แมวาการใส EM ทําใหการเจริญเติบโตและผลผลิตของขาวเจาสายพันธุขาวดอกมะลิ 105 เพิ่มขึ้นไม
แตกตางทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการไมใสปุยและใส EM แตเปนเพียงผลการทดลองในปที่ 1 ซึ่งเปนชวง
ระยะเวลาสั้นๆ ดังนั้นควรไดทําการทดลองตอเนื่องเปนระยะเวลา 3-4 ปขึ้นไป
5. สถานภาพของผลงาน
เสร็จสิ้น
6. สถานที่ติดตอ
สํานักงานไรฝกทดลองและหองปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4
ถนนสถลมารค ตําบลเมืองศรีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190
การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย
1. ชื่อผลงาน การศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตขาวขาวดอกมะลิ 105 โดยวิธีการผลิตแบบ
อินทรียและแบบทั่วไป ในจังหวัดอุบลราชธานี
Study on growth and yield of Khao Dawk Mali 105 paddy under organic and
conventional rice cultivation in Ubon Ratchathani
2. ชื่อเจาของผลงาน รศ.ดร.สุวัฒน ธีระพงษธนากร และนางสาวอัญชณา สารแสน
3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน
กระบวนการผลิตขาวแบบอินทรียมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จังหวัดอุบลราชธานีเปน
จังหวัดหนึ่งที่นําระบบการผลิตขาวแบบดังกลาวเขามา โดยพันธุขาวที่ใชในการผลิต คือพันธุขาวดอกมะลิ 105 ซึ่ง
เปนพันธุสนับสนุนจากทางราชการสงเสริมใหปลูก แตการผลิตโดยการทําระบบเกษตรดังกลาวเมื่อเทียบกับระบบ
ทั่วไปยังไมสามารถกลาวไดแนชัด ถึงผลตอการเจริญเติบโต และการใหผลผลิตที่เหมาะสมกับการลงทุนของ
เกษตรกร เพื่อชวยเปนแนวทางตัดสินใจตอการผลิตขาวที่เหมาะสมตอเกษตรกร จึงควรมีการศึกษาเพิ่มเติมใน
ลักษณะดังกลาว
4. รายละเอียดผลงาน
สมบัติทางกายภาพและเคมีดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตของแปลงเกษตรกรปลูกขาวอินทรียโดยรวม ยังคงมี
ลักษณะอนุภาคดินและปริมาณธาตุอาหารตกคางในดินสูงกวาแปลงเกษตรกรปลูกขาวทั่วไป สําหรับตนขาวใน
ระยะแตกกอสูงสุด พบวา ขาวอินทรียมีปริมาณและการดูดใชไนโตรเจนในใบ ตน และรากต่ํากวาตนขาวทั่วไป 3
เทา แตปริมาณการดูดใชฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในตนขาวอินทรียมีสูงกวาตนขาวทั่วไป 3 และ 2 เทา
ตามลําดับ สวนในระยะเก็บเกี่ยวพบวา ตนขาวอินทรียมีปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมสูงกวาตนขาวทั่วไป
0.009 และ 0.059 เปอรเซ็นต ตามลําดับ สวนตนขาวทั่วไปมีการดูดใชไนโตรเจนและโพแทสเซียมสูงกวาตนขาว
อินทรีย 3 และ 6 เทาตามลําดับ สวนผลผลิต องคประกอบผลผลิตและคาดัชนีเก็บเกี่ยว เกษตรกรปลูกขาวอินทรีย
ไดผลผลิต 295 กิโลกรัมตอไรสูงกวาเกษตรกรปลูกขาวทั่วไปที่ไดผลผลิตเพียง 276 กิโลกรัมตอไร ทั้งนี้เนื่องจาก
ขาวอินทรียมีองคประกอบผลผลิต คือ จํานวนเมล็ดตอรวง เปอรเซ็นตเมล็ดดี น้ําหนัก 1,000 เมล็ด และดัชนีเก็บ
เกี่ยวสูงกวาขาวทั่วไป
ตนขาวเกษตรกรรายที่ 1 ตนขาวเกษตรกรรายที่ 2 ตนขาวเกษตรกรรายที่ 3 ตนขาวเกษตรกรรายที่ 4
5. สถานภาพของผลงาน
เสร็จสิ้น
6. สถานที่ติดตอ
ภาควิชาพืชไร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4 ถนนสถลมารค ตําบลเมืองศรีไค
อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190
การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย
1. ชื่อผลงาน ความเปนไปไดของการผลิตขาวหอมมะลิในระบบเกษตรอินทรียที่จะเปนอาชีพ
ทางเลือกที่มีศักยภาพในการแกไขปญหาความยากจนสําหรับเกษตรกรภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง
The Possibility of Hom Mali Rice Production in Organic Farming Systems as an
Alternative Farming Career with Poverty Alleviation Potential for Lower-
Northeastern Farmers
2. ชื่อเจาของผลงาน รศ.ดร.นันทิยา หุตานุวัตร และคณะ
3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน
การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อไดผลวิเคราะหความเปนไปไดของการผลิตขาวหอมมะลิในระบบ
เกษตรอินทรียที่จะเปนอาชีพทางเลือกที่มีศักยภาพในการแกไขปญหาความยากจนสําหรับเกษตรกร โดยมี
เกษตรกรกลุมศึกษาในจังหวัดสุรินทร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และรอยเอ็ด จํานวน 476 ราย
รวมทั้งไดศึกษาผูบริโภค 118 ราย ผูประกอบการโรงสีทั้งเอกชนและกลุมเกษตรกร 32 โรง ผูประกอบการคาขาว
และการสงออก 5 ราย และตัวแทนหนวยงานราชการระดับจังหวัดและสวนกลางที่เกี่ยวของ วิธีการวิจัยใชแบบ
สํารวจเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ
4. รายละเอียดผลงาน
ผลการศึกษาพบวา การผลิตขาวหอมมะลิอินทรียมีความเปนไปไดในการเปนอาชีพทางเลือกที่มี
ศักยภาพในการแกไขความยากจนทางสภาพสังคมและวัฒนธรรมในระดับสูง ทางสภาพกายภาพและชีวภาพ
ทางการผลิตในระดับกลางคอนขางสูง และทางสภาพเศรษฐกิจในระดับกลาง ดังนั้น เกษตรกรจึงควรมีทัศนคติและ
แรงบันดาลใจในการผลิตขาวหอมมะลิอินทรียดวยผลประโยชน 4 ประการ คือ 1) การฟนฟูแปลงนาใหอุดม
สมบรูณ ซึ่งจะทําใหผลผลิตขาวเพิ่มขึ้น 2) การใชปจจัยการผลิตที่ไดจากฟารมของตนเอง ทําใหลดตนทุนการ
ผลิตขาวที่เปนเงินสด 3) การใชประโยชนความเปนอินทรียของฟารมทําการผลิตชนิดอื่น ๆ ที่ใหผลตอบแทนเสริม
หรือไดเทาหรือดีกวาขาว 4) การลดความเสี่ยงจากอันตรายในการใชสารเคมีสังเคราะหปราบศัตรูพืช ทําให
สุขภาพของตนเองและครอบครัวดีขึ้น
นอกจากนี้ พบวาระบบเกษตรผสมผสานที่มีขาวหอมมะลิอินทรียเปนพืชหลักมีศักยภาพที่จะเปนอาชีพ
ทางเลือกในการแกไขความยากจน โดยจะตองมีความเขมขนของสวนประกอบ 5 ประการ ไดแก 1) การสราง
ระบบเกษตรที่ผสมผสานและหลากหลายโดยใชประโยชนหรือเกื้อกูลกันของการผลิต 2) การพึ่งปจจัยการผลิตใน
ฟารมของตนเองมากที่สุด 3) การผลิตชนิดอื่นตามศักยภาพพื้นที่และความตองการของตลาด 4) ความขยันเก็บ
ผลผลิตออกขายเปนรายไดประจํา 5) การเอาใจใสปกหลักการทําอาชีพเกษตรอินทรียผสมผสานโดยอาศัยอยูใน
ฟารม 6) การรวมกลุมและการสรางเครือขายของเกษตรกรจะเปนการเสริมสรางความแข็งแกรงของอาชีพ
ทางเลือกที่มีศักยภาพแกไขปญหาความยากจน
5. สถานภาพของผลงาน
เสร็จสิ้น
6. สถานที่ติดตอ
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4 ถนนสถลมารค ตําบลเมืองศรีไค
อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190
รายละเอียดองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย
ป พ.ศ. 2552-2553
กลุมที่ 2: ผักและผลไม
การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย
1. ชื่อผลงาน การเพาะปลูกผักเกษตรอินทรียสมบูรณ เพื่อการสงออกตลาดโลกของประเทศไทย
Fully Organic Economic Vegetables Production for Export to World Market of
Thailand
2. ชื่อเจาของผลงาน หางหุนสวนจํากัดพรุฟอิท และ
ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน
3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน
ดวยประเทศไทยใชที่ดินเพื่อการเพาะปลูกผัก 2.73 ลานไร ไดผลผลิตผักปละ 4.3 ลานเมตริกตัน มีการ
บริโภคภายในประเทศปละ 4.1 ลานเมตริกตัน และสามารถสงผักออกสูตลาดโลก (World Market) ไดปละ 0.2
ลานเมตริกตันมูลคา 6,300-8,000 ลานบาท ผักสงออกที่สําคัญไดแก ขาวโพดฝกออน หนอไมฝรั่ง กระเจี๊ยบเขียว
และใบบริโภคใบชนิดตางๆ วิทยาการและความรูในการเพาะปลูกผักเกษตรอินทรียสามารถผลักดันใหการสงออก
ไปยังตลาดโลก โดยมูลคาที่สงออกในปจจุบัน เพิ่มเปน 10,000 ลานบาท ประเทศไทยกลายเปนผูสงออกผัก
เกษตรอินทรียอันดับตนของตลาด และยังประโยชนที่สําคัญสามารถผานมาตรการกีดกันทางการคาได เพราะไมมี
