SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
รศ.สมพร อิศวิลานนท์
นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ
การเสวนาวิชาการเรื่องอนาคตข ้าวไทย….ในตลาดโลก
จัดโดยศูนย์วิจัยและพัฒนา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ณ ห ้องประชุมชั้น 24 ธ.ก.ส. สํานักงานใหญ่ บางเขน กรุงเทพฯ
วันพุธที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 9.00-11.30 น
สถาบันคลังสมองของชาติ
อนาคตข้าวไทย…ในตลาดโลก
E-mail:somporn@knit.or.th
หัวข้อการนําเสนอ
1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
2. จุดอ่อนของข้าวไทยอยู่ที่ไหน?
3. มองข้าวไทยในปี 2559/60
การเสวนาวิชาการเรื่องอนาคตข้าวไทย….ในตลาดโลก จัดโดยศูนย์วิจัยและพัฒนา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ณ
ห้องประชุมชั้น 24 ธ.ก.ส. สํานักงานใหญ่ บางเขน กรุงเทพฯ วันพุธที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 9.00-11.30 น
1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
สถาบันคลังสมองของชาติ
การเสวนาวิชาการเรื่องอนาคตข้าวไทย….ในตลาดโลก จัดโดยศูนย์วิจัยและพัฒนา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ณ
ห้องประชุมชั้น 24 ธ.ก.ส. สํานักงานใหญ่ บางเขน กรุงเทพฯ วันพุธที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 9.00-11.30 น
1.1 การผลิตและการบริโภคข้าวในภูมิภาคต่างๆของโลก
ที่มา : 1/ World Food Statistic and Kyushu University, Faculty of Agriculture; 2/ Grain : World Markets and Trade ,
January 2013
ภูมิภาค จํานวนประชากร
(ล้านคน)1/
ปริมาณการ
บริโภค
(ล้านตัน)2/
ปริมาณการ
ผลิต
(ล้านตัน)2/
การผลิตเกิน
การบริโภค
(ล้านตัน)
เอเชีย 4,426.68 407.11 428.18 +21.07
ร้อยละ 85.58 89.44
-เอเซียตะวันออก 1550.67 163.57 159.49 -4.08
-เอเซียใต้ 1610.60 143.43 153.33 +9.90
-เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 594.60 103.16 115.36 +12.20
ตะวันออกกลาง 276.90 9.23 2.44 -6.79
อเมริกาเหนือและอเมริกากลาง 503.6 8.88 8.39 -0.49
อเมริกาใต้ 387.5 14.60 16.37 +1.77
สหภาพยุโรป 520.20 3.35 1.96 -1.39
โซเวียตยูเนี่ยนเดิม 284.80 1.52 1.19 -0.33
แอฟริกา 989.50 30.41 18.97 -11.44
อื่นๆ 84.60 0.56 1.21 +0.65
รวม 6,838.20 475.71 478.71 +3.00
ปริมาณการบริโภค และการผลิตข้าวในรูปข้าวสารของโลก ปี 2557/58
เอเชียใต ้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต ้เป็นแหล่งผลิตข ้าวส่วนเกินมาก
1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
ที่มา: USDA อ ้างใน “Southeast Asia’s Rice Surplus” by K. Baldwin; N. Childs; J. Dyck and J. Hansen, USDA, December 2012
1.2 การเป็ นผู้ส่งออกสุทธิของอาเซียนมีแนวโน้มขยายตัว
กดดันต่อการเพิ่มอุปทานข้าวในตลาดการค้าข้าวโลก
การผลิตข ้าวของอเซียน 115.36 ล ้านตัน ส่วนการบริโภค 103.16 ล ้าน
ตันและมีส่วนเกิน 12.20 ล ้านตัน การเพิ่มขึ้นขอุปทานจากเมียนมาร์ และ
กัมพูชา และนโยบายพึ่งพิงตนเองของ อินโดนิเชีย และฟิลิปปินส์ ทําให ้
เกิดการหดตัวของการนําเข ้าและมีข ้าวส่วนเกินเพิ่มขึ้น
นําเข้าปี 2558 ของ ASEAN รวม
5.60 ล้านตัน ตํ่ากว่าปี 2554 ซึ่ง
นําเข้า 6.50 ล้านตัน ลดลง 0.90
ล้านตัน
ปี 2558 ส่งออกของASEAN รวม
19.30 ล้านตัน ตํ่ากว่าปี 2554 ซึ่ง
ส่งออก 19.25 ล้านตันเพิ่มขึ้น 0.05
ล้านตัน
1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
หมายเหตุ: 1/ราคาจากสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
ที่มา: FAO Rice price report
1.3 ตลาดส่งออกข้าวมีการแข่งขันด้านราคาสูง
White rice 5% White rice 25% หอมมะลิ บาสมาติ ข้าวนึ่ง
ปี ไทย เวียดนาม ความต่าง อินเดีย ไทย เวียดนาม ไทย ปากีสถาน ไทย
2553 492 416 +76 - 444 387 1,045 881 532
2554 549 505 +44 409 511 467 1,054 1,060 563
2555 573 432 +141 391 560 397 1,091 1,137 594
2556 518 391 +127 402 504 363 1,180 1,372 530
2557 423 410 +13 377 382 377 1,150 1,324 435
2558 386 353 +33 337 373 334 1,008 849 392
2559(ม.ค.- ก.ค.) 406 356 +50 337 393 339 802 760 422
สิงหาคม 2559 1/ 420 350 +70 355 409 335 837 na 431
 ราคาข้าวเฉลี่ย (F.O.B. ) ของไทย เวียดนาม อินเดีย ปากีสถาน ตามชนิด
ข้าว
Unit:US$per ton
1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
ที่มา: FAO rice price data, FAO
1.3 (ต่อ)
0
150
300
450
600
750
900
1050
1200
1350
1500
1650
ม.ค.-47
พ.ค.-47
ก.ย.-47
ม.ค.-48
พ.ค.-48
ก.ย.-48
ม.ค.-49
พ.ค.-49
ก.ย.-49
ม.ค.-50
พ.ค.-50
ก.ย.-50
ม.ค.-51
พ.ค.-51
ก.ย.-51
ม.ค.-52
พ.ค.-52
ก.ย.-52
ม.ค.-53
พ.ค.-53
ก.ย.-53
ม.ค.-54
พ.ค.-54
ก.ย.-54
ม.ค.-55
พ.ค.-55
ก.ย.-55
ม.ค.-56
พ.ค.-56
ก.ย.-56
ม.ค.-57
พ.ค.-57
ก.ย.-57
ม.ค.-58
พ.ค.-58
ก.ย.-58
ม.ค.-59
พ.ค.-59
เหรียญสหรัฐ/ตัน
U.S.Lomg grain 2.4 % Thai 5% Viet 5%
India 25% Thai 25% Viet 25%
Pak Basmati Ordinary 3/ Thai Fragrant 100%
1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
1.4 คู่แข่งขันข้าวไทยในทุกระดับตลาดการค้าข้าวโลกมี
มากขึ้น
ตลาดข ้าวระดับพรีเมี่ยม
ตลาดข ้าวพรีเมี่ยม ได ้แก่ตลาดข ้าวหอมมีการแข่งขันที่มากกว่าเดิมเพราะ
