SlideShare a Scribd company logo
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

                                   UTQ online e-Training Course
                                            ใบความรู้ ที่ 1.1
           เรื่อง “ความหมาย วัตถุประสงค์ ประโยชน์ และคุณค่ าของการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน”
                     โครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ งระบบ ภายใต้ปฏิบติการไทยเข้มแข็ง
                                                ั               ั
                  (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ)

  ระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียนคืออะไร
           การดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน คือ การส่ งเสริ มพัฒนา การป้ องกันและการแก้ไขปั ญหาให้แก่
  นักเรี ยน เพื่อให้นกเรี ยนมีคุณสมลักษณะที่พึงประสงค์มีภูมิคุมกันทางจิตใจ มีคุณภาพชีวตที่ดี มี
                     ั                                        ้                       ิ
  ลักษณะในการดาดงชีวต และรอดพ้นจากสภาวะวิกฤติต่าง ๆ ได้อย่างปลอดภัย
                           ิ

  ระบบการช่ วยเหลือดูแลนักเรียน หมายถึงกระบวนการดาเนินงานช่วยเหลือนักเรี ยนอย่างเป็ นระบบ มี
  ขั้นตอน มีครู ท่ีปรึ กษาเป็ นบุคลากรหลักในการดาเนินโดยการมีส่วนร่ วมของบุลากรทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง
  ทั้งภายในและนอกสถานศึกษา อันได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง ชุมชน ผูบริ หาร
                                                                     ้                ้
  และครู ทุกคน มีวธีการและเครื่ องมือชัดเจน มีมาตรฐานคุณภาพและมีหลักฐานการทางานที่ตรวจสอบ
                    ิ
  ได้

  ทาไมจึงต้ องมีระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน ?
            วัตถุประสงค์ ของระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน
            1. เพื่อให้การดาเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนเป็ นไปปอย่างมีระบบมีประสิ ทธิ ภาพ
            2. เพื่อให้โรงเรี ยน กรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง ชุมชน องค์กรและหน่วยงานที่
                                                           ้
  เกี่ยวข้อง มีการทางานร่ วมกันโดยผ่านกระบวนการทางานที่ชดเจน มีร่องรอยหลักฐานการปฏิบติงาน
                                                                   ั                             ั
  สามารถตรวจสอบและประเมินผลได้
            ประโยชน์ และคุณค่ าของระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน
            1. นักเรี ยนได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างทัวถึงและตรงตามสภาพปั ญหา
                                                         ่
            2. สัมพันธภาพระหว่างครู กบนักเรี ยนเป็ นไปได้ดวยดีและอบอุ่น
                                            ั                  ้
            3. นักเรี ยนรู้จกตนเอง ควบคุมตนเองได้ มีการพัฒนาความฉลาดทางด้านอารมณ์ (EQ) ซึ่ง
                             ั
  เป็ นรากฐานในการพัฒนาความเก่ง (IQ) คุณธรรม จริ ยธรรม (MQ) และความมุ่งมันที่จะเอาชนะ  ่
  อุปสรรค (AQ)
            4. นักเรี ยนเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ข และได้รับการส่ งเสริ มพัฒนาเต็มศักยภาพอย่างรอบด้าน
            5. ผูเ้ กี่ยวข้องมีส่วนร่ วมในการพัฒนาคุณภาพนักเรี ยนอย่างเข้มแข็งจริ งจัง ด้วยความเสี ยสละ
  เอาใจใส่


                                            ้ ้                                                                                 ่            ่                                      1
   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน




  ทีมา : ระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน หลักการ แนวคิด และทิศทางในการดาเนินงานสานัก
    ่
  วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
                                                             ้
  (2552)




                                            ้ ้                                                                                 ่            ่                                      2
   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน



                                      UTQ online e-Training Course
                                              ใบความรู้ ที่ 1.2
                        เรื่อง “กระบวนการและขั้ นตอนของแบบดูแลช่ วยเหลือนักเรียน”
                       โครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ งระบบ ภายใต้ปฏิบติการไทยเข้มแข็ง
                                                  ั               ั
                    (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ)

                     แผนผังแสดงกระบวนการและขั้นตอนของระบบดูแลช่ วยเหลือนักเรียน

                                                                   2. รู้จกนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล
                                                                          ั


