SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
รศ.สมพร อิศวิลานนท์
นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ
เวทีเสวนา “ปลดล็อคแก ้ปัญหาราคาข ้าวอย่างยั่งยืน”
จัดโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่ง
ประเทศไทย วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10.00-12.00
ณ ห ้องประชุม 1 อาคารสารสนเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถาบันคลังสมองของชาติ
ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวอย่างยั่งยืน
E-mail:somporn@knit.or.th
หัวข้อการนําเสนอ
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาด
การค้าข้าวโลก
2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา
3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
เวทีเสวนา“ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวอย่างยั่งยืน” จัดโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย
วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10.00-12.00 ณ ห้องประชุมอาคารสารสนเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยใน
ตลาดการค้าข้าวโลก
สถาบันคลังสมองของชาติ
เวทีเสวนา“ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวอย่างยั่งยืน” จัดโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย
วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10.00-12.00 ณ ห้องประชุมอาคารสารสนเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
1.1 ผลผลิตข้าวโลกมีมากกว่าการบริโภคส่งผลต่อการเพิ่มขึ้น
ของสต็อกและกดดันต่อราคาข้าว
ที่มา: Grain: World Markets and Trade, various issues
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
0
100
200
300
400
500
600
700
800
900
0
100
200
300
400
500
600
2007/08 2008/09 2009/10 2010/11 2011/12 2012/13 2013/14 2014/15 2015/16 2016/17
Price:Us$pertons
ProductionandConsumption(unit:millionton)
Production TY Exports Domestic Consumption Ending Stocks
US Long Grain #2, 4% Thailand 5% Vietnam 5%
1.2 การขยายตัวของสต็อกข้าวโลกมีเพิ่มสูงขึ้นกว่าเดิม
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
ที่มา: Grain: World Markets and Trade, October 2016
1.3 ข้าวส่วนเกินมีมากในภูมิภาคอาเซียนและเอเซียใต้
ที่มา : Grain : World Markets and Trade , January 2013 and October 2016
ปริมาณการบริโภค และการผลิตข้าวข้าวสารของโลก ปี 2556/57 เทียบกับปี
2559/60
2556/57 2559/60
ภูมิภาค ปริมาณการ
บริโภค
(ล ้านตัน)
ปริมาณการ
ผลิต
(ล ้านตัน)
การผลิตเกิน
การบริโภค
(ล ้านตัน)
ปริมาณการ
บริโภค
(ล ้านตัน)
ปริมาณการ
ผลิต
(ล ้านตัน)
การผลิตเกิน
การบริโภค
(ล ้านตัน)
เอเชีย 409.71 428.56 18.85 406.13 431.38 +25.25
-เอเซียตะวันออก 162.66 157.59 -5.07 160.26 160.92 0.66
-เอเซียใต ้ 144.01 154.29 10.28 142.39 154.48 12.09
-อาเซียน 103.04 116.68 13.64 103.48 115.97 12.49
ตะวันออกกลาง 9.16 2.45 -6.7 8.94 2.56 -6.38
อเมริกา 22.99 23.67 0.68 23.67 24.66 1
สหภาพยุโรป 3.25 1.97 -1.28 3.5 2.03 -1.47
โซเวียตยูเนี่ยนเดิม 1.53 1.21 -0.32 1.55 1.23 -0.32
แอฟริกา 30.14 17.95 -12.19 31.31 20.03 -11.28
อื่นๆ 0.68 1.27 0.59 0.55 1.378 0.828
รวม 477.46 477.08 -0.38 475.65 483.27 7.62
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
1.4 คู่แข่งขันข้าวไทยในทุกระดับตลาดการค้าข้าวโลกมี
มากขึ้น
ตลาดข ้าวระดับพรีเมี่ยม
ตลาดข ้าวพรีเมี่ยม ได ้แก่ตลาดข ้าวหอมมีการแข่งขันที่มากกว่าเดิมเพราะ
เวียดนามได ้พัฒนาการผลิตข ้าวคุณภาพพรีเมียมและสามารถส่งอกข ้าวหอมมะลิใน
ระดับราคาที่ตํ่ากว่าไทยอย่างมาก ในขณะที่เวียดนามและกัมพูชามีการส่งออกข ้าว
หอมมากขึ้น อีกทั้งจีนและสหรัฐฯ ต่างก็ได ้มีการพัฒนาการผลิตข ้าวหอมด ้วยเช่นกัน
ตลาดข ้าวสารเจ ้า 5% และ 25% เป็นตลาดข ้าวที่มีการแข่งขันสูง เวียดนาม
อินเดีย และรวมถึงประเทศที่จะเข ้ามาแข่งขันใหม่ในตลาดได ้แก่กัมพูชาและพม่า
รวมถึงข ้าวจากกลุ่มประเทศในละตินอเมริกา ข ้าวสารเจ ้า 5%และ 25% ของไทย
กําลังแข่งขันไม่ได ้และถูกแทนที่โดยคู่แข่งขันที่มีต ้นทุนที่ตํ่ากว่า
ตลาดข ้าวสารเจ ้า 5% และ 25%
ตลาดข ้าวนึ่ง
ตลาดข ้าวนึ่งเป็นตลาดในแอฟริกาและตะวันออกกลางซึ่งเดิมอินเดียเป็นผู้ส่งออก
ข ้าวนึ่งไปในตลาดแอฟริการายใหญ่ แต่จากปี 2551 เป็นต ้นมาที่อินเดียหยุดการ
ส่งออก ทําให ้ข ้าวนึ่งจากไทยเข ้าไปแทนตลาดข ้าวนึ่งของอินเดีย แม ้ไทยจะ
ส่งออกข ้าวนึ่งได ้มากแต่การที่อินเดียกลับมาส่งออกในปี 2554เป็นต ้นมา ทําให ้
ตลาดข ้าวนึ่งมีการแข่งขันมากขึ้น
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
ประเทศ
ส่วนแบ่งตลาด (ร้อยละ)
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ไทย 29.21 28.67 29.37 17.61 17.01 24.84 22.91
เวียดนาม 20.28 21.32 19.31 19.73 16.97 14.33 15.49
อินเดีย 7.23 7.06 12.80 26.29 26.54 26.25 25.91
ปากีสถาน 10.84 12.67 9.40 8.69 10.46 8.38 9.37
สหรัฐอเมริกา 10.29 12.26 8.96 8.46 8.36 6.68 7.87
รวมผู้ส่งออกสําคัญ
5 ประเทศ
77.85 81.98 79.84 80.86 79.34 80.48 81.54
อื่นๆ 22.15 18.02 20.16 19.14 20.66 19.52 18.46
การค้าโลก 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
ปริมาณการค้าขาว
โลก(ล้านตัน)
29.34 31.57 36.26 39.13 39.49 44.16 42.68
ที่มา: คํานวนจากข ้อมูล USDA "Grain: World Markets and Trade, October 2016"
1.5 สัดส่วนการตลาดของข้าวไทยในตลาดส่งออกมี
แนวโน้มลดตํ่าลง
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
1.6 ข้าวหอมมะลิไทยกําลังถูกท้าทายจากประเทศคู่แข่ง
ที่มีต้นทุนตํ่า
ที่มา: Saminder Bedi, 2014
หน่วย: พันตัน
เวียดนามและกัมพูชาถือครองตลาดเพิ่มขึ้น
ตลาดข ้าวหอมมะลิที่มีอยู่ประมาณ 3.5 ล ้านตัน ประเทศไทยกําลังค่อยสูญเสียสัดส่วนทาง