การแขงขันในผลผลิตผักเกษตรอินทรีย ดวยความปลอดภัยที่สูงสุดจากการไมมีสารพิษตกคางในผลผลิตเกษตร
อินทรีย
4. รายละเอียดผลงาน
โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเทศสําหรับการผลิตผักกษตร
อินทรีเพื่อการสงออกไปตลาดโลกและตลาดภายในประเทศไทย จากการใชประโยชนของทรัพยากรที่ดิน แหลงน้ํา
บุคลากรทั้งระดับเกษตรกรและนักวิชาการ พันธุผัก ปจจัยการผลิต (ปจจัยผันแปร) ทั้งหมดจากประเทศไทย โดย
มีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และตรงกับหลักการมาตรฐานเกษตรอินทรีย
สากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการเกษตรดานความปลอดภัยที่กําหนดใหไมมีสารพิษตกคาง
ทางการเกษตร (zero-detection of agricultural chemical residues) ได
5. สถานภาพของผลงาน
เสร็จสิ้น และพรอมถายทอดเทคโนยีและฝกอบรมความรูเกษตรอินทรียสมบูรณแบบสูเกษตรกรและองคกร
ตางๆ ระยะเวลา 7-10 วัน
6. สถานที่ติดตอ
- หางหุนสวนจํากัดพรุฟอิท 399/1-9 ถนนทาเรือ-ทาลาน ต. จําปา อ. ทาเรือ จ. พระนครศรีอยุธยา 13130
โทร. 035-341-580
- ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 50 ถนนพหลโยธิน
แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-561-3482
การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย
1. ชื่อผลงาน สายพันธุถั่วเหลืองที่มีศักยภาพในการตรึงไนโตรเจนสูง
Soybean varietal on High N2-fixation Protential
2. ชื่อเจาของผลงาน นายธีระ สมหวัง สถานีวิจัยเขาหินซอน สถาบันอินทรีจันทรสถิตยฯ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ 10900
3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน
ถั่วเหลือง (Glycine max (L.)Merrill) เปนพืชที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทยพืชหนึ่ง ที่
การผลิตยังไมเพียงพอตอความตองการภายในประเทศ จึงตองนําเขาจากตางประเทศในรูปของกากถั่วเหลือง และ
เมล็ดเปนปริมาณกวาลานตันตอป สาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกษตรกรไมนิยมปลูกถั่วเหลืองเนื่องมาจากตนทุนการผลิต
คอนขางสูง การใชปุยเคมีไนโตรเจนก็เปนปจจัยหนึ่ง ซึ่งปุยเคมีไนโตรเจนในปจจุบันจะมีราคาแพง จากงาน
ทดลองของณัฐวุฒิ และคณะ (2540) พบวา เกษตรกร 81.0%ใสปุยเคมีไนโตเจน ในอัตรา 20-30 กิโลกรัม/ไร และ
ใชมาเปนระยะเวลานานหลายปทําใหโครงสรางของดินเสียและมีผลทําใหผลผลิตลดลง จึงมีการใชปุยเคมีในอัตรา
ที่มากขึ้นเพื่อทําใหได ผลผลิตที่สูง ดังนั้นจึงเปนการเพิ่ม ตนทุนการผลิตขึ้นไปอีก แตถั่วเหลืองก็มีขอไดเปรียบ
ตรงที่สามารถใชปุยไนโตรเจนจากการตรึงโดยแบคทีเรีย ไรโซเบียม การเพิ่มประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจน
สามารถทําได 2 แนวทางดวยกัน คือ การจัดการใหถั่วเหลืองมีการเจริญเติบโตสูงที่สุด โดยใหไดรับปจจัยการผลิต
สมบูรณที่สุด (Peoples et al., 1995) และการปรับปรุงพันธุถั่วเหลืองใหมีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนสูงขึ้น
4. รายละเอียดผลงาน
5. สถานภาพของผลงาน
อยูระหวางการดําเนินการทดสอบพันธุในชั่วลูกผสมที่ 8 ตรียมพรอมขึ้นทะเบียนพันธุ
6. สถานที่ติดตอ
สถานีวิจัยเขาหินซอน สถาบันอินทรีจันทรสถิตยฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
136 หมู 12 ต.เขาหินซอน อ. พนมสารคาม จ. ฉะเชิงเทรา24120 โทรศัพท 038-551111 โทรสาร 038-551201
E-mail address : ijstrs@ku.ac.th
การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย
1. ชื่อผลงาน การเพาะปลูกขาวโพดหวานเกษตรอินทรียสมบูรณ เพื่ออุตสาหกรรมเกษตรและการ
สงออกตลาดโลกโดยประเทศไทย
Fully Organic Sweet Corn Production for Agricultural Industry and Export to
World Market of Thailand
2. ชื่อเจาของผลงาน หางหุนสวนจํากัดพรุฟอิท และ
ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน
3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน
ปจจุบันประเทศไทยสงออกขาวโพดหวานแบบแปรรูปและแชแข็งไปยังตลาดสหภาพยุโรป และยังมี
ตลาดใหมที่มีปริมาณการสั่งซื้อในปริมาณมากดวยเชน ญี่ปุน ปจจัยที่สนับสนุนการขยายตัวของตลาดสหภาพ
ยุโรปที่สําคัญไดแก ผูบริโภคมีความตองการในขาวโพดหวานเกษตรอินทรีย ผูบริโภคในตลาดสหภาพยุโรปมี
รายไดตอคนตอปที่เพิ่มมากขึ้น มีการขยายตัวของ supermarket และ hypermarket เปนจํานวนมาก และ ตลาด
สหภาพยุโรปยังเขมงวดกวดขันในเรื่องการตรวจวิเคราะหสารพิษตกคางในผลผลิตขาวโพดหวาน เปนตน จาก
ขอมูลดังกลาว ทําใหเกิดแนวคิดทางวิทยาศาสตรเกษตรในการเพาะปลูกเพื่อผลิตขาวโพดหวานเกษตรอินทรีย
เพื่อนําไปแปรรูปในตลาดเดิม และสงในรูปขาวโพดหวานเกษตรอินทรียทั้งฝกที่บรรจุในถุงสุญญากาศ
4. รายละเอียดผลงาน
โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเทศสําหรับการผลิตขาวโพดหวาน
เกษตรอินทรีเพื่อการสงออกไปตลาดโลกและตลาดภายในประเทศไทย จากการใชประโยชนของทรัพยากรที่ดิน
แหลงน้ํา บุคลากรทั้งระดับเกษตรกรและนักวิชาการ พันธุขาวโพดหวาน ปจจัยการผลิต (ปจจัยผันแปร) ทั้งหมด
จากประเทศไทย โดยมีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และตรงกับหลักการ
มาตรฐานเกษตรอินทรียสากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการเกษตรดานความปลอดภัยที่
กําหนดใหไมมีสารพิษตกคางทางการเกษตร (zero-detection of agricultural chemical residues) ได
5. สถานภาพของผลงาน
เสร็จสิ้น และพรอมถายทอดเทคโนยีและฝกอบรมความรูเกษตรอินทรียสมบูรณแบบสูเกษตรกรและองคกร
ตางๆ ระยะเวลา 7-10 วัน
6. สถานที่ติดตอ
- หางหุนสวนจํากัดพรุฟอิท 399/1-9 ถนนทาเรือ-ทาลาน ต. จําปา อ. ทาเรือ จ. พระนครศรีอยุธยา 13130
โทร 035-341-580
- ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 50 ถนนพหลโยธิน
แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-561-3482
การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย
1. ชื่อผลงาน ความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนทของสารสกัดจากผักอินทรีย
Antioxidant activities of organically-grown vegetable extracts
2. ชื่อเจาของผลงาน ผศ. ดร.วิจิตรา แดงปรก
คณะวิศวกรรมละอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ
3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน
ปจจุบันผูคนไดใหความสนใจบริโภคผักอินทรียมากขึ้น แตขอมูลทางวิทยาศาสตรที่เกี่ยวกับผักอินทรีย
โดยเฉพาะในประเทศไทยยังมีนอยมาก งานทดลองนี้จึงมุงศึกษาความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนท
ของสารสกัดจากผักอินทรียชนิดตางๆ ที่มีจําหนายทั่วไปในทองตลาดจังหวัดเชียงใหม
4. รายละเอียดผลงาน
ผักอินทรียที่ศึกษาในการทดลองนี้มี 6 ชนิดคือผักบุงจีน กวางตุง คะนา กะหล่ําปลี ผักกาดขาวและ
ถั่วฝกยาว ทําการสกัดสารโดยใช 95%เอทานอลแลววัดความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนท โดยการ
วัดความสามารถในการตานอนุมูลอิสระชนิด DPPH และ ABTS วัดความสามารถในการรีดิวซ พบวาผักอินทรีย
ทุกชนิดมีความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนท โดยชนิดของผักที่มีความสามารถในการเปนสารแอนติ
ออกซิแดนทสูงสุดคือผักบุงจีน เมื่อทดลองนําสารสกัดจากผักบุงจีนอินทรียไปเติมในน้ํามันถั่วเหลือง พบวา
สามารถชะลอการเหม็นหืนของน้ํามันได
5. สถานภาพของผลงาน
เสร็จสิ้น
6. สถานที่ติดตอ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture
Organic agriculture