                                                                            3. คัดกรองนักเรี ยน



             กลุ่มพิเศษ                                   กลุ่มปกติ                                            กลุ่มเสี่ ยง                            กลุ่มมีปัญหา




                            4. ส่ งเสริ มพัฒนา                                                                      5. ป้ องกันและแก้ไขปั ญหา




                                                                           ดีข้ ึน                                               พฤติกรรมดี
                                                                                                                                 ขึ้นหรื อไม่




                                                                                                                                    ไม่ดีข้ ึน


                                                                                                                1. ส่ งต่อ(ภายใน:ครู แนะแนว
                                                                                                                   ฝ่ ายปกครอง หรื อครู อื่นๆ
                                                                                                                         ภายในโรงเรี ยน)
                                            ้ ้                                                                                 ่            ่                                      3
   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน



                                                 UTQ online e-Training Course
ที่มา : ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน หลักการแนวคิดและทิศทางในการดาเนิ นงาน.1.3 กวิชาการและมาตรฐานการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ.2552.
                                                          ใบความรู้ ที่ สานั
                  เรื่อง “บทบาทหน้ าทีของผู้รับผิดชอบ/ผู้เกียวข้ องในระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน”
                                           ่                     ่
                            โครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ งระบบ ภายใต้ปฏิบติการไทยเข้มแข็ง
                                                              ั                       ั
                         (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ)

         องค์ประกอบของผูรับผิดชอบ/ผูเ้ กี่ยวข้องในแต่ละคณะกรรมการและบทบาทหน้าที่
                        ้

  คณะกรรมการ                                  บุคลากร                                        ตาแหน่ ง                                              บทบาทหน้ าที่
 1.คณะกรรมการ                1) ผูอานวยการโรงเรี ยน
                                  ้                                               ประธานกรรมการ                             1) กาหนดนโยบาย วัตถุประสงค์ในการ
 อานวยการ (นา                2) รองผูอานวยการทุกฝ่ าย
                                       ้                                          กรรมการ                                   ดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน
 ทีม)                        3) หัวหน้าระดับชั้น                                  กรรมการ                                   2) แต่งตั้งคณะกรรมการ ประชุม
                             4) หัวหน้าแผนงานโรงเรี ยน                            กรรมการ                                   คณะกรรมการ อย่างน้อยภาคเรี ยนละ 2 ครั้ง
                             5) ผูแทนปกครอง/ชุมชน
                                    ้                                             กรรมการ                                   3) นิเทศ ติดตาม กากับการดูแลช่วยเหลือ
                             6) หัวหน้างานแนะแนว                                  กรรมการ                                   นักเรี ยนของโรงเรี ยนและระดับชั้น
                             7) รองผูอานวยการฝ่ ายกิจการ
                                         ้                                        กรรมการและ                                4) อื่น ๆ ที่โรงเรี ยนกาหนดเพิ่มเติม
                             นักเรี ยน                                            เลขานุการ