เวียดนามได ้พัฒนาการผลิตข ้าวคุณภาพพรีเมียมและสามารถส่งอกข ้าวหอมมะลิ
ในระดับราคาที่ตํ่ากว่าไทยอย่างมาก ในขณะกัมพูชามีการส่งออกข ้าวหอมมากขึ้น
อีกทั้งจีนและสหรัฐฯ ต่างก็ได ้มีการพัฒนาการผลิตข ้าวหอมด ้วยเช่นกัน
ตลาดข ้าวสารเจ ้า 5% และ 25% เป็นตลาดข ้าวที่มีการแข่งขันสูง เวียดนาม
อินเดีย และรวมถึงประเทศที่จะเข ้ามาแข่งขันใหม่ในตลาดได ้แก่เขมรและพม่า
รวมถึงข ้าวจากกลุ่มประเทศในละตินอเมริกา ข ้าวในกลุ่มนี้ของไทยกําลังแข่งขัน
ไม่ได ้และถูกแทนที่โดยคู่แข่งขันที่มีต ้นทุนที่ตํ่ากว่า
ตลาดข ้าวสารเจ ้า 5% และ 25%
ตลาดข ้าวนึ่ง
ตลาดข ้าวนึ่งเป็นตลาดในแอฟริกาและตะวันออกกลางซึ่งเดิมอินเดียเป็นผู้ส่งออก
ข ้าวนึ่งไปในตลาดแอฟริการายใหญ่ แต่จากปี 2551 เป็นต ้นมาที่อินเดียหยุดการ
ส่งออก ทําให ้ข ้าวนึ่งจากไทยเข ้าไปแทนตลาดข ้าวนึ่งของอินเดีย แม ้ไทยจะ
ส่งออกข ้าวนึ่งได ้มากแต่การที่อินเดียกลับมาส่งออกในปี 2554เป็นต ้นมา ทําให ้
ตลาดข ้าวนึ่งมีการแข่งขันมากขึ้น
1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
1.4(ต่อ)
ที่มา: Saminder Bedi, 2014
หน่วย: พันตัน
เวียดนามและกัมพูชาถือครองตลาดเพิ่มขึ้น
1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
Source: คํานวณจากข ้อมูล the Rice Trader อ ้างใน Orachos Napasintuwong
1.10 อินเดียคู่แข่งขันรายสําคัญในการค้าข้าวนึ่งโลก
ไทยได ้สูญเสียตลาดข ้าวนึ่งให ้กับอินเดียนับจากปี 2555 เป็นต ้นมา
1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
ข้าวสารเจ้า
100%
ข้าวสารเจ้า
5%
ข้าวสารเจ้า
10%
ข้าวสารเจ้า
15%
ข้าวสารเจ้า
25%
ข้าวหอม
มะลิ
ข้าวหอม
ปทุม
ข้าวนึ่ง ข้าวเหนียว ข้าวอื่น ๆ
2556 577,014 966,138 10,227 6,913 8,203 1,847,20 50,610 1,691,40 287,392 1,458,90
2557 674,053 2,601,00 96,651 219,549 1,091,20 1,869,60 161,071 3,262,60 334,084 556,058
2558 556,148 3,002,09 66,048 361,264 767,569 1,987,21 124,401 2,317,60 264,432 348,985
-
500,000
1,000,000
1,500,000
2,000,000
2,500,000
3,000,000
3,500,000
หน่วย: ตัน
ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร
1.11 ตลาดส่งออกข้าวไทยแตกต่างไปตามชนิดของข้าว
ปริมาณการส่งออกข้าวไทยปี 2556-2558 แยกตามประเภทข้าว
1. สถานการณ์ที่กดดันข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
-
500,000
1,000,000
1,500,000
2,000,000
2,500,000
3,000,000
3,500,000
4,000,000
4,500,000
5,000,000
5,500,000
6,000,000
6,500,000
หน่วย: ตัน
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
ปริมาณการส่งออกข ้าวไปยังภูมิภาคต่างๆ 2552-58
1.12 ภูมิภาคแอฟริกาตลาดข้าวรายใหญ่ของไทย
ที่มา:คํานวณจากฐานข ้อมูลของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรด ้วยความร่วมมือกับกรมศุลกากร
1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
ที่มา:คํานวณจากฐานข ้อมูลของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรด ้วยความร่วมมือกับกรมศุลกากร
1.13 การกระจายข้าวไทยแต่ละประเภทในตลาดส่งออก
มีความแตกต่างไปตามภูมิภาค
-
500,000
1,000,000
1,500,000
2,000,000
2,500,000
หน่วย: ตัน พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2558
ปริมาณการส่งออกข้าวหอมมะลิ 2553-58
(ตัน)
ปริมาณการส่งออกข้าวนึ่ง 2553-58 (ตัน)
-
500,000
1,000,000
1,500,000
2,000,000
2,500,000
3,000,000
3,500,000
4,000,000
หน่วย: ตัน
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2558
1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
1.13(ต่อ)
-
200,000
400,000
600,000
800,000
1,000,000
หน่วย: ตัน
ปริมาณการส่งออกข้าวเจ้า 100%
2553-58 พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2558 -
1,000,000
2,000,000
3,000,000
4,000,000
หน่วย: ตัน
ปริมาณการส่งออกข้าวเจ้า 5%
2553-58 พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2558
-
200,000
400,000
600,000
800,000
1,000,000
1,200,000
หน่วย: ตัน
ปริมาณการส่งออกข้าวเจ้า 25%
2553-58
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2558
1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
สถาบันคลังสมองของชาติ
สถาบันคลังสมองของชาติ
15
2. จุดอ่อนของข้าวไทยอยู่ที่ไหน?
การเสวนาวิชาการเรื่องอนาคตข้าวไทย….ในตลาดโลก จัดโดยศูนย์วิจัยและพัฒนา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ณ
ห้องประชุมชั้น 24 ธ.ก.ส. สํานักงานใหญ่ บางเขน กรุงเทพฯ วันพุธที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 9.00-11.30 น
16
2.1 การผลิตข้าวไทยในทศวรรษที่ผ่านมาขยายตัวมาก
เกินกว่าศักยภาพของตลาดส่งออกที่จะรองรับ
การผลิตข ้าวของไทยขายตัวเพิ่มขึ้นมากในช่วง ทศวรรษที่ผ่านมา
จาก17.68 ล ้านตันข ้าวสารเฉลี่ยปี 2546-48 มาเป็น 23 ล ้านตันข ้าวสาร
เฉลี่ยปี 2555-57 เกินกว่าความต ้องการใช ้ในประเทศถึงกว่ร ้อยละ 50
ซึ่งจะต ้องผลักดันไปสุ่ตลาดส่งออกที่มีการแข่งขันสูง
2. จุดอ่อนของข้าวไทยอยู่ที่ไหน?
ช่วงปี ผลผลิต
ข้าวเปลือก
(ล้านตัน)
ผลผลิต
ข้าวสาร
(ล้านตัน)
ปริมาณ
การส่งออก
ของไทย
(ล้านตัน)
ปริมาณ
การค้าข้าว
โลก(ตัน)