การตลาดข ้าวหอมที่เป็นข ้าวพรีเมี่ยม
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
-
1,000,000
2,000,000
3,000,000
4,000,000
5,000,000
6,000,000
7,000,000
8,000,000
2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
หน่วย: ตัน
ปี
บราซิล
สหรัฐอเมริกา
อินเดีย
ไทย
1.7 ข้าวพาร์บอยอินเดียเป็ นผู้ถึอครองตลาดรายใหญ่
สัดส่วนทางการตลาดข้าวพาร์บอยของประเทศผู้ค้าที่สําคัญระหว่างปี 2550-2558
ที่มา: คํานวณจากข ้อมูล global trade
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
0
500000
1000000
1500000
2000000
2500000
3000000
หน่วย:ตัน
ไทย เวียดนาม
ตลาดข ้าวนอกเอเชีย 2554
ที่มา : จัดทําจากฐานข้อมูลสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ
Vietnam Grain and Feed Annual 2012 และ 2014
0.00
1,000,000.00
2,000,000.00
3,000,000.00 ข้าวขาว100%
ข้าวขาว5%
ข้าวขาว10%
ข้าวขาว15%
ข้าวขาว25%
ข้าวเหนียว
ข้าวหอมมะลิ
ข้าวหอมผสม
ข้าวปทุมธานี
ข้าวนึ่ง
ข้าวอื่นๆ
หน่วย:ตัน
ไทย เวียดนาม
ตลาดข ้าวในเอเชีย 2554
11
0
500000
1000000
1500000
2000000
2500000
3000000
หน่วย:ตัน
ไทย
เวียดนาม
0
500000
1000000
1500000
2000000
หน่วย:ตัน
ไทย
เวียดนาม
 ตลาดข ้าวในเอเชีย 2556ตลาดข ้าวนอกเอเชีย 2556
1.8 ตลาดข้าวในเอเชียเวียดนามเป็ นผู้ถือครองตลาดมา
นานแล้ว
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
ที่มา : คํานวณเฉลี่ยจากข้อมูล FAO Rice price report various issue
1.9 ข้าวเป็ นสินค้าทดแทนกันได้ง่ายและมีการแข่งขัน
ด้านราคาสูง
ข ้าว 5% ข ้าว 25% หอมมะลิ บาสมาติ ข ้าวนึ่ง
ปี ไทย เวียดนาม
ความ
ต่าง อินเดีย ไทย เวียดนาม ไทย ปากีสถาน ไทย
2553 492 416 +76 - 444 387 1,045 881 532
2554 549 505 +44 409 511 467 1,054 1,060 563
2555 573 432 +141 391 560 397 1,091 1,137 594
2556 518 391 +127 402 504 363 1,180 1,372 530
2557 423 410 +13 377 382 377 1,150 1,324 435
2558 386 353 +33 337 373 334 1,008 949 392
2559(ม.ค.-ต.ค.) 402 350 +52 335 390 334 791 784 417
มกราคม 59 369 353 +16 321 361 340 783 734 377
ตุลาคม 2559 369 333 +36 328 365 317 739 825 383
ราคาส่งออก F.O.B. ข้าวสารของไทยเทียบกับคู่แข่งบางประเทศ หน่วย:ดอลล่าห์สหรัฐต่อตัน
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
การสร ้างอํานาจเหนือตลาดส่งออกทําไม่ได ้ เว ้นแต่การสร ้างความจําเพาะในตัวสินค ้าและ
ตลาดให ้ค่าพรีเมี่ยมตามลักษณะของความจําเพาะ
ค่าพรีเมี่ยมที่ข้าวไทยมีเหนือกว่าคู่แข่งขันกําลังแคบลง
ที่มา: Grain: World Markets and Trade, October 2016
1.10 ระดับราคาข้าวส่งออกของประเทศผู้ส่งออกสําคัญ
ในเอเซียมีแนวโน้มในทิศทางขาลง
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
-
500,000
1,000,000
1,500,000
2,000,000
2,500,000
3,000,000
3,500,000
4,000,000
4,500,000
5,000,000
5,500,000
6,000,000
6,500,000
หน่วย: ตัน
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
ที่มา: คํานวณจากฐานข ้อมูลของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรด ้วยความร่วมมือกับกรมศุลกากร
1.11 เศรษฐกิจที่ชะลอตัวในภูม ภาคต่างของโลกส่ง
ผลกระทบต่อตลาดการนําเข้าข้าวและการส่งออกข้าวของ
ไทย
ภูมิภาคที่เป็นตลาดการค ้าข ้าวรายใหญ่ของไทยอยู่ในแอฟริกา
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
สถาบันคลังสมองของชาติ
สถาบันคลังสมองของชาติ
15
2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา
เวทีเสวนา“ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวอย่างยั่งยืน” จัดโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย
วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10.00-12.00 ณ ห้องประชุมอาคารสารสนเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2.1 ต้นทุนการผลิตข้าวของไทยสูงทําให้ความสามารถใน
การแข่งขันด้านราคาลดลง
ประเทศ ต ้นทุนข ้าวเปลือก(บาทต่อ
ตัน)
ไทย 1/ 7,452
เวียดนาม 2/ 5,615
พม่า 3/ 4,353
หมายเหตุ: 1/ Somporn Isvilanonda and Piyatat Palanuruk,
Agribenchmark(2013); 2/ Nguyen Tri Khiem (December 2013); 3/
Kyaw Myint, 2013;
4 พ.ย. ปี 2559 ความชื้น 15%(บาท/ตัน)
จ.สุพรรณบุรี 7,100-7,400(ข ้าวเปลือกเจ ้า)
จ. สุรินทร์ 8,700-9,000(หอมมะลิ)
ที่มา: สมาคมโรงสีข้าวไทย
ราคาข้าวเปลือกเจ้าที่สุพรรณบุรี และราคาข้าวหอมที่สุรินทร์
ระดับต ้นทุนการผลิตข ้าวเปลือกที่สูงเป็นปัจจัยสําคัญที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการ
แข่งขันในตลาดส่งออกข ้าวไทยและสร ้างแรงกดดันในรับไร่นา
ระดับราคาข ้าวที่ตกตํ่าดังเช่น
สถานการณ์ในปัจจุบัน เป็นภาวะที่
บีบคั้นต่อความอยู่รอดของชาวนา
ไทย
Source: USDA, Economic Research Service
2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา
17
2.2 นโยบายข้าวไทยในอดีตสนับสนุนการขยายตัวด้าน
การผลิตมากกว่าการให้ความสําคัญด้านการตลาด
การผลิตข ้าวของไทยขายตัวเพิ่มขึ้นมากในช่วง สองทศวรรษที่ผ่านมา เกินกว่า
ความต ้องการใช ้ในประเทศถึงกว่า 60% ซึ่งจะต ้องผลักดันไปสุ่ตลาดส่งออกที่มีการ
แข่งขันสูง
การใช ้นโยบายยกระดับราคาให ้สูงภายใต ้โครงการรับจํานําข ้าวทุกเมล็ดในอดีต ทํา
ให ้มีสต็อกจํานวนมาก สร ้างแรงกดดันในตลาดส่งออก ผลักดันให ้ราคาข ้าวไทยขาด
เสถียรภาพ
ขาดความชัดเจนในการสร ้างความสามารถในการแข่งขันและยกระดับคุณภาพของ
สินค ้าข ้าวในภาคการผลิต แต่กลับผลักดันให ้ต ้นทุนการผลิตขยายตัว
2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วง ทศวรรษที่ผ่านมา
ไม่ได ้ให ้ความสําคัญในการเพิ่มมูลค่าและคุณค่าของผลผลิต ทําให ้ข ้าวไทย
แข่งขันได ้ยากขึ้นในตลาดส่งออก
กลไกตลาดกลางข ้าวเปลือกหายไป
สถาบันคลังสมองของชาติ
สถาบันคลังสมองของชาติ
18
3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
เวทีเสวนา“ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวอย่างยั่งยืน” จัดโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย
วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10.00-12.00 ณ ห้องประชุมอาคารสารสนเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
19
ผลผลิตข ้าวไทยมีประมาณ 33 ล ้านตันข ้าวเปลือก เป็นการผลิตข ้าวนาปี 25 ล ้านตัน
และข ้าวนาปรังประมาณ 8 ล ้านตัน คิดเป็นปริมาณข ้าวสารประมาณ 21.45 ล ้านตัน)
ข้าวนาปรัง
ข ้าวหอมมะลิมีผลผลิตประมาณ 10 ล ้านตันข ้าวเปลือก(6.5 ล ้านตันข ้าวสาร)
ข ้าวเหนียว 7 ล ้านตันข ้าวเปลือก(3.5 ล ้านตันข ้าวสาร)
ข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสงและพันธุ์ไวแสงอื่นๆ 8 ล ้านตันข ้าวเปลือก(5.2 ล ้านตันข ้าวสาร)
เป็นข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสง ประมาณ 8 ล ้านตันข ้าวเปลือก((5.2 ล ้านตันข ้าวสาร)
3.1 การปรับโครงสร้างการผลิตข้าวเพื่อสร้างสมดุลของ
การผลิตเพื่อลดแรงกดดันของผลผลิตส่วนเกิน
3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
ข้าวนาปี
โครงสร้างการผลิต
ผลผลิตข้าวในปีปกติและความต้องการใช้ภายในประเทศ
ความต ้องการใช ้ภายในประเทศมีประมาณ 10 ล ้านตั้นข ้าวสาร และมีส่วนเกินจาก
ความต ้องการภายในประเทศประมาณ 11.45 ล ้านตัน ซึ่งต ้องหาตลาดส่งออก
 การสร ้างกลุ่มให ้เข ้มแข็ง มีกระบวนการผลิตที่ดี
จากต ้นนํ้าและเชื่อมต่อกับกระบวนการกลางนํ้าและ
ปลายนํ้า เพื่อให ้เกิดกระบวนการทําธุรกิจโดยใช ้
นวัตกรรมสร ้างคุณค่าและมูลค่า เช่น การใช ้พันธุ์
จําเพาะภายในกลุ่ม การใช ้เทคนิคจําเพาะ(เช่น ข ้าว
หอมมะลิอินทรีย์ )
 การนําเอาทุนทางสังคม ทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล ้อม วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของชุมชน มา
ขับเคลื่อนเพื่อสร ้างนวัตกรรมในตัวสินค ้า
 สร ้างหลักคิดภายใต ้กระบวนการจัดการความรู้
การตระหนักถึงความเสี่ยง การสร ้างรายได ้และการ
ประหยัดรายจ่าย
3.2 ทําอย่างไรจะทําให้ระบบการผลิตแบบ MASS ไปสู่
การผลิตแบบ Niche โดยอาศัยชุมชนเป็ นจุดศูนย์กลาง
20
3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
การสร ้างคุณค่าให ้กับตัวสินค ้า ยกระดับมาตรฐาน
และความปลอดภัยและความเชื่อถือในตัวสินค ้า
3.3 ทําอย่างไรจะทําให้เกษตรกรใช้พื้นที่เท่าเดิมแต่ได้
รายได้เพิ่มจากคุณค่าและมูลค่าของผลผลิต
การให ้ความสําคัญกับการลงทุนวิจัยทั้งการสร ้างคุณค่าจากต ้นนํ้าสู่ปลายนํ้ามี
ความจําเป็น
3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
ทําอย่างไรจะทําให ้ข ้าวเป็นได ้มากกว่าอาหารจานหลัก
ระบบการผลิต
(Production System)
ระบบการตลาด
(
3.4 ทําอย่างไรจึงจะให้เกิดการใช้นวัตกรรมช่วยต่อเติม
ห่วงโซ่อุปทานขึ้นเป็ นห่วงโซ่คุณค่า
ระบบการแปรรูป
(Processing System) Marketing System)
ระบบการบร ิโภค
(Consumption System)
ใช ้นวัตกรรมและความคิดเพิ่มมูลค่าในห่วงโซ่อุปทาน
3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
Source: ดัดแปลงและปรับปรุงจากแนวคิดของ Stan Shih’s
ให ้ความสําคัญกับการเพิ่ม คุณค่า มูลค่า ยกระดับความสามารถในการ
แข่งขัน สินค้ามี standardและมาตรฐาน
นวัตกรรม
การสร้าง
มูลค่าเพิ่ม
(Functional
Upgrading) นวัตกรรมกระบวนการ
(Process Upgrading)
นวัตกรรม ตัวสินค ้า(Product
Upgrading)
กิจกรรมภายใต ้
value chain
มูลค่าเพิ่ม
สร้างพันธกิจ
กับหน่วยงาน
ของรัฐ
สร้างพันธกิจ
กับมหาวิทยาลัย
สร้างพันธกิจ
กับหน่วยธุรกิจ
สร้างพันธกิจ
กับชุมชน
สร ้าง cost
competitiveness
สร ้าง value
added
สร ้างคุณค่าและ
มูลค่า
23
3.4 (ต่อ)
3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
Country
Standard
International
Standard
มาตรฐานไทย
มาตรฐานสากลการเกษตรอาเซียน
3.5 ทําอย่างไรจะทําให้เกษตรกรรายย่อยเข้าใจมาตรฐาน
การผลิตสินค้าเพราะเป็ นความจําเป็ นในยุคของการค้าเสรี
24
การก้าวสู่ยุคการค้าเสรี
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
มาตรฐานสินค ้า
เกษตรและอาหาร
เช่นข ้าวหอมมะลิ
มาตรฐานระบบ
(เช่น GAP, Organic
Thailand, GMP เป็น
ต ้น)
มาตรฐานชุมชน
มาตรฐานทั่วไป
SPS/QIE/CODEX/
IPPC
มาตรฐาน IFOAM, USDA
ORGANIC
มาตรฐานทั่วไป
SPS/QIE/CODEX/
IPPC/OIE
การเข ้าสู่
Word Free
Trade Economy
ตามบริบทของ
องค์การการค ้า
โลก
มิติเวลา
3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
3.6 ทําอย่างไรเกษตรกรรายย่อยจะมีความมั่นคงและ
ยั่งยืน
ได้รับคุณค่าจากการบริโภค
อาหารที่ได้คุณภาพ เป็ นมิตร
กับสิ่งแวดล้อม มีความ
ปลอดภัย เข้าถึงได้และมีอยู่
อย่างพอเพียง
ผูกโยงเครือข่ายสร้างเป็ นตลาด
จําเพาะ(niche market) มีกลไก
รับรองคุณค่า มีช่องทางในการ
กระจายสินค้า ที่เป็ นธรรม
สร้างความจําเพาะในคุณค่า
ของสินค้า(niche product)
ใช้ปัจจัยการผลิตที่เป็ นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม มีกลไกของ
กิจกรรมและการจัดการที่ดี
ตระหนักถึงความสําคัญ
ของระบบนิเวศ
สภาพแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ 25
ดิน นํ้า อากาศ
biodiversity
สังคม
เศรษฐกิจสิ่งแวดล้อม
เกษตรกรรมยั่งยืน
คุณภาพชีวิตที่ดีของ
เกษตรกร
ประสิทธิภาพ ความเป็นธรรม
การผสมผสานการ
ผลิตพืช และสัตว์
ปัจจัยการผลิต
• เมล็ดพันธุ์ดี
• .ใช ้ปัจจัยการผลิตคุณภาพ
• จัดการเครื่องมืออย่างมี
ประสิทธิภาพ
การผลิต
• รวมที่นาให ้ใหญ่่ขึ้น
• มีมาตรบานการผลิต
• ใช ้เครื่องจักรกลเข ้าช่วย
• ทําชลประทานไร่นาให ้มี
ประสิทธิภาพ
การดูแลหลังเก็บเกี่ยว
• แปรรูปที่ดี
• เก็บรักษาดี
• การขนส่งดี
การแปรรูป
• High VA processing
• Processing by-products
การค้า
• สืบที่มาได ้
• คุณภาพดี
• ความปลอดภัย
• การตลาด
ธุรกิจ
สหกรณ์การเกษตร
การจัดการที่ดินและทุน
การส่งเสริม การให้สินเชื่อ
26
3.7 ทําอย่างไรจึงจะสร้างกระบวนการผลิตและการตลาดของชุมชน
ให้เกิดเป็ นเครือข่ายที่มีขนาดใหญ่มีความได้เปรียบต่อขนาด
3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
ขอบคุณ