 2. คณะกรรมการ 1) รองผูอานวยการฝ่ ายกิจการ
                          ้                                                       ประธานกรรมการ                             1) ปฏิบติงานในฐานะเป็ นบุคลากร ในการ
                                                                                                                                      ั
 ประสานงาน (ทีม นักเรี ยน                                                                                                   ดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน
 ประสาน)        2) หัวหน้าระดับชั้น                                               กรรมการ                                   2) ประสานงาน ระหว่างคณะกรรมการ
                3) หัวหน้างานพยาบาล –                                             กรรมการ                                   อานวยการ (ทีมนา) และคณะกรรมการ
                อนามัย                                                                                                      ดาเนินงาน (ทีมทา) และหน่วยงานอื่น ๆ ที่
                4) ครู งานแผนงานสารสนเทศ                                          กรรมการ                                   เกี่ยวข้อง
                5) บุคลากรอื่น ๆ ตามความ                                          กรรมการ                                   3) จัดเอกสาร เครื่ องมือที่ใช้ในการ
                เหมาะสมของโรงเรี ยน                                                                                         ดาเนินงานและรับผิดชอบจัดประชุมชี้แจง
                6) หัวหน้างานแนะแนวหรื อ                                          กรรมการและ                                และการฝึ กอบรมให้ความรู ้แก่บุคลากร
                โรงเรี ยนพิจารณาบุคคลตาม                                          เลขานุการ                                 4) จัดการประชุมหรื อคณะกรรมการในการ
                ความเหมาะสม                                                                                                 ดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนร่ วมกันอย่างน้อยเดือน
                                                                                                                            ละ 2 ครั้ง
                                                                                                                            5)รายงานสรุ ปผลการดาเนินงาน
                                                                                                                            6) อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
  คณะกรรมการ                                  บุคลากร                                        ตาแหน่ ง                                              บทบาทหน้ าที่
                                                    ้ ้                                                                                 ่            ่                                      4
           utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
3. คณะกรรมการ              1) หัวหน้าระดับชั้น                                  ประธาน                                    1) ประสานงานผูที่เกี่ยวข้องประชุมชี้แจงทา
                                                                                                                                              ้
ดาเนินงาน (ทีม             2) รองหัวหน้าระดับชั้น                               กรรมการ                                   ความเข้าใจกับคณะกรรมการดาเนินงานใน
ทา) แยกเป็ น 6             ครู ที่ปรึ กษาในระดับชั้น                                                                      ระดับชั้นของตน
คณะตาม                     3) ครู ประจาวิชาในระดับชั้น                          กรรมการ                                   2) บันทึกหลักฐานการปฏิบติงานประเมินผล
                                                                                                                                                     ั
ระดับชั้น (หาก             และครู อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง                                                                    และจัดทารายงานตามระดับชั้น
ระดับชั้นใดมี              5) ครู แนะแนว                                        กรรมการ                                   3) ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการของครู ที่
จานวนครู มากให้            6) โรงเรี ยนพิจารณาบุคลากร                           กรรมการและ                                ปรึ กษาเพื่อประโยชนต่อการดูแลช่วยเหลือ
จัดแบ่งเป็ นกลุ่ม          ตามความเหมาะสม                                       เลขานุการ                                 นักเรี ยนและนาเสนอทีมประสาน
ย่อยได้อีก)                                                                                                               4) ประชุมร่ วมกัน อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1
                                                                                                                          ครั้ง
                                                                                                                          5) ปฏิบติตามบทบาทหน้าที่ในงานประจา
                                                                                                                                    ั
                                                                                                                          ของตน รายละเอียดหน้ าต่ อไป
                                                                                                                          6) อื่น ไ ตามที่ได้รับมอบหมาย


        หมายเหตุ คระกรรมการ บุคลากร และบทบาทหน้าที่ โรงเรี ยนปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม

                   บุคลากร                                                                                 บทบาทหน้ าที่
        1.ผู้บริหาร                                1.1 กาหนดนโยบายการดาเนินงานตามโครงการ
                                                   1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการ ประชุมคณะกรรมการอย่างน้อยภาคเรี ยนละ 1 ครั้งซึ่ง
                                                   คณะกรรมการทาตามครู มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนของกระทรวงศึกษาธิการและ
                                                   กรมสุขภาพจิต
                                                   1.3 นิเทศ ติดตาม กากับ การดูแลของโรงเรี ยนในแต่ละระดับชั้นมีการประเมิน
                                                   ทบทวนตลอดปี อย่างน้อยละ 1 ครั้ง
                                                   1.4 อื่น ๆ ตามที่รงเรี ยนกาหนด
        2. หัวหน้ าระดับ                           2.1 ติดตามกากับการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนของครู ที่ปรึ กษา
                                                   2.2 ประสานงานผูเ้ กี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน
                                                   2.3 จัดประชุมครู ในระดับ เพื่อประสิ ทธิภาพในการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน
                                                   2.4 จัดประชุมกลุ่มเพื่อปรึ กษารายกรณี
                                                   2.5 บันทึกหลักฐานการปฏิบติงานและจัดทารายงานประเมินผลระดับชั้นส่งผูบริ หาร
                                                                                 ั                                           ้
                                                   2.6 อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
        3. ครู ทปรึกษา
                ี่                                 3.1 ดาเนินการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน ทั้งการส่งเสริ มป้ องกันปั ญหาและการช่วยเหลือ
                                                   แก้ไขปั ญหาในด้านความสามารถด้านสุขภาพและด้านครอบครัวหรื ออื่นๆ
                                                   3.2 ดาเนินการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน ตามแนวทางที่กาหนด คือ
                                                   การรู ้จกนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล
                                                           ั
                                                   การคัดกรองนักเรี ยน
                                                   การส่งเสริ มนักเรี ยน
                                                   การป้ องกันและช่วยเหลือนักเรี ยน