ร้อยละการ
ส่งออก
ของไทย
2546-48 27.2 17.68 6.05 29.23 20.70
2549-51 31.13 20.23 6.29 31.06 20.25
2552-54 34.43 22.38 6.95 32.51 21.38
2555-57 35.43 23.03 7.55 41.19 18.33
2558 27.0 17.55 9.75 42.68 22.84
ที่มา: คํานวณจากข ้อมูลสสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2.2 การผลิตมากหากจะต้องส่งออกให้ได้มากก็จะกดดัน
ต่อแนวโน้มราคาข้าวไทยในตลาดส่งออกและราคาฟาร์ม
ให้ลดตํ่าลง
ไทยไม่มีอํานาจเหนือคู่แข่งในตลาดการค ้าข ้าวโลก สินค ้าข ้าว 5%
และ 25% เป็นสินค ้าที่ทดแทนกันได ้ดี แต่ราคาข ้าว US ยังรักษาความ
เป็น premium ไว ้ได ้แต่ในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันการแข่งขันด ้าน
ราคาข ้าวมีมากและกดดันต่อระดับราคาข ้าวส่งออกของทุกประเทศ
ที่มา: คํานวณจากข ้อมูล FAO
200
300
400
500
600
700
Jan-11
Mar-11
May-11
Jul-11
Sep-11
Nov-11
Jan-12
Mar-12
May-12
Jul-12
Sep-12
Nov-12
Jan-13
Mar-13
May-13
Jul-13
Sep-13
Nov-13
Jan-14
Mar-14
May-14
Jul-14
Sep-14
Nov-14
Jan-15
Mar-15
May-15
Jul-15
Sep-15
Nov-15
Jan-16
Mar-16
May-16
Jul-16
$/MT
U.S.Lomg grain 2.4 % Thai 5% Viet 5%
2. จุดอ่อนของข้าวไทยอยู่ที่ไหน?
18
2.3 ต้นทุนการผลิตที่สูงกว่าคู่แข่งทําให้ความสามารถใน
การแข่งขันของข้าวไทยถดถอยลง
2. จุดอ่อนของข้าวไทยอยู่ที่ไหน?
สถาบันคลังสมองของชาติ
สถาบันคลังสมองของชาติ
19
3. มองข้าวไทยในปี 2559/60
การเสวนาวิชาการเรื่องอนาคตข้าวไทย….ในตลาดโลก จัดโดยศูนย์วิจัยและพัฒนา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ณ
ห้องประชุมชั้น 24 ธ.ก.ส. สํานักงานใหญ่ บางเขน กรุงเทพฯ วันพุธที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 9.00-11.30 น
20
ประมาณว่าผลผลิตข ้าวไทย ในปี 2559/60 มีผลผลิตประมาณ 29
ล ้านตันข ้าวเปลือก เป็นการผลิตข ้าวนาปี 26 ล ้านตัน และข ้าวนาปรัง
ประมาณ 3 ล ้านตัน
ข้าวนาปีจะเป็ นข้าวเหนียวและข้าวหอมมะลิเป็ นส่วนใหญ่และ
เป็ นข้าวที่ตลาดจัดการได้ดี
ข ้าวหอมมะลิมีผลผลิต 8 ล ้านตันข ้าวเปลือก(4.8 ล ้านตันข ้าวสาร)
ข ้าวเหนียว 7 ล ้านตันข ้าวเปลือก(4.5 ล ้านตันข ้าวสาร)
ข ้าวพันธุ์ไวแสงอื่นๆ 2 ล ้านตันข ้าวเปลือก(1.3 ล ้านตันข ้าวสาร)
ข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสง 9 ล ้านตันข ้าวเปลือก(5.9 ล ้านตันข ้าวสาร) ปลูกใน
พื้นที่ชลประทาน
3.1 ข้าวไทยในปี 2559/60 จะมีผลผลิตและส่วนเกินเท่าไร?
3. มองข้าวไทยในปี 2559/60
ข้าวนาปีรวม 26 ล้านตันข้าวเปลือก(16.5 ล้านตันข้าวสาร)
เป็ นข้าวหอมมะลิและข้าวเหนียว 15 ล้านตันข้าวเปลือก
ข ้าวหอมมะลิและข ้าวเหนียวเป็นข ้าวที่มีตลาดจําเพาะ
21
ข้าวนาปรังต้นปี 2559
เป็นข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสงที่ปลูกช่วงต ้นปี 2559 ประมาณ 3 ล ้านตัน
ข ้าวเปลือก(2 ล ้านตันข ้าวสาร)
รวมข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสงนาปีและนาปรังในปี 2559/60 จะมีประมาณ 12
ล ้านตันข ้าวเปลือก (8 ล ้านตันข ้าวสาร) ซึ่งเป็นข ้าวที่มีตลาดทดแทนได ้
ง่าย แข่งขันด ้านราคาสูงในตลาดส่งออก
3.1 ข้าวไทยในปี 2559/60 จะมีผลผลิตและส่วนเกิน
เท่าไร?(ต่อ)
 ในปี 2559/60 ผลผลิตจะมีเหนือกว่าเป้าหมายที่รัฐบาลตั้งเป้าไว ้ที่
27 ล ้านตันข ้าวเปลือก คาดว่าประมาณ 3 ล ้านตันข ้าวเปลือก
 การใช ้ภายในประเทศจะมีประมาณ 10 ล ้านตันข ้าวสาร และมี
ส่วนเกินจากการใช ้ภายในประเทศประมาณ 8.5 ล ้านตันข ้าวสาร แต่ยังมี
ข ้าวในสต็อกอีกประมาณ 9 ล ้านตันข ้าวสารที่เป็นแรงกดดันตลาดส่งออก
ผลผลิตข้าวรวมในปี 2559/60 จะมีประมาณ 18.5 ล้านตัน
ข้าวสาร
3. มองข้าวไทยในปี 2559/60
 มีการสร ้างกลุ่มให ้เข ้มแข็ง มีกระบวนการผลิตที่
ดีจากต ้นนํ้าและเชื่อมต่อกับกระบวนการกลางนํ้า
และปลายนํ้า เกิดกระบวนการผลิ ตที่คํานึงถึงคุณค่า
เช่น การใช ้พันธุ์จําเพาะภายในกลุ่ม การใช ้เทคนิคด
จําเพาะ(เช่น ข ้าวหอมมะลิอินทรีย์ )การสร ้างระบบ
ความปลอดภัยในการผลิตและการแปรรูป
 มีการนําเอาทุนทางสังคม
ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล ้อม วัฒนธรรม
และภูมิปัญญาของชุมชน มาขับเคลื่อนเพื่อ
สร ้างนวัตกรรมในตัวสินค ้า
 มีการพัฒนามาตรฐานในตัวสินค ้าและ
ความปลอดภัยเพราะจะได ้มูลค่าต่อหน่วยที่
สูงขึ้น
3.2 ชุมชนเกษตรกรในพื้นที่นานํ้าฝนมีการปรับตัวสู่การ
ผลิตไปสู่ตลาดจําเพาะมากขึ้น
22
3. มองข้าวไทยในปี 2559/60
เป้นการปรับตัวจากการผลิตแบบ
mass ไปเป็นการผลิตแบบ niche
ข้าวขาว
20 บาท/กก.
ข้าวมีกลิ่นหอม
50บาท/กก.
ข้าวที่มีองค์ประกอบ
โภชนาการสูง
>70 บาท/กก.
Country
Standard
International
Standard
มาตรฐานไทย
มาตรฐานสากล
การเกษตร
อาเซียน
3.3 ชุมชนเกษตรกรรายย่อยมีการผลิตสู่มาตรฐานสากล
มากขึ้น
23
การก ้าวสู่ยุคการค ้าเสรี
ความก ้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
มาตรฐานสินค ้า
เกษตรและอาหาร
เช่นข ้าวหอมมะลิ
มาตรฐานระบบ
(เช่น GAP, Organic
Thailand, GMP เป็น
ต ้น)
มาตรฐานชุมชน
มาตรฐานทั่วไป
SPS/QIE/CODEX/
IPPC
มาตรฐาน IFOAM, USDA
ORGANIC
มาตรฐานทั่วไป
SPS/QIE/CODEX/
IPPC/OIE
การเข ้าสู่
Word Free
Trade Economy
ตามบริบทของ
องค์การการค ้า
โลก
มิติเวลา
3. มองข้าวไทยในปี 2559/60
ขอบคุณ
24
Q&A