More Related Content

Similar to Organic agriculture

เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้
เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้
เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้Postharvest Technology Innovation Center
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Technology Innovation Center
 
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)Roppon Picha
 
หนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตร
หนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตรหนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตร
หนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตรpiyapornnok
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Technology Innovation Center
 
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]Thanachart Numnonda
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยNIMT
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553Postharvest Technology Innovation Center
 
ห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย
ห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย
ห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยsomporn Isvilanonda
 
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทายอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทายsomporn Isvilanonda
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste managementNithimar Or
 
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดsombat nirund
 
สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)
สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)
สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)piyapornnok
 

Similar to Organic agriculture (16)

เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้
เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้
เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
 
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
 
หนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตร
หนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตรหนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตร
หนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตร
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
 
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553
 
สตรอว์เบอร์รี
สตรอว์เบอร์รีสตรอว์เบอร์รี
สตรอว์เบอร์รี
 
ห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย
ห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย
ห้าทศวรรษการพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 55 , ตุลาคม 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 55 , ตุลาคม 2560สาระวิทย์ ฉบับที่ 55 , ตุลาคม 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 55 , ตุลาคม 2560
 
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทายอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste management
 
เกษตรแปลงใหญ่
เกษตรแปลงใหญ่เกษตรแปลงใหญ่
เกษตรแปลงใหญ่
 
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
 
สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)
สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)
สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)
 

More from Kant Weerakant Drive Thailand

What is innovation? How to capture this value? นวัตกรรม
What is innovation? How to capture this value? นวัตกรรมWhat is innovation? How to capture this value? นวัตกรรม
What is innovation? How to capture this value? นวัตกรรมKant Weerakant Drive Thailand
 
การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806
การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806
การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806Kant Weerakant Drive Thailand
 

More from Kant Weerakant Drive Thailand (20)

Innovate yourself
Innovate yourselfInnovate yourself
Innovate yourself
 
HoReCa business solutions 2018
HoReCa business solutions 2018HoReCa business solutions 2018
HoReCa business solutions 2018
 
Biowold doc
Biowold docBiowold doc
Biowold doc
 
Thailand's economic factsheet 2017
Thailand's economic factsheet 2017Thailand's economic factsheet 2017
Thailand's economic factsheet 2017
 
Presentation talent mobility
Presentation talent mobilityPresentation talent mobility
Presentation talent mobility
 
Organising for innovation
Organising for innovationOrganising for innovation
Organising for innovation
 
Inno tech and org dev
Inno tech and org devInno tech and org dev
Inno tech and org dev
 
Matching lab with design business
Matching lab with design businessMatching lab with design business
Matching lab with design business
 
Thailand City Innovation Challenge 2016
Thailand City Innovation Challenge 2016Thailand City Innovation Challenge 2016
Thailand City Innovation Challenge 2016
 
What is innovation? How to capture this value? นวัตกรรม
What is innovation? How to capture this value? นวัตกรรมWhat is innovation? How to capture this value? นวัตกรรม
What is innovation? How to capture this value? นวัตกรรม
 
Yothi innovation district
Yothi innovation district  Yothi innovation district
Yothi innovation district
 
National Research Award_2559
National Research Award_2559National Research Award_2559
National Research Award_2559
 
Innovative Medical Product
Innovative Medical Product Innovative Medical Product
Innovative Medical Product
 
Nia oct5 patai Startup
Nia oct5 patai StartupNia oct5 patai Startup
Nia oct5 patai Startup
 
Kant innovation process 2
Kant innovation process 2Kant innovation process 2
Kant innovation process 2
 
Intellectual Property Managment
Intellectual Property ManagmentIntellectual Property Managment
Intellectual Property Managment
 
การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806
การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806
การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806
 
R4i brochure
R4i brochureR4i brochure
R4i brochure
 
Innovation coupon - 2015-04-20
Innovation coupon - 2015-04-20Innovation coupon - 2015-04-20
Innovation coupon - 2015-04-20
 
Innovation in Biomedical Industry 2015
Innovation in Biomedical Industry 2015Innovation in Biomedical Industry 2015
Innovation in Biomedical Industry 2015
 