                                                  ้ ้                                                                                 ่            ่                                      5
         utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
                                             การส่งต่อนักเรี ยน
                                             ร่ วมประชุมกลุ่มปรึ กษาปั ญหารายกรณี
                                             บันทึกหลักฐานการปฏิบติงาน และแระเมินผลรายงานส่งหัวหน้าระดับ
                                                                       ั
                                             อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
  4. ครู ประจาวิชาและครู                     4.1 ให้ขอมูลเกี่ยวกับนักเรี ยนแก่ครู ที่ปรึ กษา
                                                       ้
  อืนๆ ทีเ่ กียวข้ อง
    ่         ่                              4.2 ให้ความร่ วมมือกับครู ที่ปรึ กษาในการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนร่ วมกัน
                                             4.3 ร่ วมประชุมกลุ่มปรึ กษารายกรณี ในกรณี ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลช่วยเหลือ
                                             4.4 บันทึกทึกหลักฐานการปฏิบติงาน สรุ ปผลและรายงานส่งหัวหน้าระดับ
                                                                               ั
                                             4.5 อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
  5. ครู แนะแนว                              5.1 จัดกิจกรรมคาบแนะแนวเพื่อสนับสนุนระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน
                                                                                    ั
                                             5.2 สนับสนุนและเป็ นแกนหลักให้กบครู ที่ปรึ กษาในการดูแลแลช่วยเหลือนักเรี ยน
                                             5.3 ให้การปรึ กษานักเรี ยนที่มีปัญหาในกรณี ที่ครู ปรึ กษาไม่สามารถแก้ไขหรื อยากต่อ
                                             การช่วยเหลือ
                                             5.4 ร่ วมประชุมกลุ่มปรึ กษาปั ญหารายกรณี
                                             5.5 ในกรณี ที่นกเรี ยนมีปัญหายากต่อการช่วยเหลือของครู แนะแนวให้ส่งต่อผูเ้ ชี่ยวชาญ
                                                             ั
                                             ภายนอกและติดตามผลการช่วยเหลือนั้น
                                             5.6 บันทึกหลักฐานการปฏิบติงานและประเมินผลรายงานส่งผูบริ หารหรื อหัวหน้า
                                                                           ั                               ้
                                             ระดับ
                                             5.7 อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

                                             ดด
  6. นักเรียน                                6.1 มีส่วนร่ วมในการกาหนดสาระการเรี ยนรู ้ในแต่ละรายวิชาและกิจกรรมเสริ ม
                                             หลักสูตรร่ วมกับโรงเรี ยนและครู -อาจารย์
                                             6.2 รวมกลุ่มดาเนินการกิจกรรมในโรงเรี ยนและชุมชนตามศักยภาพความสนใจของแต่
                                             ละกลุ่ม ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี ทองถิ่น้
                                             6.3 ร่ วมเป็ นแกนนาอาสาสมัครในการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนให้เพื่อนนักเรี ยนได้เรี ยนรู ้
                                             ตามศักยภาพ
                                             6.4 มีความรับผิดชอบต่อตนเอง มีระเบียบวินย เคารพสิ ทธิของผูอื่น
                                                                                           ั              ้
                                             6.5 ทาความเข้าในในบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบต่อครอบครัวโรงเรี ยน ชุมชน
                                             และชื่นชมต่อความสาเร็ จของตนเองและผูอื่น ้
                                             6.6 เรี ยนรู ้กระบวนการสร้างเครื อข่ายและเห็นความสาคัญของเครื อข่าย
                                             6.7 ร่ วมกิจกรรมสร้างเครื อข่ายและเสนอความคิดเห็นเชิงสร้างสรรค์
                                             6.8 มีความรู ้ ความถนัด ความสามารถ ความสนใจ มีความมันคงในอารมณ์
                                                                                                        ่
                                                                ั ้
                                             สัมพันธภาพที่ดีกบผูอื่น
                                             6.9 สามารถหลีกเลี่ยง ป้ องกันตนเอง และผูอื่นจากอันตรายต่าง ๆ
                                                                                         ้