More Related Content

Viewers also liked

На школу директоров
На школу директоровНа школу директоров
На школу директоровKalter401
 
Top 5 Video Advertisements on YouTube: February '15
Top 5 Video Advertisements on YouTube: February '15Top 5 Video Advertisements on YouTube: February '15
Top 5 Video Advertisements on YouTube: February '15Crowd Siren
 
ข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจาย
ข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจายข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจาย
ข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจายsomporn Isvilanonda
 
Sedsad no. 46ม.ค. ก.พ 2558
Sedsad no. 46ม.ค. ก.พ 2558Sedsad no. 46ม.ค. ก.พ 2558
Sedsad no. 46ม.ค. ก.พ 2558somporn Isvilanonda
 
Garcinia cambogia: nuovo estratto miracolose per perdere peso velocemente. Tu...
Garcinia cambogia: nuovo estratto miracolose per perdere peso velocemente. Tu...Garcinia cambogia: nuovo estratto miracolose per perdere peso velocemente. Tu...
Garcinia cambogia: nuovo estratto miracolose per perdere peso velocemente. Tu...muddledreferee887
 
Bin masterr engineering
Bin masterr engineeringBin masterr engineering
Bin masterr engineeringphpamshuhu
 
Cloudswave Affiliate Network
Cloudswave Affiliate NetworkCloudswave Affiliate Network
Cloudswave Affiliate Networkcloudswave
 
6 Ways of Solve Your Oracle Dev-Test Problems Using All-Flash Storage and Cop...
6 Ways of Solve Your Oracle Dev-Test Problems Using All-Flash Storage and Cop...6 Ways of Solve Your Oracle Dev-Test Problems Using All-Flash Storage and Cop...
6 Ways of Solve Your Oracle Dev-Test Problems Using All-Flash Storage and Cop...Catalogic Software
 
Carlson 2006-fisiologia-de-la-conducta
Carlson 2006-fisiologia-de-la-conductaCarlson 2006-fisiologia-de-la-conducta
Carlson 2006-fisiologia-de-la-conductaITZI VIZCAINO GARCIA
 
Itil implementation and usages seminar
Itil implementation and usages seminarItil implementation and usages seminar
Itil implementation and usages seminarrsaebi
 
Maya Spa - Sales Strategies
Maya Spa - Sales StrategiesMaya Spa - Sales Strategies
Maya Spa - Sales StrategiesDr. C. K. Anoop
 
Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"
Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"
Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"#svegliamuseo
 
Facebook Cheat Sheet
Facebook Cheat SheetFacebook Cheat Sheet
Facebook Cheat SheetCrowd Siren
 
Shared Love: Flash Fiction Challenge 2014
Shared Love: Flash Fiction Challenge 2014Shared Love: Flash Fiction Challenge 2014
Shared Love: Flash Fiction Challenge 2014Soteris Eliades
 
Museo reale e museo virtuale si incontrano sui social network
Museo reale e museo virtuale si incontrano sui social networkMuseo reale e museo virtuale si incontrano sui social network
Museo reale e museo virtuale si incontrano sui social network#svegliamuseo
 
What is lifeguard safety hose technology?
What is lifeguard safety hose technology?What is lifeguard safety hose technology?
What is lifeguard safety hose technology?Andy Abrams
 
ESG Lab Report - Catalogic Software DPX
ESG Lab Report - Catalogic Software DPXESG Lab Report - Catalogic Software DPX
ESG Lab Report - Catalogic Software DPXCatalogic Software
 

Viewers also liked (20)

Photocontest 07
Photocontest 07Photocontest 07
Photocontest 07
 
На школу директоров
На школу директоровНа школу директоров
На школу директоров
 
Top 5 Video Advertisements on YouTube: February '15
Top 5 Video Advertisements on YouTube: February '15Top 5 Video Advertisements on YouTube: February '15
Top 5 Video Advertisements on YouTube: February '15
 
ข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจาย
ข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจายข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจาย
ข้าวไทย การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและช่องทางการกระจาย
 
Sedsad no. 46ม.ค. ก.พ 2558
Sedsad no. 46ม.ค. ก.พ 2558Sedsad no. 46ม.ค. ก.พ 2558
Sedsad no. 46ม.ค. ก.พ 2558
 
Planning
PlanningPlanning
Planning
 
Garcinia cambogia: nuovo estratto miracolose per perdere peso velocemente. Tu...
Garcinia cambogia: nuovo estratto miracolose per perdere peso velocemente. Tu...Garcinia cambogia: nuovo estratto miracolose per perdere peso velocemente. Tu...
Garcinia cambogia: nuovo estratto miracolose per perdere peso velocemente. Tu...
 