More Related Content

Viewers also liked

อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)somporn Isvilanonda
 
ข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวัน
ข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวันข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวัน
ข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวันAtomizz
 
Blay 2848 blayze-info-slide-050614
Blay 2848 blayze-info-slide-050614Blay 2848 blayze-info-slide-050614
Blay 2848 blayze-info-slide-050614studioaspirecreative
 
47257279d0b4f033e373b16e65f8f089 original
47257279d0b4f033e373b16e65f8f089 original47257279d0b4f033e373b16e65f8f089 original
47257279d0b4f033e373b16e65f8f089 originalbrindap6
 
Corporate & Promotional Gifts On Christmas
Corporate & Promotional Gifts On ChristmasCorporate & Promotional Gifts On Christmas
Corporate & Promotional Gifts On ChristmasDigital Printing
 
Danh muc tap chi duoc tinh diem
Danh muc tap chi duoc tinh diemDanh muc tap chi duoc tinh diem
Danh muc tap chi duoc tinh diemthanhntan
 
El titulo de posesion en el derecho civil peruano
El titulo de posesion en el derecho civil peruanoEl titulo de posesion en el derecho civil peruano
El titulo de posesion en el derecho civil peruanoLuciano Jacob
 
Physiclo slide deck
Physiclo slide deckPhysiclo slide deck
Physiclo slide deckFrank Yao
 
Nikhil C.V
Nikhil C.VNikhil C.V
Nikhil C.Vmonoj123
 
Sacred purpose youth presentation
Sacred purpose youth presentationSacred purpose youth presentation
Sacred purpose youth presentationricardmedina
 
ESG Lab Report - Catalogic Software DPX
ESG Lab Report - Catalogic Software DPXESG Lab Report - Catalogic Software DPX
ESG Lab Report - Catalogic Software DPXCatalogic Software
 

Viewers also liked (18)

อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)
 
ข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวัน
ข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวันข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวัน
ข้าวหอมมะลิ ไทยไปไต้หวัน
 
Blay 2848 blayze-info-slide-050614
Blay 2848 blayze-info-slide-050614Blay 2848 blayze-info-slide-050614
Blay 2848 blayze-info-slide-050614
 
47257279d0b4f033e373b16e65f8f089 original
47257279d0b4f033e373b16e65f8f089 original47257279d0b4f033e373b16e65f8f089 original
47257279d0b4f033e373b16e65f8f089 original
 
Planning
PlanningPlanning
Planning
 
Corporate & Promotional Gifts On Christmas
Corporate & Promotional Gifts On ChristmasCorporate & Promotional Gifts On Christmas
Corporate & Promotional Gifts On Christmas
 
Danh muc tap chi duoc tinh diem
Danh muc tap chi duoc tinh diemDanh muc tap chi duoc tinh diem
Danh muc tap chi duoc tinh diem
 