  7. ผู้ปกครอง / ชุมชน                       7.1 มีส่วนร่ วมกับโรงเรี ยน ครู และนักเรี ยนในการกาหนดสาระการเรี ยนรู ้ที่สอดคล้อง
                                             กับความสนใจกับนักเรี ยน

                                            ้ ้                                                                                 ่            ่                                      6
   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
                                             7.2 ให้ความคุมครองดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนให้สามารถดารงชีวตได้อย่างมีคุณภาพตาม
                                                             ้                                              ิ
                                             ความควรแก่อตถภาพ
                                                           ั
                                             7.3 ร่ วมมือสนับสนุนกากับ ติดตาม ดูแลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อการเรี ยนรู ้กบ ั
                                             โรงเรี ยนและชุมชน
                                             7.4 ให้ความช่วยเหลือนักเรี ยนในการปกครองเพื่อให้เกิดการเรี ยนรู ้และพัฒนาได้เต็ม
                                             ตามศักยภาพ
                                             7.5 เป็ นแบบอย่างที่ดีในการดาเนินชีวต ิ
                                             7.6 รับฟังความคิดเห็น ปั ญหา อุปสรรค ให้โอกาสนักเรี ยนในการแสดงออกเป็ นอย่าง
                                             อิสระ และอย่างมีวนย ิ ั
                                             7.7 ให้ความร่ วมมือในการประชุม สัมมนา ทาความเข้าใจ และรับทราบข้อมูล
                                             ข่าวสาร ตามวันเวลา ที่โรงเรี ยนกาหนด
                                             7.8 รวมกลุ่มสร้างเครื อข่ายผูปกครอง ชุมชน เพื่อริ เริ่ มสร้างสรรค์กิจกรรม
                                                                           ้
                                             7.9 ทาความรู ้จก สร้างความคุนเคยกับผูปกครองนักเรี ยนคนอื่น
                                                               ั             ้       ้
                                             7.10 ร่ วมกันวางแผนหาแนวทางในการป้ องกัน แก้ไขปั ญหา และพัฒนานักเรี ยนซึ่งกัน
                                             และกัน
                                             7.11 ให้ความร่ วมมือช่วยเหลือผูปกครองคนอื่น ๆ พร้อมกับประสานงานกับครู ที่
                                                                               ้
                                             ปรึ กษา หรื อครู - อาจารย์ อื่น ๆ ในโรงเรี ยน
                                             7.12 รายงานการติดต่อ ประสานงานการให้ความช่วยเหลือกับผูแกครองนักเรี ยนให้
                                                                                                              ้
                                             โรงเรี ยนทราบโดยผ่านมากับนักเรี ยนในความปกครองของตน เพื่อส่งมอบให้กบครู ที่ ั
                                             ปรึ กษาและรายงานผลให้คณะกรรมการทราบ




     ทีมา : หลักสู ตรพัฒนาครู จิตวิทยาแนะแนว โมดูล 3 การพัฒนาระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน
       ่
             (2551)




                                            ้ ้                                                                                 ่            ่                                      7
   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน



                                       UTQ online e-Training Course
                                               ใบความรู้ ที่ 2.1
                          เรื่อง “แนวทางดาเนินการในการรู้ จักนักเรียนเป็ นรายบุคคล”
                       โครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ งระบบ ภายใต้ปฏิบติการไทยเข้มแข็ง
                                                  ั                    ั
                    (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ)