Bin masterr engineering
Bin masterr engineeringBin masterr engineering
Bin masterr engineering
 
Cloudswave Affiliate Network
Cloudswave Affiliate NetworkCloudswave Affiliate Network
Cloudswave Affiliate Network
 
6 Ways of Solve Your Oracle Dev-Test Problems Using All-Flash Storage and Cop...
6 Ways of Solve Your Oracle Dev-Test Problems Using All-Flash Storage and Cop...6 Ways of Solve Your Oracle Dev-Test Problems Using All-Flash Storage and Cop...
6 Ways of Solve Your Oracle Dev-Test Problems Using All-Flash Storage and Cop...
 
Carlson 2006-fisiologia-de-la-conducta
Carlson 2006-fisiologia-de-la-conductaCarlson 2006-fisiologia-de-la-conducta
Carlson 2006-fisiologia-de-la-conducta
 
Dar-ul-Sakoon
Dar-ul-SakoonDar-ul-Sakoon
Dar-ul-Sakoon
 
Itil implementation and usages seminar
Itil implementation and usages seminarItil implementation and usages seminar
Itil implementation and usages seminar
 
Maya Spa - Sales Strategies
Maya Spa - Sales StrategiesMaya Spa - Sales Strategies
Maya Spa - Sales Strategies
 
Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"
Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"
Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"
 
Facebook Cheat Sheet
Facebook Cheat SheetFacebook Cheat Sheet
Facebook Cheat Sheet
 
Shared Love: Flash Fiction Challenge 2014
Shared Love: Flash Fiction Challenge 2014Shared Love: Flash Fiction Challenge 2014
Shared Love: Flash Fiction Challenge 2014
 
Museo reale e museo virtuale si incontrano sui social network
Museo reale e museo virtuale si incontrano sui social networkMuseo reale e museo virtuale si incontrano sui social network
Museo reale e museo virtuale si incontrano sui social network
 
What is lifeguard safety hose technology?
What is lifeguard safety hose technology?What is lifeguard safety hose technology?
What is lifeguard safety hose technology?
 
ESG Lab Report - Catalogic Software DPX
ESG Lab Report - Catalogic Software DPXESG Lab Report - Catalogic Software DPX
ESG Lab Report - Catalogic Software DPX
 

More from somporn Isvilanonda

การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19somporn Isvilanonda
 
Thailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agricultureThailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agriculturesomporn Isvilanonda
 
Factor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price riseFactor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price risesomporn Isvilanonda
 
Somporn reearch management 19 07-2019
Somporn reearch management  19 07-2019Somporn reearch management  19 07-2019
Somporn reearch management 19 07-2019somporn Isvilanonda
 
Durian production and consumption and thailand export 7.06.19
Durian production and consumption and thailand export  7.06.19Durian production and consumption and thailand export  7.06.19
Durian production and consumption and thailand export 7.06.19somporn Isvilanonda
 
Planting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial assetPlanting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial assetsomporn Isvilanonda
 
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบการจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบsomporn Isvilanonda
 
Thailand rice production reform
Thailand rice production reform Thailand rice production reform
Thailand rice production reform somporn Isvilanonda
 
Driving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward researchDriving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward researchsomporn Isvilanonda
 
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้somporn Isvilanonda
 
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืนsomporn Isvilanonda
 
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทยเกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทยsomporn Isvilanonda
 
The future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economyThe future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economysomporn Isvilanonda
 
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555somporn Isvilanonda
 
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017somporn Isvilanonda
 
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯsomporn Isvilanonda
 
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทยความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทยsomporn Isvilanonda
 
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทายอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทายsomporn Isvilanonda
 

More from somporn Isvilanonda (20)

การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
 
World rice market and covid 19
World rice market and covid 19World rice market and covid 19
World rice market and covid 19
 
Thailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agricultureThailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agriculture
 
Factor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price riseFactor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price rise
 
Somporn reearch management 19 07-2019
Somporn reearch management  19 07-2019Somporn reearch management  19 07-2019
Somporn reearch management 19 07-2019
 
Durian production and consumption and thailand export 7.06.19
Durian production and consumption and thailand export  7.06.19Durian production and consumption and thailand export  7.06.19
Durian production and consumption and thailand export 7.06.19
 
Planting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial assetPlanting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial asset
 
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบการจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
 
Thailand rice production reform
Thailand rice production reform Thailand rice production reform
Thailand rice production reform
 
Driving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward researchDriving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward research
 
Agricultural product innovation
Agricultural product innovationAgricultural product innovation
Agricultural product innovation
 
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
 
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
 
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทยเกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
 
The future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economyThe future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economy
 
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555
 
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
 
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
 
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทยความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
 
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทายอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ สถานภาพและความท้าทาย
 

ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวไทยอย่างยั่งยืน

  • 1. รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ เวทีเสวนา “ปลดล็อคแก ้ปัญหาราคาข ้าวอย่างยั่งยืน” จัดโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่ง ประเทศไทย วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10.00-12.00 ณ ห ้องประชุม 1 อาคารสารสนเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันคลังสมองของชาติ ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวอย่างยั่งยืน E-mail:somporn@knit.or.th
  • 2. หัวข้อการนําเสนอ 1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาด การค้าข้าวโลก 2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา 3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่ เวทีเสวนา“ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวอย่างยั่งยืน” จัดโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10.00-12.00 ณ ห้องประชุมอาคารสารสนเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • 3. 1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยใน ตลาดการค้าข้าวโลก สถาบันคลังสมองของชาติ เวทีเสวนา“ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวอย่างยั่งยืน” จัดโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10.00-12.00 ณ ห้องประชุมอาคารสารสนเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • 4. 1.1 ผลผลิตข้าวโลกมีมากกว่าการบริโภคส่งผลต่อการเพิ่มขึ้น ของสต็อกและกดดันต่อราคาข้าว ที่มา: Grain: World Markets and Trade, various issues 1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก 0 100 200 300 400 500 600 700 800 900 0 100 200 300 400 500 600 2007/08 2008/09 2009/10 2010/11 2011/12 2012/13 2013/14 2014/15 2015/16 2016/17 Price:Us$pertons ProductionandConsumption(unit:millionton) Production TY Exports Domestic Consumption Ending Stocks US Long Grain #2, 4% Thailand 5% Vietnam 5%
  • 6. 1.3 ข้าวส่วนเกินมีมากในภูมิภาคอาเซียนและเอเซียใต้ ที่มา : Grain : World Markets and Trade , January 2013 and October 2016 ปริมาณการบริโภค และการผลิตข้าวข้าวสารของโลก ปี 2556/57 เทียบกับปี 2559/60 2556/57 2559/60 ภูมิภาค ปริมาณการ บริโภค (ล ้านตัน) ปริมาณการ ผลิต (ล ้านตัน) การผลิตเกิน การบริโภค (ล ้านตัน) ปริมาณการ บริโภค (ล ้านตัน) ปริมาณการ ผลิต (ล ้านตัน) การผลิตเกิน การบริโภค (ล ้านตัน) เอเชีย 409.71 428.56 18.85 406.13 431.38 +25.25 -เอเซียตะวันออก 162.66 157.59 -5.07 160.26 160.92 0.66 -เอเซียใต ้ 144.01 154.29 10.28 142.39 154.48 12.09 -อาเซียน 103.04 116.68 13.64 103.48 115.97 12.49 ตะวันออกกลาง 9.16 2.45 -6.7 8.94 2.56 -6.38 อเมริกา 22.99 23.67 0.68 23.67 24.66 1 สหภาพยุโรป 3.25 1.97 -1.28 3.5 2.03 -1.47 โซเวียตยูเนี่ยนเดิม 1.53 1.21 -0.32 1.55 1.23 -0.32 แอฟริกา 30.14 17.95 -12.19 31.31 20.03 -11.28 อื่นๆ 0.68 1.27 0.59 0.55 1.378 0.828 รวม 477.46 477.08 -0.38 475.65 483.27 7.62 1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 7. 1.4 คู่แข่งขันข้าวไทยในทุกระดับตลาดการค้าข้าวโลกมี มากขึ้น ตลาดข ้าวระดับพรีเมี่ยม ตลาดข ้าวพรีเมี่ยม ได ้แก่ตลาดข ้าวหอมมีการแข่งขันที่มากกว่าเดิมเพราะ เวียดนามได ้พัฒนาการผลิตข ้าวคุณภาพพรีเมียมและสามารถส่งอกข ้าวหอมมะลิใน ระดับราคาที่ตํ่ากว่าไทยอย่างมาก ในขณะที่เวียดนามและกัมพูชามีการส่งออกข ้าว หอมมากขึ้น อีกทั้งจีนและสหรัฐฯ ต่างก็ได ้มีการพัฒนาการผลิตข ้าวหอมด ้วยเช่นกัน ตลาดข ้าวสารเจ ้า 5% และ 25% เป็นตลาดข ้าวที่มีการแข่งขันสูง เวียดนาม อินเดีย และรวมถึงประเทศที่จะเข ้ามาแข่งขันใหม่ในตลาดได ้แก่กัมพูชาและพม่า รวมถึงข ้าวจากกลุ่มประเทศในละตินอเมริกา ข ้าวสารเจ ้า 5%และ 25% ของไทย กําลังแข่งขันไม่ได ้และถูกแทนที่โดยคู่แข่งขันที่มีต ้นทุนที่ตํ่ากว่า ตลาดข ้าวสารเจ ้า 5% และ 25% ตลาดข ้าวนึ่ง ตลาดข ้าวนึ่งเป็นตลาดในแอฟริกาและตะวันออกกลางซึ่งเดิมอินเดียเป็นผู้ส่งออก ข ้าวนึ่งไปในตลาดแอฟริการายใหญ่ แต่จากปี 2551 เป็นต ้นมาที่อินเดียหยุดการ ส่งออก ทําให ้ข ้าวนึ่งจากไทยเข ้าไปแทนตลาดข ้าวนึ่งของอินเดีย แม ้ไทยจะ ส่งออกข ้าวนึ่งได ้มากแต่การที่อินเดียกลับมาส่งออกในปี 2554เป็นต ้นมา ทําให ้ ตลาดข ้าวนึ่งมีการแข่งขันมากขึ้น 1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 8. ประเทศ ส่วนแบ่งตลาด (ร้อยละ) 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 ไทย 29.21 28.67 29.37 17.61 17.01 24.84 22.91 เวียดนาม 20.28 21.32 19.31 19.73 16.97 14.33 15.49 อินเดีย 7.23 7.06 12.80 26.29 26.54 26.25 25.91 ปากีสถาน 10.84 12.67 9.40 8.69 10.46 8.38 9.37 สหรัฐอเมริกา 10.29 12.26 8.96 8.46 8.36 6.68 7.87 รวมผู้ส่งออกสําคัญ 5 ประเทศ 77.85 81.98 79.84 80.86 79.34 80.48 81.54 อื่นๆ 22.15 18.02 20.16 19.14 20.66 19.52 18.46 การค้าโลก 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 ปริมาณการค้าขาว โลก(ล้านตัน) 29.34 31.57 36.26 39.13 39.49 44.16 42.68 ที่มา: คํานวนจากข ้อมูล USDA "Grain: World Markets and Trade, October 2016" 1.5 สัดส่วนการตลาดของข้าวไทยในตลาดส่งออกมี แนวโน้มลดตํ่าลง 1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 9. 