Organic agriculture

  • 1.
  • 3. สารบัญ รายชื่อองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย ป พ.ศ. 2552-2553 กลุมที่ 1: ขาว ............................................................................................................................. 7 กลุมที่ 2: ผักและผลไม .............................................................................................................. 15 กลุมที่ 3: ปศุสัตวและประมง...................................................................................................... 39 กลุมที่ 4: แปรรูป....................................................................................................................... 53 กลุมที่ 5: ปจจัยการผลิต............................................................................................................ 65 กลุมที่ 6: มาตรฐาน .................................................................................................................. 91 กลุมที่ 7: รูปแบบการผลิต ......................................................................................................... 97 กลุมที่ 8: อื่นๆ .........................................................................................................................103
  • 4. รายชื่อองคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย ป พ.ศ. 2552-2553 (เรียงตามประเภทผลงาน) รหัส ชื่อโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรับผิดชอบ 1. การเพาะปลูกขาวหอมมะลิ105 เกษตรอินทรียสมบูรณแบบ ขาว ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร บริเวณเขตภาคกลางของประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 2. ขาวอินทรียและการผลิตดวยเทคโนโลยีที่เหมาะสม ขาว มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ 3. การศึกษาวิธีการเพิ่มผลผลิตของขาวดวยระบบปลูก ขาว คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน แบบ SRI ในจังหวัดพัทลุง มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 4. การทำนาขาวอินทรีย ขาว สถาบันการพัฒนาการเรียนรูเกษตรอินทรีย จังหวัดสุพรรณบุรี และสำนักงานปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ 5. อิทธิพลของจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพ (Effective Microorganisms, ขาว คณะเกษตรศาสตร EM) ที่มีตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของขาวเจาสายพันธุ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ขาวดอกมะลิ 105ในดินชุดรอยเอ็ด 6. การศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตขาวขาวดอกมะลิ 105 โดย ขาว คณะเกษตรศาสตร วิธีการผลิตแบบอินทรียและแบบทั่วไป ในจังหวัดอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 7. ความเปนไปไดของการผลิตขาวหอมมะลิในระบบเกษตรอินทรีย ขาว คณะเกษตรศาสตร ที่จะเปนอาชีพทางเลือกที่มีศักยภาพในการแกไขปญหาความ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ยากจนสำหรับเกษตรกรภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง 8. การเพาะปลูกผักเกษตรอินทรียสมบูรณเพื่อการสงออก ผักและผลไม ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร ตลาดโลกของประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 9. สายพันธุถั่วเหลืองที่มีศักยภาพในการตรึงไนโตรเจนสูง ผักและผลไม สถานีวิจัยเขาหินซอนสถาบันอินทรีจันทรสถิตยฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 10. การเพาะปลูกขาวโพดหวานเกษตรอินทรียสมบูรณ เพื่ออุตสาหกรรม ผักและผลไม ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร เกษตรและการสงออกตลาดโลกโดยประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 11. ความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนท ผักและผลไม คณะวิศวกรรมละอุตสาหกรรมเกษตร ของสารสกัดจากผักอินทรีย มหาวิทยาลัยแมโจ 12. การปลูกผักรวมกับปอเทือง ผักและผลไม ศูนยฝกอบรมวิศวกรรมเกษตร บางพูน 13. ผลของการใชจุลินทรียอีเอ็ม(Em)ตอการเพิ่มผลผลิต ผักและผลไม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย เห็ดโคนญี่ปุนในฟางขาว 14. ขาวโพดหวานอินทรีย ผักและผลไม สถาบันวิจัยและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคดนโลยีราชมงคลลานนา 15. ชาอินทรีย ผักและผลไม สำนักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 16. การเจริญเติบโตและผลผลิตเมล็ดของถั่วเขียว ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน ที่ไดจากการปลูกโดยใชปุยอินทรียและปุยเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน 17. อิทธิพลของพันธุและระยะปลูกตอการผลิต ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน เมล็ดพันธุถั่วเขียวตามระบบเกษตรอินทรีย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน 18. อิทธิพลของปุยอินทรียและปุยเคมีตอการเจริญเติบโต ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน และการสรางผลผลิตของผักชี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน 19. การเปรียบเทียบผลผลิตและคุณภาพของเมล็ดพันธุถั่วเหลืองและ ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน ถั่วงอกหัวโตที่ไดจากการผลิตแบบเกษตรอินทรียและแบบใชสารเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน
  • 5. สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)4 รหัส ชื่อโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรับผิดชอบ 20. ผลผลิตและคุณภาพผลผลิตของขาวโพดฝกออนพันธุการคา4 ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน พันธุที่ผลิตแบบระบบเกษตรดีที่เหมาะสมและระบบเกษตรอินทรีย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน 21. การประเมินความตานทานไวรัสเสนใบเหลืองและผลผลิต ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน ของพันธุลูกชั่วที่2และพันธุลูกผสมกระเจี๊ยบเขียว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน 22. ผลของปุยอินทรียอผลผลิตและคุณภาพของหนอไมฝรั่ง ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน 23. ผลของปุยชีวภาพตอการสรางผลผลิตของคะนา ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน 24. การศึกษาอิทธิพลของปุยอินทรียและปุยชีวภาพ ผักและผลไม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน ตอการสรางผลผลิตผักบุงจีน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน 25. การศึกษาศักยภาพการผลิต การขนสง และการตลาด ผักและผลไม สถาบันวิจัยและพัฒนา ผักอินทรียตามมาตรฐานสากลเพื่อการสงออก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 26. การศึกษาศักยภาพการผลิตผักอินทรียและแนวทาง ผักและผลไม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การสรางรูปแบบความสัมพันธระหวางภาคการผลิต และการตลาดผักอินทรียอยางครบวงจร 27. โครงการนำรองการใชบรรจุภัณฑพลาสติกชีวภาพ ผักและผลไม สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) สำหรับลำไยอินทรีย 28. หลักสูตรการปลูกกลวยไขและมะละกออินทรียวิทยาลัยชุมชน ผักและผลไม วิทยาลัยชุมชนแพร 29. ศักยภาพการปลูกสละ “พันธุเนินวง” ดวยระบบ ผักและผลไม คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เกษตรอินทรียในจังหวัดอุบลราชธานี 30. การเพาะปลูกผลไมเกษตรอินทรียสมบูรณ ผักและผลไม ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร เพื่อการสงออกตลาดโลกของประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 31. น้ำนมอินทรียที่มีปริมาณ CLA และ OMEGA 3 สูง ปศุสัตวและ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) ประมง 32. การเลี้ยงไกไข(อินทรีย) ปศุสัตวและ ศูนยเรียนรูชุมชนปลักไมลาย จังหวัดนครปฐม ประมง และสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 33. น้ำนมแพะอินทรีย ปศุสัตวและ สำนักงานปศุสัตวจังหวัดภูเก็ต ประมง 34. เปดไขอินทรียเชียงใหม ปศุสัตวและ สำนักสุขศาสตรสัตวและสุขอนามัยที่ 5 ประมง 35. เครือขายปศุสัตวอินทรียบานทัพไท สุรินทร ตัวอยาง ปศุสัตวและ สำนักสุขศาสตรสัตวและสุขอนามัยที่ 3 การพัฒนาชนบทดวยเกษตรอินทรียครบวงจร ประมง 36. การปรับเปลี่ยนการเลี้ยงโคนมสูมาตรฐานโคนมอินทรีย ปศุสัตวและ ศูนยปศุสัตวอินทรีย กรมปศุสัตว ประมง 37. การศึกษาประสิทธิภาพของพืชสมุนไพรไทยในการยับยั้งการ ปศุสัตวและ ภาควิชาสัตวศาสตร คณะเกษตรศาสตร เจริญเติบโตของเชื้อ อี.โคไล ชนิดกอโรคในทางเดินอาหาร ประมง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 38. การศึกษาศักยภาพการเลี้ยงสุกรกึ่งชีวภาพ ปศุสัตวและ คณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อประยุกตใชสำหรับเกษตรกรรายยอย ประมง และสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยนเรศวร 39. การผลิตเมล็ดพันธุพืชอาหารสัตวอินทรียในนาราง ปศุสัตวและ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จังหวัดสุราษฎรธานี ประมง วิทยาเขตสุราษฎรธานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 40. การผลิตเมล็ดพันธุพืชอาหารสัตวอินทรีย ปศุสัตวและ กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว เพื่อใชเปนอาหารสัตวอินทรีย ประมง 41. น้ำผึ้งอินทรียทางการแพทย ปศุสัตวและ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) ประมง 42. โครงการเลี้ยงปลาเบญจพรรณอินทรีย ปศุสัตวและ วิทยาลัยชุมชนยโสธร ประมง