  ความสาคัญ
            ด้วยความแตกต่างของนักเรี ยนแต่ละคนที่มีพ้ืนฐานความเป็ นมาของชีวตที่ไม่เหมือนกันอัน
                                                                                         ิ
            หล่อ
  หลอมให้เกิดพฤติกรรมหลากหลายรู ปแบบ ทั้งด้านบวกและด้านลบ ดังนั้น การรู้ขอมูลที่จาเป็ น         ้
  เกี่ยวกับตัวนักเรี ยนจึงเป็ นสิ่ งสาคัญที่จะช่วยให้ครู ที่ปรึ กษามีความเข้าใจนักเรี ยนมากขึ้น       สามารถ
  รวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อคัดกรองนักเรี ยน เป็ นประโยชน์ในการส่ งเสริ ม การป้ องกันและแก้ไข
  ปั ญหานักเรี ยนได้อย่างถูกทาง ซึ่ งเป็ นข้อมูลเชิงประจักษ์มิใช่การใช้ประสบการณ์เดิมหรื อการคาดเดา
  โดยเฉพาะในการแก้ไขปั ญหานักเรี ยน                 ซึ่ งจะป้ องกันข้อผิดพลาดหรื อเกิดจุดอ่อนน้อยที่สุดในการ
  ดาเนินการช่วยเหลือนักเรี ยน
                                                                       ่ ั
           ในการศึกษารวบรวมข้อมูลมีแนวทางหลากหลายขึ้นอยูกบความจาเป็ นและความเหมาะสม มี
  ทั้งวิธีการปฏิบติที่ครู ตองวางแผนการใช้เวลาในการดาเนินกิจกรรม เช่น การเยียมบ้าน การสัมภาษณ์
                  ั        ้                                                           ่
  นักเรี ยนหรื อเพื่อน และการใช้เครื่ องมือในการรู ้จกนักเรี ยน ดังต่อไปนี้
                                                         ั




                                            ้ ้                                                                                 ่            ่                                      8
   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
                      ในการใช้เครื่ องมือบางประเภท ครู ควรคานึงถึง ความรู้ ความเข้าใจ อย่างถ่องแท้
    ในขั้นตอนการนาเครื่ องมือไปใช้ ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม ตลอดจนศึกษาการตีความจาก รู ปภาพ
   สัญลักษณ์ คา ข้อความ ที่นกเรี ยนสื่ อความ โดย อาจศึกษาเพิ่มเติมหรื อทบทวนความรู ้จาก ครู แนะแนว
                            ั
                                   หรื อครู ที่จบการศึกษาด้านจิตวิทยา




                                          แนวทางการดาเนินการในการรู้ จักนักเรียนเป็ นรายบุคคล




   ครู สามารถศึกษาตัวอย่างเครื่ องมือในการรู ้จกนักเรี ยนได้ที่ http://www.guidance.go.th
                                               ั




                                            ้ ้                                                                                 ่            ่                                      9
   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

         จากแนวทางดังกล่ าวข้ างต้ น เพือให้ ครู ได้ เชื่ อมโยงการทางานระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน
                                        ่
  อย่ างเป็ นระบบ ขอให้ ครู ทบทวนบทบาทดังนี้
         สรุ ปบทบาทหน้าที่ของครู ที่ปรึ กษาในการรู้จกนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล
                                                           ั
  1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลพื้นฐานของนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล โดยเลือกเครื่ องมือหรื อวิธีการที่เหมาะสม
     จากนั้น จัดเตรี ยมเครื่ องมือ สาหรับเก็บข้อมูลนักเรี ยนรายบุคคล
  2. หาข้อมูลเพิ่มเติม ในกรณี ที่ขอมูลที่ได้มานั้นยังไม่ครบถ้วนหรื อไม่เพียงพอต่อการวิเคราะห์
                                    ้
     โดยนาเครื่ องมือที่จาเป็ นไปใช้ในการเก็บข้อมูล และปรับปรุ งข้อมูลให้เป็ นปัจจุบน ั
  3. นาข้อมูลที่รวบรวมมา จัดเก็บอย่างเป็ นระบบ
  4. วิเคราะห์ขอมูลนักเรี ยนอย่างรอบคอบและรอบด้าน เพื่อนาสู่ การคัดกรองและให้การช่วยเหลือหรื อ
                ้
     พัฒนานักเรี ยนตามความต้องการหรื อจาเป็ นของแต่ละคน

  ทีมา เอกสารแนวดาเนินการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
    ่
  ฐาน
       กระทรวงศึกษาธิการ, 2546.