1.6 ข้าวหอมมะลิไทยกําลังถูกท้าทายจากประเทศคู่แข่ง ที่มีต้นทุนตํ่า ที่มา: Saminder Bedi, 2014 หน่วย: พันตัน เวียดนามและกัมพูชาถือครองตลาดเพิ่มขึ้น ตลาดข ้าวหอมมะลิที่มีอยู่ประมาณ 3.5 ล ้านตัน ประเทศไทยกําลังค่อยสูญเสียสัดส่วนทาง การตลาดข ้าวหอมที่เป็นข ้าวพรีเมี่ยม 1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 10. - 1,000,000 2,000,000 3,000,000 4,000,000 5,000,000 6,000,000 7,000,000 8,000,000 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 หน่วย: ตัน ปี บราซิล สหรัฐอเมริกา อินเดีย ไทย 1.7 ข้าวพาร์บอยอินเดียเป็ นผู้ถึอครองตลาดรายใหญ่ สัดส่วนทางการตลาดข้าวพาร์บอยของประเทศผู้ค้าที่สําคัญระหว่างปี 2550-2558 ที่มา: คํานวณจากข ้อมูล global trade 1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 11. 0 500000 1000000 1500000 2000000 2500000 3000000 หน่วย:ตัน ไทย เวียดนาม ตลาดข ้าวนอกเอเชีย 2554 ที่มา : จัดทําจากฐานข้อมูลสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ Vietnam Grain and Feed Annual 2012 และ 2014 0.00 1,000,000.00 2,000,000.00 3,000,000.00 ข้าวขาว100% ข้าวขาว5% ข้าวขาว10% ข้าวขาว15% ข้าวขาว25% ข้าวเหนียว ข้าวหอมมะลิ ข้าวหอมผสม ข้าวปทุมธานี ข้าวนึ่ง ข้าวอื่นๆ หน่วย:ตัน ไทย เวียดนาม ตลาดข ้าวในเอเชีย 2554 11 0 500000 1000000 1500000 2000000 2500000 3000000 หน่วย:ตัน ไทย เวียดนาม 0 500000 1000000 1500000 2000000 หน่วย:ตัน ไทย เวียดนาม  ตลาดข ้าวในเอเชีย 2556ตลาดข ้าวนอกเอเชีย 2556 1.8 ตลาดข้าวในเอเชียเวียดนามเป็ นผู้ถือครองตลาดมา นานแล้ว 1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 12. ที่มา : คํานวณเฉลี่ยจากข้อมูล FAO Rice price report various issue 1.9 ข้าวเป็ นสินค้าทดแทนกันได้ง่ายและมีการแข่งขัน ด้านราคาสูง ข ้าว 5% ข ้าว 25% หอมมะลิ บาสมาติ ข ้าวนึ่ง ปี ไทย เวียดนาม ความ ต่าง อินเดีย ไทย เวียดนาม ไทย ปากีสถาน ไทย 2553 492 416 +76 - 444 387 1,045 881 532 2554 549 505 +44 409 511 467 1,054 1,060 563 2555 573 432 +141 391 560 397 1,091 1,137 594 2556 518 391 +127 402 504 363 1,180 1,372 530 2557 423 410 +13 377 382 377 1,150 1,324 435 2558 386 353 +33 337 373 334 1,008 949 392 2559(ม.ค.-ต.ค.) 402 350 +52 335 390 334 791 784 417 มกราคม 59 369 353 +16 321 361 340 783 734 377 ตุลาคม 2559 369 333 +36 328 365 317 739 825 383 ราคาส่งออก F.O.B. ข้าวสารของไทยเทียบกับคู่แข่งบางประเทศ หน่วย:ดอลล่าห์สหรัฐต่อตัน 1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก การสร ้างอํานาจเหนือตลาดส่งออกทําไม่ได ้ เว ้นแต่การสร ้างความจําเพาะในตัวสินค ้าและ ตลาดให ้ค่าพรีเมี่ยมตามลักษณะของความจําเพาะ ค่าพรีเมี่ยมที่ข้าวไทยมีเหนือกว่าคู่แข่งขันกําลังแคบลง
  • 13. ที่มา: Grain: World Markets and Trade, October 2016 1.10 ระดับราคาข้าวส่งออกของประเทศผู้ส่งออกสําคัญ ในเอเซียมีแนวโน้มในทิศทางขาลง 1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 14. - 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 3,500,000 4,000,000 4,500,000 5,000,000 5,500,000 6,000,000 6,500,000 หน่วย: ตัน 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 ที่มา: คํานวณจากฐานข ้อมูลของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรด ้วยความร่วมมือกับกรมศุลกากร 1.11 เศรษฐกิจที่ชะลอตัวในภูม ภาคต่างของโลกส่ง ผลกระทบต่อตลาดการนําเข้าข้าวและการส่งออกข้าวของ ไทย ภูมิภาคที่เป็นตลาดการค ้าข ้าวรายใหญ่ของไทยอยู่ในแอฟริกา 1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
  • 15. สถาบันคลังสมองของชาติ สถาบันคลังสมองของชาติ 15 2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา เวทีเสวนา“ปลดล็อคแก้ปัญหาราคาข้าวอย่างยั่งยืน” จัดโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10.00-12.00 ณ ห้องประชุมอาคารสารสนเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • 16. 2.1 ต้นทุนการผลิตข้าวของไทยสูงทําให้ความสามารถใน การแข่งขันด้านราคาลดลง ประเทศ ต ้นทุนข ้าวเปลือก(บาทต่อ ตัน) ไทย 1/ 7,452 เวียดนาม 2/ 5,615 พม่า 3/ 4,353 หมายเหตุ: 1/ Somporn Isvilanonda and Piyatat Palanuruk, Agribenchmark(2013); 2/ Nguyen Tri Khiem (December 2013); 3/ Kyaw Myint, 2013; 4 พ.ย. ปี 2559 ความชื้น 15%(บาท/ตัน) จ.สุพรรณบุรี 7,100-7,400(ข ้าวเปลือกเจ ้า) จ. สุรินทร์ 8,700-9,000(หอมมะลิ) ที่มา: สมาคมโรงสีข้าวไทย ราคาข้าวเปลือกเจ้าที่สุพรรณบุรี และราคาข้าวหอมที่สุรินทร์ ระดับต ้นทุนการผลิตข ้าวเปลือกที่สูงเป็นปัจจัยสําคัญที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการ แข่งขันในตลาดส่งออกข ้าวไทยและสร ้างแรงกดดันในรับไร่นา ระดับราคาข ้าวที่ตกตํ่าดังเช่น สถานการณ์ในปัจจุบัน เป็นภาวะที่ บีบคั้นต่อความอยู่รอดของชาวนา ไทย Source: USDA, Economic Research Service 2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา
  • 17. 17 2.2 นโยบายข้าวไทยในอดีตสนับสนุนการขยายตัวด้าน การผลิตมากกว่าการให้ความสําคัญด้านการตลาด การผลิตข ้าวของไทยขายตัวเพิ่มขึ้นมากในช่วง สองทศวรรษที่ผ่านมา เกินกว่า ความต ้องการใช ้ในประเทศถึงกว่า 60% ซึ่งจะต ้องผลักดันไปสุ่ตลาดส่งออกที่มีการ แข่งขันสูง การใช ้นโยบายยกระดับราคาให ้สูงภายใต ้โครงการรับจํานําข ้าวทุกเมล็ดในอดีต ทํา ให ้มีสต็อกจํานวนมาก สร ้างแรงกดดันในตลาดส่งออก ผลักดันให ้ราคาข ้าวไทยขาด เสถียรภาพ ขาดความชัดเจนในการสร ้างความสามารถในการแข่งขันและยกระดับคุณภาพของ สินค ้าข ้าวในภาคการผลิต แต่กลับผลักดันให ้ต ้นทุนการผลิตขยายตัว 2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วง ทศวรรษที่ผ่านมา ไม่ได ้ให ้ความสําคัญในการเพิ่มมูลค่าและคุณค่าของผลผลิต ทําให ้ข ้าวไทย แข่งขันได ้ยากขึ้นในตลาดส่งออก กลไกตลาดกลางข ้าวเปลือกหายไป