Number research
Number researchNumber research
Number research
 
El titulo de posesion en el derecho civil peruano
El titulo de posesion en el derecho civil peruanoEl titulo de posesion en el derecho civil peruano
El titulo de posesion en el derecho civil peruano
 
B2B - BIT
B2B - BIT B2B - BIT
B2B - BIT
 
Physiclo slide deck
Physiclo slide deckPhysiclo slide deck
Physiclo slide deck
 
Emocioes elearning
Emocioes elearningEmocioes elearning
Emocioes elearning
 
Presentasi
PresentasiPresentasi
Presentasi
 
Nikhil C.V
Nikhil C.VNikhil C.V
Nikhil C.V
 
Photocontest 07
Photocontest 07Photocontest 07
Photocontest 07
 
Ronatalaga
RonatalagaRonatalaga
Ronatalaga
 
Sacred purpose youth presentation
Sacred purpose youth presentationSacred purpose youth presentation
Sacred purpose youth presentation
 
ESG Lab Report - Catalogic Software DPX
ESG Lab Report - Catalogic Software DPXESG Lab Report - Catalogic Software DPX
ESG Lab Report - Catalogic Software DPX
 

More from somporn Isvilanonda

การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19somporn Isvilanonda
 
Thailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agricultureThailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agriculturesomporn Isvilanonda
 
Factor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price riseFactor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price risesomporn Isvilanonda
 
Somporn reearch management 19 07-2019
Somporn reearch management  19 07-2019Somporn reearch management  19 07-2019
Somporn reearch management 19 07-2019somporn Isvilanonda
 
Durian production and consumption and thailand export 7.06.19
Durian production and consumption and thailand export  7.06.19Durian production and consumption and thailand export  7.06.19
Durian production and consumption and thailand export 7.06.19somporn Isvilanonda
 
Planting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial assetPlanting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial assetsomporn Isvilanonda
 
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบการจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบsomporn Isvilanonda
 
Thailand rice production reform
Thailand rice production reform Thailand rice production reform
Thailand rice production reform somporn Isvilanonda
 
Driving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward researchDriving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward researchsomporn Isvilanonda
 
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้somporn Isvilanonda
 
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืนsomporn Isvilanonda
 
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทยเกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทยsomporn Isvilanonda
 
The future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economyThe future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economysomporn Isvilanonda
 
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555somporn Isvilanonda
 
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017somporn Isvilanonda
 
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯsomporn Isvilanonda
 
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทยความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทยsomporn Isvilanonda
 
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทายอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทายsomporn Isvilanonda
 

More from somporn Isvilanonda (20)

การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
 
World rice market and covid 19
World rice market and covid 19World rice market and covid 19
World rice market and covid 19
 
Thailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agricultureThailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agriculture
 
Factor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price riseFactor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price rise
 
Somporn reearch management 19 07-2019
Somporn reearch management  19 07-2019Somporn reearch management  19 07-2019
Somporn reearch management 19 07-2019
 
Durian production and consumption and thailand export 7.06.19
Durian production and consumption and thailand export  7.06.19Durian production and consumption and thailand export  7.06.19
Durian production and consumption and thailand export 7.06.19
 
Planting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial assetPlanting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial asset
 
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบการจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
 
Thailand rice production reform
Thailand rice production reform Thailand rice production reform
Thailand rice production reform
 
Driving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward researchDriving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward research
 
Agricultural product innovation
Agricultural product innovationAgricultural product innovation
Agricultural product innovation
 
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
 
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
 
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทยเกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
 
The future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economyThe future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economy
 
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555
 
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
 
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
 
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทยความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
 
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทายอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
 