                                            ้ ้                                                                                 ่            ่                                      10
   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน



                                       UTQ online e-Training Course
                                                ใบความรู้ ที่ 3.1
                                     เรื่อง “ความสาคัญของการคัดกรอง”
                        โครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ งระบบ ภายใต้ปฏิบติการไทยเข้มแข็ง
                                                   ั               ั
                     (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ)

  การคัดกรองนักเรียน
           การคัดกรองนักเรี ยนเป็ นการพิจารณาข้อมูลเกี่ยวกับนักเรี ยนเพื่อการจัดกลุ่มนักเรี ยนซึ่ งเป็ น
  ประโยชน์อย่างยิงในการหาวิธีการที่เหมาะสมในการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนให้ตรงกับสภาพปั ญหาและ
                    ่
  ความต้องการจาเป็ นด้วยความรวดเร็ วและถูกต้องแม่นยาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนอาจจัดกลุ่มจัก
  เรี ยนตามผลการคัดกรองเป็ น 2, 3 หรื อ 4 กลุ่มก็ได้ ตามขอบข่ายและเกณฑ์การ                       คัดกรองที่
  โรงเรี ยนกาหนด เช่น ในกรณี ที่แบ่งนักเรี ยน เป็ น 4 กลุ่มอาจนิยามกลุ่มได้ดงนี้ั
           1. กลุ่มปกติ คือ นักเรี ยนที่ได้รับการวิเคราะห์ขอมูลต่าง ๆ ตามเกณฑ์การคัดกรองของ
                                                             ้
  โรงเรี ยนอยูในเกณฑ์ของกลุ่มปกติ ซึ่ งควรได้รับการสร้างเสริ มภูมิคุมกันและการส่ งเสริ มพัฒนา
                ่                                                       ้
           2. กลุ่มเสี่ ยง คือ นักเรี ยนที่อยูในเกณฑ์ของกลุ่มเสี่ ยงตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรี ยน ซึ่ ง
                                              ่
  โรงเรี ยนต้องให้การป้ องกันและแก้ไขตามกรณี
           3. กลุ่มมีปัญหา คือ นักเรี ยนที่จดอยูในเกณฑ์ของกลุ่มมีปัญหาตามเกณฑ์การคัดกรองของ
                                                ั ่
  โรงเรี ยน ซึ่ งโรงเรี ยนต้องช่วยเหลือและแก้ปัญหาโดยเร่ งด่วน
           4. กลุ่มพิเศษ คือ นักเรี ยนที่มีความสามารถพิเศษ มีความเป็ นอัจฉริ ยะแสดงออกซึ่ง
  ความสามารถอันโดนเด่นด้านใดด้านหนึ่งหรื อหลายด้านอย่างเป็ นที่ประจักษ์เมื่อเทียบกับผูมีอายุใน
                                                                                             ้
  ระดับเดียวกันภายใต้สภาพแวดล้อมเดียวกัน ซึ่ งโรงเรี ยนต้องให้การส่ งเสริ มให้นกเรี ยนได้พฒนา
                                                                                   ั           ั
  ศักยภาพความสามารถพิเศษนั้นจนถึงขั้นสู งสุ ด




                                            ้ ้                                                                                 ่            ่                                      11
   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