  • 6. องคความรูและนวัตกรรมดานเกษตรอินทรีย ป พ.ศ. 2552-2553 5 รหัส ชื่อโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรับผิดชอบ 43. ผลิตภัณฑอินทรียสำหรับทำความสะอาดและดูแลผิวเด็ก แปรรูป สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) จากน้ำมันหอมระเหยที่สกัดดวยวิธีของเหลวยิ่งยวด 44. “LumLum”ซอสพริกอินทรียที่มีไลโคพีนสูง แปรรูป สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 45. น้ำสมสายชูหมักจากเสาวรส แปรรูป วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการโนนดินแดง 46. การแปรรูปและถนอมอาหารเกษตรอินทรียของ แปรรูป มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ชุมชนโรงเรียน ตำรวจตระเวนชายแดน 47. การถายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑอาหาร แปรรูป คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร และเครื่องดื่มเกษตรอินทรีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 48. การปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑปลาดุกรา แปรรูป คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน ดวยการเติมสมุนไพรไทย มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 49. การพัฒนาผลิตภัณฑโจกขาวเจาหอมดำอินทรีย แปรรูป คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผสมกึ่งสำเร็จรูป มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 50. การพัฒนาผลิตภัณฑเครื่องดื่มจากขาวเจาหอมดำอินทรีย แปรรูป คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 51. การพัฒนาผลิตภัณฑคุกกี้ขาวสังขหยดเพื่อสุขภาพ แปรรูป คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 52. น้ำมันรำขาวและจมูกขาวหอมมะลิอินทรีย แปรรูป สหกรณกรีนเนท จำกัด 53. “ตะวัน คันไถ” ปุยอินทรียคุณภาพสูง ปจจัยการผลิต สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 54. สารชีวภาพเพื่อกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาขาว ปจจัยการผลิต สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 55. ชีวภัณฑจากจุลินทรียปฏิปกษ (PMOs) ปจจัยการผลิต คณะเทคโนโลยีการเกษตร ยับยั้งเชื้อกอโรคเหี่ยว (Ralstonia solanacearum) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม 56. การใชสาร allelopathy จากพืชและการคลุมดินในการ ปจจัยการผลิต ฝายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง ควบคุมวัชพืชในแปลงปลูกผักระบบเกษตรอินทรีย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน 57. การผลิตเชื้อจุลินทรียสำหรับยอยสลายสาร ปจจัยการผลิต สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและ ในขยะและน้ำเสียเชิงพาณิชย มาตรฐานผลิตภัณฑ มหาวิทยาลัยแมโจ 58. การใชถั่วปุยพืชสดเปนปุยอินทรีย ปจจัยการผลิต วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพัทลุง ในการผลิตขาวพันธุสังขหยดพัทลุง 59. การประยุกตใชเชื้อรา Beauveria bassiana สายพันธุ ปจจัยการผลิต คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทองถิ่นในการควบคุมศัตรูพืชเพื่อการผลิตผักวงศกะหล่ำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ปลอดภัยจากสารพิษในสภาพควบคุม 60. การถายทอดเทคโนโลยีเชิงปฏิบัติการเรื่อง ปจจัยการผลิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา การผลิตปุยหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใช เขตพื้นที่เชียงราย 61. โครงการอบรมการทำปุยอินทรียจากมูลสัตวและเศษกากพืช ปจจัยการผลิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เขตพื้นที่เชียงราย 62. การผลิตจุลินทรียที่เปนประโยชนจากปุยอินทรีย ปจจัยการผลิต คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ 63. หัวเชื้อจุลินทรีย 8พลัง (8เซียน) ปจจัยการผลิต ที่ปรึกษาชมรมเกษตรอินทรียแหงประเทศไทย 64. เชื้อสเตรปโตมัยซิส:จุลินทรียควบคุมโรคผลเนาแบคทีเรียของแตง ปจจัยการผลิต ภาควิชาพืชศาสตรและทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 65. ปุยน้ำชีวภาพ ไบโอเทค-1 ปจจัยการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน 66. ปุยน้ำชีวภาพ ไบโอเทค-2 ปจจัยการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน 67. ปุยน้ำชีวภาพ ไบโอเทค-3 ปจจัยการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 7. สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)6 รหัส ชื่อโครงการ ประเภทผลงาน หนวยงานรับผิดชอบ 68. ปุยน้ำชีวภาพ มข.1 ปจจัยการผลิต ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน 69. การศึกษาประสิทธิภาพของเชื้อรา Pochonia chlamydosporia ปจจัยการผลิต คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตอการควบคุมไสเดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita 70. การผลิตปุยอินทรียแบบเติมอากาศ ปจจัยการผลิต คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร เพื่อเปนปจจัยการผลิตพืชผักอินทรีย มหาวิทยาลัยแมโจ 71. การผลิตปุยอินทรียไมพลิกกลับกองวิธีวิศวกรรมแมโจ1 ปจจัยการผลิต คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ 72. การผลิตเชื้อจุลินทรียควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืช ปจจัยการผลิต สำนักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาที่ดิน โดยใชสารเรงซุปเปอรพด3. 73. สารเรงซุปเปอร พด.7 สำหรับผลิตสารควบคุมแมลงศัตรูพืช ปจจัยการผลิต สำนักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาที่ดิน 74. ปุยชีวภาพ พด.12 ปจจัยการผลิต สำนักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาที่ดิน 75. จุลินทรียสำหรับพืชปรับปรุงบำรุงดิน พด11. ปจจัยการผลิต สำนักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาที่ดิน 76. การนำรองการใชถุงพลาสติกชีวภาพPBSในการคัดแยก ปจจัยการผลิต สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) ขยะอินทรียเพื่อผลิตปุยอินทรียณเกาะเสม็ด 77. ‘Phaya-Hero’ ผลิตภัณฑกำจัดแมลงศัตรูพืช ปจจัยการผลิต สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) จากสารสกัดสมุนไพรหนอนตายหยาก 78. การจัดทำมาตรฐานเกษตรอินทรีย ป 2553 มาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร แหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ 79. โครงการพัฒนาระบบการผลิตและมาตรฐาน มาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร ระบบการตรวจรับรองเกษตรอินทรียทองถิ่น แหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ 80. โครงการพัฒนาตลาดและระบบการตรวจรับรอง มาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร สินคาเกษตรอินทรีย แหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ 81. การใช IT ในการบริหารจัดการระบบควบคุมภายใน สำหรับ มาตรฐาน มูลนิธิสายใยแผนดิน/กรีนเนท การตรวจสอบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียแบบกลุมผูผลิต 82. ระบบ ICM สำหรับการผลิตพืชอินทรีย รูปแบบการผลิต สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 83. วิจัยและพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืนเพื่อประโยชนตอ รูปแบบการผลิต สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและ การศึกษาและการอนุรักษสิ่งแวดลอม : มิติใหมของ มาตรฐานผลิตภัณฑ มหาวิทยาลัยแมโจ การเกษตรเพื่อสุขภาพและความอยูรอด 84. การพัฒนาความสามารถในการทำเกษตรอินทรียของกลุม รูปแบบการผลิต ภาควิชาพืชไร คณะเกษตรศาสตร ชุมชนวิทยาศาสตรเกษตรกรพอเพียงบานหนองมัง อำเภอสำโรง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี : กรณีเกษตรอินทรียกับนิเวศนเกษตร 85. การพัฒนารูปแบบการทำเกษตรอินทรียของสมาชิก รูปแบบการผลิต วิทยาลัยชุมชนยโสธร ชมรมรักษธรรมชาติ จังหวัดยโสธร 86. การพัฒนาตนแบบระบบเกษตรอินทรีย รูปแบบการผลิต สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร ภายใตกรอบทฤษฎีใหม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 87. เครื่องปนวัสดุการเกษตรเอนกประสงค อื่นๆ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา 88. เครื่องอัดเม็ดปุยอินทรียแบบประยุกต อื่นๆ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพิจิตร 89. ผาทอเสนใยกัญชงอินทรียแบบยกดอกสำเร็จรูป อื่นๆ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 90. การบมเพาะผูประกอบการเกษตรอินทรีย อื่นๆ มูลนิธิสายใยแผนดิน/กรีนเนท 91. ไบโอคลีน อื่นๆ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน 92. บานหญาแฝก อื่นๆ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 93. ‘สรีรารมย’ออรแกนิคเมดิคัลสปา อื่นๆ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน)