อนาคตข้าวไทย ในตลาดโลก 31 08-59

  • 1. รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ การเสวนาวิชาการเรื่องอนาคตข ้าวไทย….ในตลาดโลก จัดโดยศูนย์วิจัยและพัฒนา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ณ ห ้องประชุมชั้น 24 ธ.ก.ส. สํานักงานใหญ่ บางเขน กรุงเทพฯ วันพุธที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 9.00-11.30 น สถาบันคลังสมองของชาติ อนาคตข้าวไทย…ในตลาดโลก E-mail:somporn@knit.or.th
  • 2. หัวข้อการนําเสนอ 1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก 2. จุดอ่อนของข้าวไทยอยู่ที่ไหน? 3. มองข้าวไทยในปี 2559/60 การเสวนาวิชาการเรื่องอนาคตข้าวไทย….ในตลาดโลก จัดโดยศูนย์วิจัยและพัฒนา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ณ ห้องประชุมชั้น 24 ธ.ก.ส. สํานักงานใหญ่ บางเขน กรุงเทพฯ วันพุธที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 9.00-11.30 น
  • 3. 1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก สถาบันคลังสมองของชาติ การเสวนาวิชาการเรื่องอนาคตข้าวไทย….ในตลาดโลก จัดโดยศูนย์วิจัยและพัฒนา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ณ ห้องประชุมชั้น 24 ธ.ก.ส. สํานักงานใหญ่ บางเขน กรุงเทพฯ วันพุธที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 9.00-11.30 น
  • 4. 1.1 การผลิตและการบริโภคข้าวในภูมิภาคต่างๆของโลก ที่มา : 1/ World Food Statistic and Kyushu University, Faculty of Agriculture; 2/ Grain : World Markets and Trade , January 2013 ภูมิภาค จํานวนประชากร (ล้านคน)1/ ปริมาณการ บริโภค (ล้านตัน)2/ ปริมาณการ ผลิต (ล้านตัน)2/ การผลิตเกิน การบริโภค (ล้านตัน) เอเชีย 4,426.68 407.11 428.18 +21.07 ร้อยละ 85.58 89.44 -เอเซียตะวันออก 1550.67 163.57 159.49 -4.08 -เอเซียใต้ 1610.60 143.43 153.33 +9.90 -เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 594.60 103.16 115.36 +12.20 ตะวันออกกลาง 276.90 9.23 2.44 -6.79 อเมริกาเหนือและอเมริกากลาง 503.6 8.88 8.39 -0.49 อเมริกาใต้ 387.5 14.60 16.37 +1.77 สหภาพยุโรป 520.20 3.35 1.96 -1.39 โซเวียตยูเนี่ยนเดิม 284.80 1.52 1.19 -0.33 แอฟริกา 989.50 30.41 18.97 -11.44 อื่นๆ 84.60 0.56 1.21 +0.65 รวม 6,838.20 475.71 478.71 +3.00 ปริมาณการบริโภค และการผลิตข้าวในรูปข้าวสารของโลก ปี 2557/58 เอเชียใต ้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต ้เป็นแหล่งผลิตข ้าวส่วนเกินมาก 1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 5. ที่มา: USDA อ ้างใน “Southeast Asia’s Rice Surplus” by K. Baldwin; N. Childs; J. Dyck and J. Hansen, USDA, December 2012 1.2 การเป็ นผู้ส่งออกสุทธิของอาเซียนมีแนวโน้มขยายตัว กดดันต่อการเพิ่มอุปทานข้าวในตลาดการค้าข้าวโลก การผลิตข ้าวของอเซียน 115.36 ล ้านตัน ส่วนการบริโภค 103.16 ล ้าน ตันและมีส่วนเกิน 12.20 ล ้านตัน การเพิ่มขึ้นขอุปทานจากเมียนมาร์ และ กัมพูชา และนโยบายพึ่งพิงตนเองของ อินโดนิเชีย และฟิลิปปินส์ ทําให ้ เกิดการหดตัวของการนําเข ้าและมีข ้าวส่วนเกินเพิ่มขึ้น นําเข้าปี 2558 ของ ASEAN รวม 5.60 ล้านตัน ตํ่ากว่าปี 2554 ซึ่ง นําเข้า 6.50 ล้านตัน ลดลง 0.90 ล้านตัน ปี 2558 ส่งออกของASEAN รวม 19.30 ล้านตัน ตํ่ากว่าปี 2554 ซึ่ง ส่งออก 19.25 ล้านตันเพิ่มขึ้น 0.05 ล้านตัน 1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 6. หมายเหตุ: 1/ราคาจากสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย ที่มา: FAO Rice price report 1.3 ตลาดส่งออกข้าวมีการแข่งขันด้านราคาสูง White rice 5% White rice 25% หอมมะลิ บาสมาติ ข้าวนึ่ง ปี ไทย เวียดนาม ความต่าง อินเดีย ไทย เวียดนาม ไทย ปากีสถาน ไทย 2553 492 416 +76 - 444 387 1,045 881 532 2554 549 505 +44 409 511 467 1,054 1,060 563 2555 573 432 +141 391 560 397 1,091 1,137 594 2556 518 391 +127 402 504 363 1,180 1,372 530 2557 423 410 +13 377 382 377 1,150 1,324 435 2558 386 353 +33 337 373 334 1,008 849 392 2559(ม.ค.- ก.ค.) 406 356 +50 337 393 339 802 760 422 สิงหาคม 2559 1/ 420 350 +70 355 409 335 837 na 431  ราคาข้าวเฉลี่ย (F.O.B. ) ของไทย เวียดนาม อินเดีย ปากีสถาน ตามชนิด ข้าว Unit:US$per ton 1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 7. ที่มา: FAO rice price data, FAO 1.3 (ต่อ) 0 150 300 450 600 750 900 1050 1200 1350 1500 1650 ม.ค.-47 พ.ค.-47 ก.ย.-47 ม.ค.-48 พ.ค.-48 ก.ย.-48 ม.ค.-49 พ.ค.-49 ก.ย.-49 ม.ค.-50 พ.ค.-50 ก.ย.-50 ม.ค.-51 พ.ค.-51 ก.ย.-51 ม.ค.-52 พ.ค.-52 ก.ย.-52 ม.ค.-53 พ.ค.-53 ก.ย.-53 ม.ค.-54 พ.ค.-54 ก.ย.-54 ม.ค.-55 พ.ค.-55 ก.ย.-55 ม.ค.-56 พ.ค.-56 ก.ย.-56 ม.ค.-57 พ.ค.-57 ก.ย.-57 ม.ค.-58 พ.ค.-58 ก.ย.-58 ม.ค.-59 พ.ค.-59 เหรียญสหรัฐ/ตัน U.S.Lomg grain 2.4 % Thai 5% Viet 5% India 25% Thai 25% Viet 25% Pak Basmati Ordinary 3/ Thai Fragrant 100% 1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 8. 