  • 19. 19 ผลผลิตข ้าวไทยมีประมาณ 33 ล ้านตันข ้าวเปลือก เป็นการผลิตข ้าวนาปี 25 ล ้านตัน และข ้าวนาปรังประมาณ 8 ล ้านตัน คิดเป็นปริมาณข ้าวสารประมาณ 21.45 ล ้านตัน) ข้าวนาปรัง ข ้าวหอมมะลิมีผลผลิตประมาณ 10 ล ้านตันข ้าวเปลือก(6.5 ล ้านตันข ้าวสาร) ข ้าวเหนียว 7 ล ้านตันข ้าวเปลือก(3.5 ล ้านตันข ้าวสาร) ข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสงและพันธุ์ไวแสงอื่นๆ 8 ล ้านตันข ้าวเปลือก(5.2 ล ้านตันข ้าวสาร) เป็นข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสง ประมาณ 8 ล ้านตันข ้าวเปลือก((5.2 ล ้านตันข ้าวสาร) 3.1 การปรับโครงสร้างการผลิตข้าวเพื่อสร้างสมดุลของ การผลิตเพื่อลดแรงกดดันของผลผลิตส่วนเกิน 3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่ ข้าวนาปี โครงสร้างการผลิต ผลผลิตข้าวในปีปกติและความต้องการใช้ภายในประเทศ ความต ้องการใช ้ภายในประเทศมีประมาณ 10 ล ้านตั้นข ้าวสาร และมีส่วนเกินจาก ความต ้องการภายในประเทศประมาณ 11.45 ล ้านตัน ซึ่งต ้องหาตลาดส่งออก
  • 20.  การสร ้างกลุ่มให ้เข ้มแข็ง มีกระบวนการผลิตที่ดี จากต ้นนํ้าและเชื่อมต่อกับกระบวนการกลางนํ้าและ ปลายนํ้า เพื่อให ้เกิดกระบวนการทําธุรกิจโดยใช ้ นวัตกรรมสร ้างคุณค่าและมูลค่า เช่น การใช ้พันธุ์ จําเพาะภายในกลุ่ม การใช ้เทคนิคจําเพาะ(เช่น ข ้าว หอมมะลิอินทรีย์ )  การนําเอาทุนทางสังคม ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล ้อม วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของชุมชน มา ขับเคลื่อนเพื่อสร ้างนวัตกรรมในตัวสินค ้า  สร ้างหลักคิดภายใต ้กระบวนการจัดการความรู้ การตระหนักถึงความเสี่ยง การสร ้างรายได ้และการ ประหยัดรายจ่าย 3.2 ทําอย่างไรจะทําให้ระบบการผลิตแบบ MASS ไปสู่ การผลิตแบบ Niche โดยอาศัยชุมชนเป็ นจุดศูนย์กลาง 20 3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่ การสร ้างคุณค่าให ้กับตัวสินค ้า ยกระดับมาตรฐาน และความปลอดภัยและความเชื่อถือในตัวสินค ้า
  • 21. 3.3 ทําอย่างไรจะทําให้เกษตรกรใช้พื้นที่เท่าเดิมแต่ได้ รายได้เพิ่มจากคุณค่าและมูลค่าของผลผลิต การให ้ความสําคัญกับการลงทุนวิจัยทั้งการสร ้างคุณค่าจากต ้นนํ้าสู่ปลายนํ้ามี ความจําเป็น 3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่ ทําอย่างไรจะทําให ้ข ้าวเป็นได ้มากกว่าอาหารจานหลัก
  • 22. ระบบการผลิต (Production System) ระบบการตลาด ( 3.4 ทําอย่างไรจึงจะให้เกิดการใช้นวัตกรรมช่วยต่อเติม ห่วงโซ่อุปทานขึ้นเป็ นห่วงโซ่คุณค่า ระบบการแปรรูป (Processing System) Marketing System) ระบบการบร ิโภค (Consumption System) ใช ้นวัตกรรมและความคิดเพิ่มมูลค่าในห่วงโซ่อุปทาน 3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
  • 23. Source: ดัดแปลงและปรับปรุงจากแนวคิดของ Stan Shih’s ให ้ความสําคัญกับการเพิ่ม คุณค่า มูลค่า ยกระดับความสามารถในการ แข่งขัน สินค้ามี standardและมาตรฐาน นวัตกรรม การสร้าง มูลค่าเพิ่ม (Functional Upgrading) นวัตกรรมกระบวนการ (Process Upgrading) นวัตกรรม ตัวสินค ้า(Product Upgrading) กิจกรรมภายใต ้ value chain มูลค่าเพิ่ม สร้างพันธกิจ กับหน่วยงาน ของรัฐ สร้างพันธกิจ กับมหาวิทยาลัย สร้างพันธกิจ กับหน่วยธุรกิจ สร้างพันธกิจ กับชุมชน สร ้าง cost competitiveness สร ้าง value added สร ้างคุณค่าและ มูลค่า 23 3.4 (ต่อ) 3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
  • 24. Country Standard International Standard มาตรฐานไทย มาตรฐานสากลการเกษตรอาเซียน 3.5 ทําอย่างไรจะทําให้เกษตรกรรายย่อยเข้าใจมาตรฐาน การผลิตสินค้าเพราะเป็ นความจําเป็ นในยุคของการค้าเสรี 24 การก้าวสู่ยุคการค้าเสรี ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม มาตรฐานสินค ้า เกษตรและอาหาร เช่นข ้าวหอมมะลิ มาตรฐานระบบ (เช่น GAP, Organic Thailand, GMP เป็น ต ้น) มาตรฐานชุมชน มาตรฐานทั่วไป SPS/QIE/CODEX/ IPPC มาตรฐาน IFOAM, USDA ORGANIC มาตรฐานทั่วไป SPS/QIE/CODEX/ IPPC/OIE การเข ้าสู่ Word Free Trade Economy ตามบริบทของ องค์การการค ้า โลก มิติเวลา 3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
  • 25. 3.6 ทําอย่างไรเกษตรกรรายย่อยจะมีความมั่นคงและ ยั่งยืน ได้รับคุณค่าจากการบริโภค อาหารที่ได้คุณภาพ เป็ นมิตร กับสิ่งแวดล้อม มีความ ปลอดภัย เข้าถึงได้และมีอยู่ อย่างพอเพียง ผูกโยงเครือข่ายสร้างเป็ นตลาด จําเพาะ(niche market) มีกลไก รับรองคุณค่า มีช่องทางในการ กระจายสินค้า ที่เป็ นธรรม สร้างความจําเพาะในคุณค่า ของสินค้า(niche product) ใช้ปัจจัยการผลิตที่เป็ นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม มีกลไกของ กิจกรรมและการจัดการที่ดี ตระหนักถึงความสําคัญ ของระบบนิเวศ สภาพแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ 25 ดิน นํ้า อากาศ biodiversity สังคม เศรษฐกิจสิ่งแวดล้อม เกษตรกรรมยั่งยืน คุณภาพชีวิตที่ดีของ เกษตรกร ประสิทธิภาพ ความเป็นธรรม การผสมผสานการ ผลิตพืช และสัตว์
  • 26. ปัจจัยการผลิต • เมล็ดพันธุ์ดี • .ใช ้ปัจจัยการผลิตคุณภาพ • จัดการเครื่องมืออย่างมี ประสิทธิภาพ การผลิต • รวมที่นาให ้ใหญ่่ขึ้น • มีมาตรบานการผลิต • ใช ้เครื่องจักรกลเข ้าช่วย • ทําชลประทานไร่นาให ้มี ประสิทธิภาพ การดูแลหลังเก็บเกี่ยว • แปรรูปที่ดี • เก็บรักษาดี • การขนส่งดี การแปรรูป • High VA processing • Processing by-products การค้า • สืบที่มาได ้ • คุณภาพดี • ความปลอดภัย • การตลาด ธุรกิจ สหกรณ์การเกษตร การจัดการที่ดินและทุน การส่งเสริม การให้สินเชื่อ 26 3.7 ทําอย่างไรจึงจะสร้างกระบวนการผลิตและการตลาดของชุมชน ให้เกิดเป็ นเครือข่ายที่มีขนาดใหญ่มีความได้เปรียบต่อขนาด 3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่