  • 9. การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การเพาะปลูกขาวหอมมะลิ105 เกษตรอินทรียสมบูรณแบบบริเวณเขตภาคกลางของ ประเทศไทย Fully Organic Rice Production var. Koa-Dok-Ma-Li-105 on Central Region of Thailand 2. ชื่อเจาของผลงาน หางหุนสวนจํากัดพรุฟอิท และ ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน จากแนวคิดทางวิทยาศาสตรการเกษตรในการเพาะปลูกขาวหอมมะลิ105 เพิ่มเติมนอกพื้นที่หลักในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ซึ่งไดแก ภาคกลางที่มีพื้นที่ปลูกขาวมากกวา 30 ลานไรที่มีระบบ ชลประทานที่เพียงพอ จึงไดมีการศึกษาเบื้องตน พบวาสามารถเพาะปลูกไดโดยมีปริมาณผลผลิตตอไรเพิ่มจาก ผลผลิตขาวเปลือก 300-500 กิโลกรัมตอไร มาสูที่ระดับผลผลิตขาวเปลือก 800-1,000 กิโลกรัมตอไร แตคุณภาพ ความหอมของขาวหอมมะลิ105 ในผลิตในภาคกลางมีความหอมต่ํากวาขาวหอมมะลิ105 ที่ปลูกจากภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ จึงไดมีแนวคิดเพื่อเพิ่มความหอมในขาวหอมมะลิ105โดยปลูกแบบเกษตรอินทรียที่ไมใช ปุยเคมี สารกําจัดศัตรูพืชทุกชนิด จากการศึกษาพบวา การเพาะปลูกขาวหอมมะลิ105ในระบบเกษตรอินทรียบน พื้นที่เพาะปลูกในเขตภาคกลาง ไดผลผลิต 1000 กิโลกรัมขาวเปลือกตอไรโดยมีคุณภาพความนุมและความหอม ไมนอยกวาขาวหอมมะลิ105 ที่ปลูกจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเทศสําหรับการผลิตขาวหอมมะลิ เกษตรอินทรีเพื่อการสงออกไปตลาดโลกและตลาดภายในประเทศไทย จากการใชประโยชนของทรัพยากรที่ดิน แหลงน้ํา บุคลากรทั้งระดับเกษตรกรและนักวิชาการ พันธุขาวหอมมะลิ105 ปจจัยการผลิต (ปจจัยผันแปร) ทั้งหมดจากประเทศไทย โดยมีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และตรงกับ หลักการมาตรฐานเกษตรอินทรียสากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการเกษตรดานความปลอดภัย ที่กําหนดใหไมมีสารพิษตกคางทางการเกษตร (zero-detection of agricultural chemical residues) ได 5. สถานภาพของผลงาน เสร็จสิ้น และพรอมถายทอดเทคโนโลยีและฝกอบรมความรูเกษตรอินทรียสมบูรณแบบสูเกษตรกรและ องคกรตางๆ ระยะเวลา 5-7 วัน 6. สถานที่ติดตอ - หจก.พรุฟอิท 399/1-9 ถนนทาเรือ-ทาลาน ต.จําปา อ.ทาเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา 13130 โทร. 035-341-580 - ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-561-3482
  • 10. การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ขาวอินทรียและการผลิตดวยเทคโนโลยีที่เหมาะสม 2. ชื่อเจาของผลงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ 3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน ขาวอินทรีย (Organic Rice) เปนขาวที่ไดจากการผลิตแบบเกษตรอินทรีย (Organic Farming) ซึ่งเปน วิธีการผลิตที่หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีหรือสารสังเคราะห เชน ปุยเคมี สารเรงการเจริญเติบโต สารควบคุม สาร กําจัดวัชพืช สารปองกันกําจัดโรคแมลง และศัตรูขาวในทุกขั้นตอนการผลิต รวมถึงในระหวางการเก็บเกี่ยว ผลผลิตและการเก็บรักษาผลผลิต โดยเกษตรกรสามารถใชสารสกัดจากพืชหรือวัสดุจากธรรมชาติที่ไมมีสารพิษ ตกคางในผลิตผลและสิ่งแวดลอมและสถานการณปจจุบันเกษตรกรมีตนทุนในการผลิตสูงเนื่องจากการใชแรงงาน ของครัวเรือนลดลงมีการใชเทคโนโลยีจากตางประเทศ ปจจัยการผลิตมีราคาสูงขึ้น เกิดภัยทางธรรมชาติ มี ปญหาเกี่ยวกับวัชพืชและศัตรูพืช ซึ่งเกษตรกรสวนใหญขาดองคความรูในการแกไขปญหาดังกลาวรวมถึงการ ขายผลผลิตขาวไดราคาต่ํา ดังนั้นมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถจึงไดจัดทําชุดความรูในการผลิตขาวตนทุนต่ํา โดยการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมรวมกับภูมิปญญาทองถิ่นของเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ 4. รายละเอียดผลงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ ไดเสนอสภามหาวิทยาลัยที่จะใหบริการวิชาการในโครงการเกษตรเพื่อ ลดตนทุน โดยมอบหมายใหศูนยการเรียนรูชุมชนมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ ดําเนินการ ดังนี้ 1) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลักสูตร/ สรางจิตสํานึกที่ดีในการประกอบอาชีพ 2) ปรับปรุงโครงสรางดินดวยปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร 3) คัดกรองพันธุขาวหอมทองถิ่นในจังหวัดอุตรดิตถ 4) การผลิตสารสมุนไพร และสารชีวภัณฑเพื่อปองกันรักษาโรคพืชและแมลงศัตรูพืช 5) เทคโนโลยีภูมิปญญาทองถิ่น พัฒนาดวยปราชญชาวบานกับนักวิชาการ (เครื่องหยอดเมล็ดพันธุขาว) 6) การเฝาระวัง และการตรวจติดตามผลในแปลงนา 7) ผลผลิตขาว หอมแดง และหอมนิล 5. สถานภาพของผลงาน ทดลองใชและขยายผลกับเกษตรกรในจังหวัดอุตรดิตถ 6. สถานที่ติดตอ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ
  • 11. การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การศึกษาวิธีการเพิ่มผลผลิตของขาวดวยระบบปลูกแบบ SRI ในจังหวัดพัทลุง Study high-yield method of rice with the system of rice intensification (SRI) in Phatthalung Province 2. ชื่อเจาของผลงาน อาจารย นันทิยา พนมจันทร, จตุพร ไกรถาวร และชนสิริน กลิ่นมณี สังกัดคณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน พัทลุงเปนแหลงปลูกขาวที่สําคัญที่สุดของภาคใต ปญหาที่เกิดขึ้นดานการผลิตขาวคือ ผลผลิตตอไรต่ํา ขาวคุณภาพต่ํา มีการปนเปอนสารเคมี ขาดแคลนน้ําในฤดูแลง และดินขาดอินทรียวัตถุแนนทึบและเปนกรด จาก ปญหาดังกลาวโดยเฉพาะดานผลผลิตตอไรต่ํา สามารถแกไขปญหาไดโดยพิจารณาจากความเหมาะสมของระยะ ปลูก ระบบการผลิตขาวแบบ SRI (The system of rice intensification) เปนระบบการปลูกพืชที่พยายามจะสราง สภาพแวดลอมใหมที่เอื้อตอการแสดงศักยภาพของตนขาวอยางเต็มที่ ตั้งแตการเตรียมกลาที่ระยะ 8-12 วัน ลักษณะการเตรียมดิน วิธีการยายปลูกแบบตัว L แทนการปกดํา ใชหนึ่งตนตอหลุม ระยะระหวางหลุมเทากัน และการจัดการน้ําโดยปลอยใหหนาดินแกงและเปยกสลับกันจนกระทั่งถึงระยะกอนออกรวงเล็กนอย จึงปลอยน้ํา ทวมประมาณ 1-2 เซนติเมตร ไมมีการใชสารเคมีกําจัดวัชพืช ใชปุยอินทรียแทนการใชปุยเคมี ระบบการผลิตขาว แบบ SRI จึงปราศจากสารพิษตกคางในดินและพืช รวมทั้งยังชวยปรับโครงสรางของดินใหดีขึ้นทําใหรากพืช เจริญเติบโต ในดินไดดี สงผลใหผลผลิตขาวเพิ่มสูงขึ้น ดังนั้นจึงทําการศึกษาเพื่อหาวิธีการเพิ่มผลผลิตของขาวให สูงขึ้นดวยระบบปลูกแบบ SRI ซึ่งเปนระบบการปลูกพืชแบบใหมที่สามารถลดตนทุนการผลิต ชวยเพิ่มผลผลิต ผลผลิตมีคุณภาพไดมาตรฐานและปลอดภัย และสามารถแกปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติได ดวย 4. รายละเอียดผลงาน การศึกษาเกี่ยวกับระบบปลูกแบบSRI เปนระบบการปลูกพืชที่พยายามจะสรางสภาพแวดลอมใหมที่เอื้อ ตอการแสดงศักยภาพของตนขาวอยางเต็มที่เพื่อใหมีผลตอการเพิ่มผลผลิตในขาวพันธุพื้นเมือง พันธุขาวที่ สอดคลองกับยุทธศาสตรของจังหวัด และขาวพันธุใหม ๆ ที่ปรับปรุงพันธุขึ้นมาใหเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว ในเขตพื้นที่จังหวัดพัทลุง 5. สถานภาพของผลงาน ดําเนินโครงการเสร็จสิ้นแลว 6. สถานที่ติดตอ คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 222 หมู 2 ต.บานพราว อ.ปาพะยอม จ.พัทลุง 93110
  • 12. การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การทํานาขาวอินทรีย 2. ชื่อเจาของผลงาน สถาบันการพัฒนาการเรียนรูเกษตรอินทรีย จ.สุพรรณบุรี (นายทองเหมาะ แจมแจง) 3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน การทํานาขาวอินทรีย เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมการเกษตรภายใตโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนว ทฤษฎีใหม โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งการทํานาขาวอินทรียนั้นจะชวยลดตนทุนการผลิตและเพิ่ม ผลผลิตเพราะการใชปุยจุลินทรียจะทําใหไดผลผลิตประมาณ 800 กิโลกรัม/ไร โดยตนทุนในการใชปุยอินทรีย ประมาณ 200 บาท/ไร ในขณะที่ใชปุยเคมีจะไดผลผลิตประมาณ 400 บาท ตอไร 4. รายละเอียดผลงาน การทํานาขาวอินทรีย มีขั้นตอนการดําเนินงานดังนี้ - การเตรียมพันธุขาวและการคัดเลือกพันธุ ตองเลือกเมล็ดขาวที่โตมีความสมบูรณแกจัดถอนออกเปน รวงที่สมบูรณที่สุด โดยแยกเมล็ดขาวและฟางขาวออกจากกัน จากนั้นนําเมล็ดมาฝดเพื่อคัดเลือกเมล็ดพันธุที่ไม สมบูรณออก แลวนําเมล็ดขาวที่คัดเลือกวาดีมาตากแหงเก็บไวทําพันธุตอไป - การเตรียมคูคันนา การทํานาตองเตรียมคูคันนาใหมีความสูงประมาณ 50 – 70 เซนติเมตร หนา 60 – 80 เซนติเมตร เพื่อกักเก็บน้ํา ถาไมมีน้ําขังจะเกิดวัชพืชในนาขาว คันนา ควรใสทอระบายน้ําชวงแรกในการปก ดําไมควรใหระดับน้ําสูงมากกวา 10 เซนติเมตร เพราะตนขาวยังไมแข็งแรงพอ ถามีน้ําในแปลงนามากจะทําใหตน ขาวเนาได การขังน้ําควรใหอยูในระดับเดียวกันดวย - การนําจุลินทรียมาหมักเมล็ดขาว โดยใหน้ําจุลินทรียทวมเมล็ดขาว หากมีเมล็ดขาวฟูน้ํา ใหเก็บออก ใหหมดควรแชเมล็ดขาวประมาณ 2 – 3 วัน และนําขึ้นจากน้ํามาพักไว 1 วัน