1.4 คู่แข่งขันข้าวไทยในทุกระดับตลาดการค้าข้าวโลกมี มากขึ้น ตลาดข ้าวระดับพรีเมี่ยม ตลาดข ้าวพรีเมี่ยม ได ้แก่ตลาดข ้าวหอมมีการแข่งขันที่มากกว่าเดิมเพราะ เวียดนามได ้พัฒนาการผลิตข ้าวคุณภาพพรีเมียมและสามารถส่งอกข ้าวหอมมะลิ ในระดับราคาที่ตํ่ากว่าไทยอย่างมาก ในขณะกัมพูชามีการส่งออกข ้าวหอมมากขึ้น อีกทั้งจีนและสหรัฐฯ ต่างก็ได ้มีการพัฒนาการผลิตข ้าวหอมด ้วยเช่นกัน ตลาดข ้าวสารเจ ้า 5% และ 25% เป็นตลาดข ้าวที่มีการแข่งขันสูง เวียดนาม อินเดีย และรวมถึงประเทศที่จะเข ้ามาแข่งขันใหม่ในตลาดได ้แก่เขมรและพม่า รวมถึงข ้าวจากกลุ่มประเทศในละตินอเมริกา ข ้าวในกลุ่มนี้ของไทยกําลังแข่งขัน ไม่ได ้และถูกแทนที่โดยคู่แข่งขันที่มีต ้นทุนที่ตํ่ากว่า ตลาดข ้าวสารเจ ้า 5% และ 25% ตลาดข ้าวนึ่ง ตลาดข ้าวนึ่งเป็นตลาดในแอฟริกาและตะวันออกกลางซึ่งเดิมอินเดียเป็นผู้ส่งออก ข ้าวนึ่งไปในตลาดแอฟริการายใหญ่ แต่จากปี 2551 เป็นต ้นมาที่อินเดียหยุดการ ส่งออก ทําให ้ข ้าวนึ่งจากไทยเข ้าไปแทนตลาดข ้าวนึ่งของอินเดีย แม ้ไทยจะ ส่งออกข ้าวนึ่งได ้มากแต่การที่อินเดียกลับมาส่งออกในปี 2554เป็นต ้นมา ทําให ้ ตลาดข ้าวนึ่งมีการแข่งขันมากขึ้น 1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 9. 1.4(ต่อ) ที่มา: Saminder Bedi, 2014 หน่วย: พันตัน เวียดนามและกัมพูชาถือครองตลาดเพิ่มขึ้น 1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 10. Source: คํานวณจากข ้อมูล the Rice Trader อ ้างใน Orachos Napasintuwong 1.10 อินเดียคู่แข่งขันรายสําคัญในการค้าข้าวนึ่งโลก ไทยได ้สูญเสียตลาดข ้าวนึ่งให ้กับอินเดียนับจากปี 2555 เป็นต ้นมา 1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 11. ข้าวสารเจ้า 100% ข้าวสารเจ้า 5% ข้าวสารเจ้า 10% ข้าวสารเจ้า 15% ข้าวสารเจ้า 25% ข้าวหอม มะลิ ข้าวหอม ปทุม ข้าวนึ่ง ข้าวเหนียว ข้าวอื่น ๆ 2556 577,014 966,138 10,227 6,913 8,203 1,847,20 50,610 1,691,40 287,392 1,458,90 2557 674,053 2,601,00 96,651 219,549 1,091,20 1,869,60 161,071 3,262,60 334,084 556,058 2558 556,148 3,002,09 66,048 361,264 767,569 1,987,21 124,401 2,317,60 264,432 348,985 - 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 3,500,000 หน่วย: ตัน ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร 1.11 ตลาดส่งออกข้าวไทยแตกต่างไปตามชนิดของข้าว ปริมาณการส่งออกข้าวไทยปี 2556-2558 แยกตามประเภทข้าว 1. สถานการณ์ที่กดดันข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 12. - 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 3,500,000 4,000,000 4,500,000 5,000,000 5,500,000 6,000,000 6,500,000 หน่วย: ตัน 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 ปริมาณการส่งออกข ้าวไปยังภูมิภาคต่างๆ 2552-58 1.12 ภูมิภาคแอฟริกาตลาดข้าวรายใหญ่ของไทย ที่มา:คํานวณจากฐานข ้อมูลของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรด ้วยความร่วมมือกับกรมศุลกากร 1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 13. ที่มา:คํานวณจากฐานข ้อมูลของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรด ้วยความร่วมมือกับกรมศุลกากร 1.13 การกระจายข้าวไทยแต่ละประเภทในตลาดส่งออก มีความแตกต่างไปตามภูมิภาค - 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 หน่วย: ตัน พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 ปริมาณการส่งออกข้าวหอมมะลิ 2553-58 (ตัน) ปริมาณการส่งออกข้าวนึ่ง 2553-58 (ตัน) - 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 3,500,000 4,000,000 หน่วย: ตัน พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 14. 1.13(ต่อ) - 200,000 400,000 600,000 800,000 1,000,000 หน่วย: ตัน ปริมาณการส่งออกข้าวเจ้า 100% 2553-58 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 - 1,000,000 2,000,000 3,000,000 4,000,000 หน่วย: ตัน ปริมาณการส่งออกข้าวเจ้า 5% 2553-58 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 - 200,000 400,000 600,000 800,000 1,000,000 1,200,000 หน่วย: ตัน ปริมาณการส่งออกข้าวเจ้า 25% 2553-58 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 1. แรงกดดันต่อข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 15. สถาบันคลังสมองของชาติ สถาบันคลังสมองของชาติ 15 2. จุดอ่อนของข้าวไทยอยู่ที่ไหน? การเสวนาวิชาการเรื่องอนาคตข้าวไทย….ในตลาดโลก จัดโดยศูนย์วิจัยและพัฒนา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ณ ห้องประชุมชั้น 24 ธ.ก.ส. สํานักงานใหญ่ บางเขน กรุงเทพฯ วันพุธที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 9.00-11.30 น