แลวนํามาหวานในแปลงที่เตรียมไว - การเตรียมแปลงเพาะกลาพันธุขาว ควรไถคราดดินใหรวนซุยและระดับพื้นเสมอกัน ปลอยทิ้งไว 2-3 ชม. นําเมล็ดขาวที่เตรียมไวมาหวาน ทั้งนี้ โดยประมาณ 10 – 15 วัน ตนกลาตั้งหนอไดแข็ง นําน้ําจุลินทรียผสม น้ําพนตนกลา ผสมน้ําจุลินทรีย 3 ชอนโตะ กับน้ํา 20 ลิตร พนใหทั่วแปลงกลาและขังน้ําใสตนกลาอยาใหน้ําขาด จากแปลงตนกลา โดยกอนจะถอนตนกลา 5 วัน ใชน้ําจุลินทรียพนอีกเพื่อถอนไดงาย - การปกดํา ในชวงกอนปกดําควรขังน้ําไวในนาเพื่อทําใหดินนิ่ม พอถึงเวลาดํานาควรปลอยน้ําที่ขัง ออกคันนาใหเหลือประมาณ 10 -15 ซม. หลังจากนั้น นําตนกลามาปกดํา กําหนดใหระยะหางระหวางตนประมาณ 40 ซม. เพื่อใหแตกกอไดดี โดยใสตนกลากอละประมาณ 2 – 3 ตน เมื่อปกดําแลว 15 วัน นําจุลินทรียไปผสมน้ํา พนตนขาวเพื่อกระตุนเชื้อจุลินทรียตอนเตรียมดินและทําใหตนขาวแข็งแรงเติบโตและทนตอศัตรูขาว ตองคอยดูแล รักษาตนขาวและดูระดับน้ําอยาใหขาดจากนาขาว และพนจุลินทรียทุก 20 วัน จนขาวตั้งทองจึงงดพนจุลินทรีย แต ยังคงตองรักษาระดับน้ําไวอยางเดิม - ปญหาโรคแมลงในนาขาว ถามีโรคแมลงมารบกวน ใหใชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ ไลแมลงชนิดสกัดหรือ หมัก ฉีดพนในอัตรา 3-5 ชอนโตะ ตอน้ํา 20 ลิตร พนติดตอกัน 3 วัน โดยเฉพาะควรฉีดพนชวงเย็น 5. สถานภาพของผลงาน เสร็จสิ้น และมีระบบการผลิตขาวที่ใชในการดํารงชีวิตประจําวันของปราชญชาวบาน 6. สถานที่ติดตอ สถาบันการพัฒนาการเรียนรูเกษตรอินทรีย (นายทองเหมาะ แจมแจง) 52 หมู 6 ตงวังหวา อ.ศรีประจันต จ.สุพรรณบุรี โทร 087-0251240
  • 13. การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน อิทธิพลของจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพ(Effective Microorganisms, EM) ที่มีตอการ เจริญเติบโตและผลผลิตของขาวเจาสายพันธุขาวดอกมะลิ 105 ในดินชุดรอยเอ็ด (Effects of Effective Microorganisms on growth and yields of Khao-Dawk-MaLi 105 Rice on Roi-et Soil Series) 2. ชื่อเจาของผลงาน นายประพนธ บุญเจริญ และคณะ 3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน ปจจุบันมีการใชสารจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพสูง(Effective Microorganism, EM) เพื่อการเกษตรกรรม ดานการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว ซึ่งกําลังไดรับความสนใจจากเกษตรกร และมีการนํา EM มาใชกันอยางแพรหลาย แตยังไมมีหลักฐานทางวิชาการสนับสนุนดานความเปนประโยชน และนอกจากนี้ผลตอการเปลี่ยนแปลงเพิ่มธาตุ อาหารในดิน ในแงของการไปชวยเรงการยอยสลายเศษซากพืชและสัตวในดิน ที่ตองใชเวลาคอนขางหลายป ดังนั้นคณะวิจัยจึงไดทําการทดลองเพื่อที่จะศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผลของการใช EM ที่มีตอการเจริญเติบโตและ ผลผลิตขาวเจาสายพันธุขาวดอกมะลิ 105 ที่ปลูกในดินชุดรอยเอ็ด ในสภาพโรงเรือนและแปลงนาปลูกพืชทดลอง ในชวงเวลาตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2546 ถึงพฤศจิกายน 2547 ในฤดูนาปรังและนาป 4. รายละเอียดผลงาน การใส EM อยางเดียว ใหจํานวนใบตอตน จํานวนตนตอกอ และความสูงของตนขาวเจาสายพันธุ ขาว ดอกมะลิ 105 ไมแตกตางทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการไมใสปุยและไมใส EM ขณะที่การใสปุยเคมี ปุยคอก และปุยหมักชีวภาพทั้งที่ใสและไมใส EM รวม ทําใหจํานวนตนตอกอ และความสูงเพิ่มขึ้น การใส EM ใหผลผลิตขาวเจาสายพันธุขาวดอกมะลิ 105 ไมแตกตางทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการไม ใสปุยและไมใส EM การใส EM อยางเดียว ไมทําใหปริมาณธาตุอาหารในดินเพิ่มสูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติทางเคมี ของดินกอนและหลังทําการทดลอง แตปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนและโปแตสเซียม มีปริมาณลดลง มาก ขณะที่การใสปุยเคมีมีผลทําใหคาความเปนกรดในดินสูงขึ้น การใสปุยคอกทั้งที่ใสและไมใส EM รวม มีผลทําใหปริมาณของเปอรเซ็นตอินทรียวัตถุในดินหลังการ ทดลองเพิ่มสูงขึ้น ขณะที่การไมใสปุยและไมใส EM มีผลทําใหปริมาณธาตุอาหารฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนลดลง ต่ําสุด แมวาการใส EM ทําใหการเจริญเติบโตและผลผลิตของขาวเจาสายพันธุขาวดอกมะลิ 105 เพิ่มขึ้นไม แตกตางทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการไมใสปุยและใส EM แตเปนเพียงผลการทดลองในปที่ 1 ซึ่งเปนชวง ระยะเวลาสั้นๆ ดังนั้นควรไดทําการทดลองตอเนื่องเปนระยะเวลา 3-4 ปขึ้นไป 5. สถานภาพของผลงาน เสร็จสิ้น 6. สถานที่ติดตอ สํานักงานไรฝกทดลองและหองปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4 ถนนสถลมารค ตําบลเมืองศรีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190
  • 14. การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตขาวขาวดอกมะลิ 105 โดยวิธีการผลิตแบบ อินทรียและแบบทั่วไป ในจังหวัดอุบลราชธานี Study on growth and yield of Khao Dawk Mali 105 paddy under organic and conventional rice cultivation in Ubon Ratchathani 2. ชื่อเจาของผลงาน รศ.ดร.สุวัฒน ธีระพงษธนากร และนางสาวอัญชณา สารแสน 3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน กระบวนการผลิตขาวแบบอินทรียมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จังหวัดอุบลราชธานีเปน จังหวัดหนึ่งที่นําระบบการผลิตขาวแบบดังกลาวเขามา โดยพันธุขาวที่ใชในการผลิต คือพันธุขาวดอกมะลิ 105 ซึ่ง เปนพันธุสนับสนุนจากทางราชการสงเสริมใหปลูก แตการผลิตโดยการทําระบบเกษตรดังกลาวเมื่อเทียบกับระบบ ทั่วไปยังไมสามารถกลาวไดแนชัด ถึงผลตอการเจริญเติบโต และการใหผลผลิตที่เหมาะสมกับการลงทุนของ เกษตรกร เพื่อชวยเปนแนวทางตัดสินใจตอการผลิตขาวที่เหมาะสมตอเกษตรกร จึงควรมีการศึกษาเพิ่มเติมใน ลักษณะดังกลาว 4. รายละเอียดผลงาน สมบัติทางกายภาพและเคมีดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตของแปลงเกษตรกรปลูกขาวอินทรียโดยรวม ยังคงมี ลักษณะอนุภาคดินและปริมาณธาตุอาหารตกคางในดินสูงกวาแปลงเกษตรกรปลูกขาวทั่วไป สําหรับตนขาวใน ระยะแตกกอสูงสุด พบวา ขาวอินทรียมีปริมาณและการดูดใชไนโตรเจนในใบ ตน และรากต่ํากวาตนขาวทั่วไป 3 เทา แตปริมาณการดูดใชฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในตนขาวอินทรียมีสูงกวาตนขาวทั่วไป 3 และ 2 เทา ตามลําดับ สวนในระยะเก็บเกี่ยวพบวา ตนขาวอินทรียมีปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมสูงกวาตนขาวทั่วไป 0.009 และ 0.059 เปอรเซ็นต ตามลําดับ สวนตนขาวทั่วไปมีการดูดใชไนโตรเจนและโพแทสเซียมสูงกวาตนขาว อินทรีย 3 และ 6 เทาตามลําดับ สวนผลผลิต องคประกอบผลผลิตและคาดัชนีเก็บเกี่ยว เกษตรกรปลูกขาวอินทรีย ไดผลผลิต 295 กิโลกรัมตอไรสูงกวาเกษตรกรปลูกขาวทั่วไปที่ไดผลผลิตเพียง 276 กิโลกรัมตอไร ทั้งนี้เนื่องจาก ขาวอินทรียมีองคประกอบผลผลิต คือ จํานวนเมล็ดตอรวง เปอรเซ็นตเมล็ดดี น้ําหนัก 1,000 เมล็ด และดัชนีเก็บ เกี่ยวสูงกวาขาวทั่วไป ตนขาวเกษตรกรรายที่ 1 ตนขาวเกษตรกรรายที่ 2 ตนขาวเกษตรกรรายที่ 3 ตนขาวเกษตรกรรายที่ 4 5. สถานภาพของผลงาน เสร็จสิ้น 6. สถานที่ติดตอ ภาควิชาพืชไร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4 ถนนสถลมารค ตําบลเมืองศรีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190
  • 15. การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ความเปนไปไดของการผลิตขาวหอมมะลิในระบบเกษตรอินทรียที่จะเปนอาชีพ ทางเลือกที่มีศักยภาพในการแกไขปญหาความยากจนสําหรับเกษตรกรภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง The Possibility of Hom Mali Rice Production in Organic Farming Systems as an Alternative Farming Career with Poverty Alleviation Potential for Lower- Northeastern Farmers 2. ชื่อเจาของผลงาน รศ.ดร.นันทิยา หุตานุวัตร และคณะ 3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อไดผลวิเคราะหความเปนไปไดของการผลิตขาวหอมมะลิในระบบ เกษตรอินทรียที่จะเปนอาชีพทางเลือกที่มีศักยภาพในการแกไขปญหาความยากจนสําหรับเกษตรกร โดยมี เกษตรกรกลุมศึกษาในจังหวัดสุรินทร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี อํานาจเจริญ ยโสธร และรอยเอ็ด จํานวน 476 ราย รวมทั้งไดศึกษาผูบริโภค 118 ราย ผูประกอบการโรงสีทั้งเอกชนและกลุมเกษตรกร 32 โรง ผูประกอบการคาขาว และการสงออก 5 ราย และตัวแทนหนวยงานราชการระดับจังหวัดและสวนกลางที่เกี่ยวของ วิธีการวิจัยใชแบบ สํารวจเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ 4. รายละเอียดผลงาน ผลการศึกษาพบวา การผลิตขาวหอมมะลิอินทรียมีความเปนไปไดในการเปนอาชีพทางเลือกที่มี ศักยภาพในการแกไขความยากจนทางสภาพสังคมและวัฒนธรรมในระดับสูง ทางสภาพกายภาพและชีวภาพ ทางการผลิตในระดับกลางคอนขางสูง และทางสภาพเศรษฐกิจในระดับกลาง ดังนั้น เกษตรกรจึงควรมีทัศนคติและ แรงบันดาลใจในการผลิตขาวหอมมะลิอินทรียดวยผลประโยชน 4 ประการ คือ 1) การฟนฟูแปลงนาใหอุดม สมบรูณ ซึ่งจะทําใหผลผลิตขาวเพิ่มขึ้น 2) การใชปจจัยการผลิตที่ไดจากฟารมของตนเอง ทําใหลดตนทุนการ ผลิตขาวที่เปนเงินสด 3) การใชประโยชนความเปนอินทรียของฟารมทําการผลิตชนิดอื่น ๆ ที่ใหผลตอบแทนเสริม หรือไดเทาหรือดีกวาขาว 4) การลดความเสี่ยงจากอันตรายในการใชสารเคมีสังเคราะหปราบศัตรูพืช ทําให สุขภาพของตนเองและครอบครัวดีขึ้น นอกจากนี้ พบวาระบบเกษตรผสมผสานที่มีขาวหอมมะลิอินทรียเปนพืชหลักมีศักยภาพที่จะเปนอาชีพ ทางเลือกในการแกไขความยากจน โดยจะตองมีความเขมขนของสวนประกอบ 5 ประการ ไดแก 1) การสราง ระบบเกษตรที่ผสมผสานและหลากหลายโดยใชประโยชนหรือเกื้อกูลกันของการผลิต 2) การพึ่งปจจัยการผลิตใน ฟารมของตนเองมากที่สุด 3) การผลิตชนิดอื่นตามศักยภาพพื้นที่และความตองการของตลาด 4) ความขยันเก็บ ผลผลิตออกขายเปนรายไดประจํา 5) การเอาใจใสปกหลักการทําอาชีพเกษตรอินทรียผสมผสานโดยอาศัยอยูใน ฟารม 6) การรวมกลุมและการสรางเครือขายของเกษตรกรจะเปนการเสริมสรางความแข็งแกรงของอาชีพ ทางเลือกที่มีศักยภาพแกไขปญหาความยากจน 5. สถานภาพของผลงาน เสร็จสิ้น 6. สถานที่ติดตอ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 หมู 4 ถนนสถลมารค ตําบลเมืองศรีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190
  • 17. การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การเพาะปลูกผักเกษตรอินทรียสมบูรณ เพื่อการสงออกตลาดโลกของประเทศไทย Fully Organic Economic Vegetables Production for Export to World Market of Thailand 2. ชื่อเจาของผลงาน หางหุนสวนจํากัดพรุฟอิท และ ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน ดวยประเทศไทยใชที่ดินเพื่อการเพาะปลูกผัก 2.73 ลานไร ไดผลผลิตผักปละ 4.3 ลานเมตริกตัน มีการ บริโภคภายในประเทศปละ 4.1 ลานเมตริกตัน และสามารถสงผักออกสูตลาดโลก (World Market) ไดปละ 0.2 ลานเมตริกตันมูลคา 6,300-8,000 ลานบาท ผักสงออกที่สําคัญไดแก ขาวโพดฝกออน หนอไมฝรั่ง กระเจี๊ยบเขียว และใบบริโภคใบชนิดตางๆ วิทยาการและความรูในการเพาะปลูกผักเกษตรอินทรียสามารถผลักดันใหการสงออก ไปยังตลาดโลก โดยมูลคาที่สงออกในปจจุบัน เพิ่มเปน 10,000 ลานบาท ประเทศไทยกลายเปนผูสงออกผัก เกษตรอินทรียอันดับตนของตลาด และยังประโยชนที่สําคัญสามารถผานมาตรการกีดกันทางการคาได เพราะไมมี การแขงขันในผลผลิตผักเกษตรอินทรีย ดวยความปลอดภัยที่สูงสุดจากการไมมีสารพิษตกคางในผลผลิตเกษตร อินทรีย 4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเทศสําหรับการผลิตผักกษตร อินทรีเพื่อการสงออกไปตลาดโลกและตลาดภายในประเทศไทย จากการใชประโยชนของทรัพยากรที่ดิน แหลงน้ํา บุคลากรทั้งระดับเกษตรกรและนักวิชาการ พันธุผัก ปจจัยการผลิต (ปจจัยผันแปร) ทั้งหมดจากประเทศไทย โดย มีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และตรงกับหลักการมาตรฐานเกษตรอินทรีย สากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการเกษตรดานความปลอดภัยที่กําหนดใหไมมีสารพิษตกคาง ทางการเกษตร (zero-detection of agricultural chemical residues) ได 5. สถานภาพของผลงาน เสร็จสิ้น และพรอมถายทอดเทคโนยีและฝกอบรมความรูเกษตรอินทรียสมบูรณแบบสูเกษตรกรและองคกร ตางๆ ระยะเวลา 7-10 วัน 6. สถานที่ติดตอ - หางหุนสวนจํากัดพรุฟอิท 399/1-9 ถนนทาเรือ-ทาลาน ต. จําปา อ. ทาเรือ จ. พระนครศรีอยุธยา 13130 โทร. 035-341-580 - ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-561-3482
  • 18. การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน สายพันธุถั่วเหลืองที่มีศักยภาพในการตรึงไนโตรเจนสูง Soybean varietal on High N2-fixation Protential 2. ชื่อเจาของผลงาน นายธีระ สมหวัง สถานีวิจัยเขาหินซอน สถาบันอินทรีจันทรสถิตยฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ 10900 3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน ถั่วเหลือง (Glycine max (L.)Merrill) เปนพืชที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทยพืชหนึ่ง ที่ การผลิตยังไมเพียงพอตอความตองการภายในประเทศ จึงตองนําเขาจากตางประเทศในรูปของกากถั่วเหลือง และ เมล็ดเปนปริมาณกวาลานตันตอป สาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกษตรกรไมนิยมปลูกถั่วเหลืองเนื่องมาจากตนทุนการผลิต คอนขางสูง การใชปุยเคมีไนโตรเจนก็เปนปจจัยหนึ่ง ซึ่งปุยเคมีไนโตรเจนในปจจุบันจะมีราคาแพง จากงาน ทดลองของณัฐวุฒิ และคณะ (2540) พบวา เกษตรกร 81.0%ใสปุยเคมีไนโตเจน ในอัตรา 20-30 กิโลกรัม/ไร และ ใชมาเปนระยะเวลานานหลายปทําใหโครงสรางของดินเสียและมีผลทําใหผลผลิตลดลง จึงมีการใชปุยเคมีในอัตรา ที่มากขึ้นเพื่อทําใหได ผลผลิตที่สูง ดังนั้นจึงเปนการเพิ่ม ตนทุนการผลิตขึ้นไปอีก แตถั่วเหลืองก็มีขอไดเปรียบ ตรงที่สามารถใชปุยไนโตรเจนจากการตรึงโดยแบคทีเรีย ไรโซเบียม การเพิ่มประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจน สามารถทําได 2 แนวทางดวยกัน คือ การจัดการใหถั่วเหลืองมีการเจริญเติบโตสูงที่สุด โดยใหไดรับปจจัยการผลิต สมบูรณที่สุด (Peoples et al., 1995) และการปรับปรุงพันธุถั่วเหลืองใหมีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนสูงขึ้น 4. รายละเอียดผลงาน 5. สถานภาพของผลงาน อยูระหวางการดําเนินการทดสอบพันธุในชั่วลูกผสมที่ 8 ตรียมพรอมขึ้นทะเบียนพันธุ 6. สถานที่ติดตอ สถานีวิจัยเขาหินซอน สถาบันอินทรีจันทรสถิตยฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 136 หมู 12 ต.เขาหินซอน อ. พนมสารคาม จ. ฉะเชิงเทรา24120 โทรศัพท 038-551111 โทรสาร 038-551201 E-mail address : ijstrs@ku.ac.th
  • 19. การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน การเพาะปลูกขาวโพดหวานเกษตรอินทรียสมบูรณ เพื่ออุตสาหกรรมเกษตรและการ สงออกตลาดโลกโดยประเทศไทย Fully Organic Sweet Corn Production for Agricultural Industry and Export to World Market of Thailand 2. ชื่อเจาของผลงาน หางหุนสวนจํากัดพรุฟอิท และ ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน ปจจุบันประเทศไทยสงออกขาวโพดหวานแบบแปรรูปและแชแข็งไปยังตลาดสหภาพยุโรป และยังมี ตลาดใหมที่มีปริมาณการสั่งซื้อในปริมาณมากดวยเชน ญี่ปุน ปจจัยที่สนับสนุนการขยายตัวของตลาดสหภาพ ยุโรปที่สําคัญไดแก ผูบริโภคมีความตองการในขาวโพดหวานเกษตรอินทรีย ผูบริโภคในตลาดสหภาพยุโรปมี รายไดตอคนตอปที่เพิ่มมากขึ้น มีการขยายตัวของ supermarket และ hypermarket เปนจํานวนมาก และ ตลาด สหภาพยุโรปยังเขมงวดกวดขันในเรื่องการตรวจวิเคราะหสารพิษตกคางในผลผลิตขาวโพดหวาน เปนตน จาก ขอมูลดังกลาว ทําใหเกิดแนวคิดทางวิทยาศาสตรเกษตรในการเพาะปลูกเพื่อผลิตขาวโพดหวานเกษตรอินทรีย เพื่อนําไปแปรรูปในตลาดเดิม และสงในรูปขาวโพดหวานเกษตรอินทรียทั้งฝกที่บรรจุในถุงสุญญากาศ 4. รายละเอียดผลงาน โครงการนี้นับเปนนวัตกรรมผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตระดับประเทศสําหรับการผลิตขาวโพดหวาน เกษตรอินทรีเพื่อการสงออกไปตลาดโลกและตลาดภายในประเทศไทย จากการใชประโยชนของทรัพยากรที่ดิน แหลงน้ํา บุคลากรทั้งระดับเกษตรกรและนักวิชาการ พันธุขาวโพดหวาน ปจจัยการผลิต (ปจจัยผันแปร) ทั้งหมด จากประเทศไทย โดยมีระบบการควบคุมและปองกันการปนเปอนตลอดขั้นตอนการผลิต และตรงกับหลักการ มาตรฐานเกษตรอินทรียสากล ตลอดจนสามารถวิเคราะหคุณประโยชนทางการเกษตรดานความปลอดภัยที่ กําหนดใหไมมีสารพิษตกคางทางการเกษตร (zero-detection of agricultural chemical residues) ได 5. สถานภาพของผลงาน เสร็จสิ้น และพรอมถายทอดเทคโนยีและฝกอบรมความรูเกษตรอินทรียสมบูรณแบบสูเกษตรกรและองคกร ตางๆ ระยะเวลา 7-10 วัน 6. สถานที่ติดตอ - หางหุนสวนจํากัดพรุฟอิท 399/1-9 ถนนทาเรือ-ทาลาน ต. จําปา อ. ทาเรือ จ. พระนครศรีอยุธยา 13130 โทร 035-341-580 - ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-561-3482
  • 20. การรวบรวมองคความรูและนวัตกรรมเกษตรอินทรียในประเทศไทย 1. ชื่อผลงาน ความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนทของสารสกัดจากผักอินทรีย Antioxidant activities of organically-grown vegetable extracts 2. ชื่อเจาของผลงาน ผศ. ดร.วิจิตรา แดงปรก คณะวิศวกรรมละอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ 3. ที่มาและความสําคัญของผลงาน ปจจุบันผูคนไดใหความสนใจบริโภคผักอินทรียมากขึ้น แตขอมูลทางวิทยาศาสตรที่เกี่ยวกับผักอินทรีย โดยเฉพาะในประเทศไทยยังมีนอยมาก งานทดลองนี้จึงมุงศึกษาความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนท ของสารสกัดจากผักอินทรียชนิดตางๆ ที่มีจําหนายทั่วไปในทองตลาดจังหวัดเชียงใหม 4. รายละเอียดผลงาน ผักอินทรียที่ศึกษาในการทดลองนี้มี 6 ชนิดคือผักบุงจีน กวางตุง คะนา กะหล่ําปลี ผักกาดขาวและ ถั่วฝกยาว ทําการสกัดสารโดยใช 95%เอทานอลแลววัดความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนท โดยการ วัดความสามารถในการตานอนุมูลอิสระชนิด DPPH และ ABTS วัดความสามารถในการรีดิวซ พบวาผักอินทรีย ทุกชนิดมีความสามารถในการเปนสารแอนติออกซิแดนท โดยชนิดของผักที่มีความสามารถในการเปนสารแอนติ ออกซิแดนทสูงสุดคือผักบุงจีน เมื่อทดลองนําสารสกัดจากผักบุงจีนอินทรียไปเติมในน้ํามันถั่วเหลือง พบวา สามารถชะลอการเหม็นหืนของน้ํามันได 5. สถานภาพของผลงาน เสร็จสิ้น 6. สถานที่ติดตอ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290