  • 16. 16 2.1 การผลิตข้าวไทยในทศวรรษที่ผ่านมาขยายตัวมาก เกินกว่าศักยภาพของตลาดส่งออกที่จะรองรับ การผลิตข ้าวของไทยขายตัวเพิ่มขึ้นมากในช่วง ทศวรรษที่ผ่านมา จาก17.68 ล ้านตันข ้าวสารเฉลี่ยปี 2546-48 มาเป็น 23 ล ้านตันข ้าวสาร เฉลี่ยปี 2555-57 เกินกว่าความต ้องการใช ้ในประเทศถึงกว่ร ้อยละ 50 ซึ่งจะต ้องผลักดันไปสุ่ตลาดส่งออกที่มีการแข่งขันสูง 2. จุดอ่อนของข้าวไทยอยู่ที่ไหน? ช่วงปี ผลผลิต ข้าวเปลือก (ล้านตัน) ผลผลิต ข้าวสาร (ล้านตัน) ปริมาณ การส่งออก ของไทย (ล้านตัน) ปริมาณ การค้าข้าว โลก(ตัน) ร้อยละการ ส่งออก ของไทย 2546-48 27.2 17.68 6.05 29.23 20.70 2549-51 31.13 20.23 6.29 31.06 20.25 2552-54 34.43 22.38 6.95 32.51 21.38 2555-57 35.43 23.03 7.55 41.19 18.33 2558 27.0 17.55 9.75 42.68 22.84 ที่มา: คํานวณจากข ้อมูลสสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • 17. 2.2 การผลิตมากหากจะต้องส่งออกให้ได้มากก็จะกดดัน ต่อแนวโน้มราคาข้าวไทยในตลาดส่งออกและราคาฟาร์ม ให้ลดตํ่าลง ไทยไม่มีอํานาจเหนือคู่แข่งในตลาดการค ้าข ้าวโลก สินค ้าข ้าว 5% และ 25% เป็นสินค ้าที่ทดแทนกันได ้ดี แต่ราคาข ้าว US ยังรักษาความ เป็น premium ไว ้ได ้แต่ในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันการแข่งขันด ้าน ราคาข ้าวมีมากและกดดันต่อระดับราคาข ้าวส่งออกของทุกประเทศ ที่มา: คํานวณจากข ้อมูล FAO 200 300 400 500 600 700 Jan-11 Mar-11 May-11 Jul-11 Sep-11 Nov-11 Jan-12 Mar-12 May-12 Jul-12 Sep-12 Nov-12 Jan-13 Mar-13 May-13 Jul-13 Sep-13 Nov-13 Jan-14 Mar-14 May-14 Jul-14 Sep-14 Nov-14 Jan-15 Mar-15 May-15 Jul-15 Sep-15 Nov-15 Jan-16 Mar-16 May-16 Jul-16 $/MT U.S.Lomg grain 2.4 % Thai 5% Viet 5% 2. จุดอ่อนของข้าวไทยอยู่ที่ไหน?
  • 19. สถาบันคลังสมองของชาติ สถาบันคลังสมองของชาติ 19 3. มองข้าวไทยในปี 2559/60 การเสวนาวิชาการเรื่องอนาคตข้าวไทย….ในตลาดโลก จัดโดยศูนย์วิจัยและพัฒนา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ณ ห้องประชุมชั้น 24 ธ.ก.ส. สํานักงานใหญ่ บางเขน กรุงเทพฯ วันพุธที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 9.00-11.30 น
  • 20. 20 ประมาณว่าผลผลิตข ้าวไทย ในปี 2559/60 มีผลผลิตประมาณ 29 ล ้านตันข ้าวเปลือก เป็นการผลิตข ้าวนาปี 26 ล ้านตัน และข ้าวนาปรัง ประมาณ 3 ล ้านตัน ข้าวนาปีจะเป็ นข้าวเหนียวและข้าวหอมมะลิเป็ นส่วนใหญ่และ เป็ นข้าวที่ตลาดจัดการได้ดี ข ้าวหอมมะลิมีผลผลิต 8 ล ้านตันข ้าวเปลือก(4.8 ล ้านตันข ้าวสาร) ข ้าวเหนียว 7 ล ้านตันข ้าวเปลือก(4.5 ล ้านตันข ้าวสาร) ข ้าวพันธุ์ไวแสงอื่นๆ 2 ล ้านตันข ้าวเปลือก(1.3 ล ้านตันข ้าวสาร) ข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสง 9 ล ้านตันข ้าวเปลือก(5.9 ล ้านตันข ้าวสาร) ปลูกใน พื้นที่ชลประทาน 3.1 ข้าวไทยในปี 2559/60 จะมีผลผลิตและส่วนเกินเท่าไร? 3. มองข้าวไทยในปี 2559/60 ข้าวนาปีรวม 26 ล้านตันข้าวเปลือก(16.5 ล้านตันข้าวสาร) เป็ นข้าวหอมมะลิและข้าวเหนียว 15 ล้านตันข้าวเปลือก ข ้าวหอมมะลิและข ้าวเหนียวเป็นข ้าวที่มีตลาดจําเพาะ
  • 21. 21 ข้าวนาปรังต้นปี 2559 เป็นข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสงที่ปลูกช่วงต ้นปี 2559 ประมาณ 3 ล ้านตัน ข ้าวเปลือก(2 ล ้านตันข ้าวสาร) รวมข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสงนาปีและนาปรังในปี 2559/60 จะมีประมาณ 12 ล ้านตันข ้าวเปลือก (8 ล ้านตันข ้าวสาร) ซึ่งเป็นข ้าวที่มีตลาดทดแทนได ้ ง่าย แข่งขันด ้านราคาสูงในตลาดส่งออก 3.1 ข้าวไทยในปี 2559/60 จะมีผลผลิตและส่วนเกิน เท่าไร?(ต่อ)  ในปี 2559/60 ผลผลิตจะมีเหนือกว่าเป้าหมายที่รัฐบาลตั้งเป้าไว ้ที่ 27 ล ้านตันข ้าวเปลือก คาดว่าประมาณ 3 ล ้านตันข ้าวเปลือก  การใช ้ภายในประเทศจะมีประมาณ 10 ล ้านตันข ้าวสาร และมี ส่วนเกินจากการใช ้ภายในประเทศประมาณ 8.5 ล ้านตันข ้าวสาร แต่ยังมี ข ้าวในสต็อกอีกประมาณ 9 ล ้านตันข ้าวสารที่เป็นแรงกดดันตลาดส่งออก ผลผลิตข้าวรวมในปี 2559/60 จะมีประมาณ 18.5 ล้านตัน ข้าวสาร 3. มองข้าวไทยในปี 2559/60
  • 22.  มีการสร ้างกลุ่มให ้เข ้มแข็ง มีกระบวนการผลิตที่ ดีจากต ้นนํ้าและเชื่อมต่อกับกระบวนการกลางนํ้า และปลายนํ้า เกิดกระบวนการผลิ ตที่คํานึงถึงคุณค่า เช่น การใช ้พันธุ์จําเพาะภายในกลุ่ม การใช ้เทคนิคด จําเพาะ(เช่น ข ้าวหอมมะลิอินทรีย์ )การสร ้างระบบ ความปลอดภัยในการผลิตและการแปรรูป  มีการนําเอาทุนทางสังคม ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล ้อม วัฒนธรรม และภูมิปัญญาของชุมชน มาขับเคลื่อนเพื่อ สร ้างนวัตกรรมในตัวสินค ้า  มีการพัฒนามาตรฐานในตัวสินค ้าและ ความปลอดภัยเพราะจะได ้มูลค่าต่อหน่วยที่ สูงขึ้น 3.2 ชุมชนเกษตรกรในพื้นที่นานํ้าฝนมีการปรับตัวสู่การ ผลิตไปสู่ตลาดจําเพาะมากขึ้น 22 3. มองข้าวไทยในปี 2559/60 เป้นการปรับตัวจากการผลิตแบบ mass ไปเป็นการผลิตแบบ niche ข้าวขาว 20 บาท/กก. ข้าวมีกลิ่นหอม 50บาท/กก. ข้าวที่มีองค์ประกอบ โภชนาการสูง >70 บาท/กก.
  • 23. Country Standard International Standard มาตรฐานไทย มาตรฐานสากล การเกษตร อาเซียน 3.3 ชุมชนเกษตรกรรายย่อยมีการผลิตสู่มาตรฐานสากล มากขึ้น 23 การก ้าวสู่ยุคการค ้าเสรี ความก ้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม มาตรฐานสินค ้า เกษตรและอาหาร เช่นข ้าวหอมมะลิ มาตรฐานระบบ (เช่น GAP, Organic Thailand, GMP เป็น ต ้น) มาตรฐานชุมชน มาตรฐานทั่วไป SPS/QIE/CODEX/ IPPC มาตรฐาน IFOAM, USDA ORGANIC มาตรฐานทั่วไป SPS/QIE/CODEX/ IPPC/OIE การเข ้าสู่ Word Free Trade Economy ตามบริบทของ องค์การการค ้า โลก มิติเวลา 3. มองข้าวไทยในปี 2559/60