                                                                                                                                                     ชื่อ............................................
                                                                          ตัวอย่าง                                                                   ชั้น...................เลขที่................
                                                                                                                                                     วัน เดือน ปี ..............................
                                                                 บันทึกการคัดกรอง                                                                    ครู ผสรุ ป..................................
                                                                                                                                                           ู้
                                                  แบบสรุ ปข้ อมูลนักเรียนเป็ นรายบุคคล
                              (จากระเบียนสะสม แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) และอืนๆ)                                         ่
         1.      ด้ านการเรียน
                       ปกติ เสี่ ยง มีปัญหา
                 [ ] ผลการเรี ยนเฉลี่ยต่ากว่า 1.5
                 [ ] ไม่เข้าเรี ยนในวิชาต่างๆ 3 – 5 ครั้ง ต่อ 1 รายวิชา
                 [ ] มี 0 1 – 5 วิชา ใน 1 ภาคเรี ยน
                 [ ] อ่านหนังสื อไม่คล่อง
                 [ ] เขียนหนังสื อมุถูกต้อง สะกดคาผิดแม้แต่คาง่ายๆ
                 [ ] มาโรงเรี ยนไม่ทนเคารพธงชาติมากกว่า 10 ครั้ง ใน 1 ภาคเรี ยน
                                                ั
                 [ ] อื่นๆ .........................................................................................
         2.      ด้ านความสามารถอืนๆ       ่
                       มี ระบุ ........................................................................................
                       ไม่ชดเจนในความสามารถด้านอื่น นอกจากด้านการเรี ยน
                            ั
         3.      ด้ านสุ ขภาพ
                       ปกติ                              เสี่ ยง/ มีปัญหา
                 [ ] ร่ างกายไม่แข็งแรง เจ็บป่ วยบ่อย
                 [ ] มีโรคประจาตัว
                 [ ] น้ าหนักผิดปกติและไม่สัมพันธ์กบส่ วนสู งหรื ออายุ  ั
                 [ ] พิการด้านร่ างกาย
                 [ ] มีปัญหาด้านสายตา
                 [ ] มีปัญหาการได้ยน          ิ
                 [ ] อื่นๆ...............................................................................................
         4.      ด้ านสุ ขภาพและพฤติกรรม
                 ด้านอารมณ์                                                                   ปกติ                เสี่ ยง                                    มีปัญหา
                 ด้านความประพฤติ                                                               ปกติ               เสี่ ยง                                    มีปัญหา
                 ด้านพฤติกรรมอยูไม่นิ่ง ่                                                     ปกติ                 เสี่ ยง                                   มีปัญหา
                 ด้านบุคลิกภาพและความสัมพันธ์กบเพื่อน              ั                          ปกติ                 เสี่ ยง                                   มีปัญหา
                 ด้านสัมพันธภาพทางสังคม                                                        ปกติ                 เสี่ ยง                                  มีปัญหา
         5.      ด้ านเศรษฐกิจ

   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
                                            ้ ้                                                                                 ่            ่                                          12
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
                 ปกติ                               เสี่ ยง/ มีปัญหา
            [ ] รายได้ครอบครัวต่ากว่า 5,000 บาท/เดือน
            [ ] พ่อหรื อแม่ตกงาน
            [ ] มีภาระหนี้สิน
            [ ] ไม่มีเงินพอรับประทานอาหารกลางวัน
            [ ] ไม่มีเงินซื้ ออุปกรณ์การเรี ยน
            [ ] อื่นๆ..................................................................................................................
         6. ด้ านการคุ้มครองนักเรียน
                 ปกติ                                เสี่ ยง/มีปัญหา
            [ ] ไม่มีผดูแล ู้
            [ ] พ่อแม่แยกทางกันหรื อสมรสใหม่
            [ ] สภาพแวดล้อมทางบ้านไม่ดี
            [ ] มีบุคคลในครอบครัวใช้สารเสพติดหรื อเล่นการพนัน
            [ ] มีบุคคลในครอบครัวเจ็บป่ วยด้วยโรครุ นแรง/เรื้ อรัง
            [ ] มีความรู ้สึกไม่ดีต่อพ่อ แม่
            [ ] มีการใช้ความรุ นแรงในครอบครัว
            [ ] มีการถูกล่วงละเมิดทางเพศ
            [ ] อื่นๆ.................................................................................................................
         7. ด้ านอืนๆ
                   ่
            ด้านสารเสพติด                                       ปกติ เสี่ ยง มีปัญหา
            ด้านเพศ                   ปกติ เสี่ ยง มีปัญหา
            ด้าน..........................................................................................................................

                 สรุ ป                          นักเรี ยนจัดอยูในกลุ่ม
                                                               ่
                                                         ปกติ
                    เสี่ ยง
                    มีปัญหา

  หมายเหตุ แบบการคัดกรอง ให้จดทาโดยพิจารณาตามเกณฑ์การคัดกรองนักเรี ยนที่โรงเรี ยนจัดทาขึ้น
                             ั




                                            ้ ้                                                                                 ่            ่                                      13
   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน



                                       UTQ online e-Training Course
                                                ใบความรู้ ที่ 3.2
                           เรื่อง “แนวทางการวิเคราะห์ ข้อมูลเพือการคัดกรองนักเรียน
                                                                 ่
                                      และอย่างเกณฑ์ บันทึกการคัดกรอง”
                        โครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ งระบบ ภายใต้ปฏิบติการไทยเข้มแข็ง
                                                   ั                   ั
                     (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ)

  แนวทางการวิเคราะห์ ข้อมูลเพือการคัดกรองนักเรียน
                                  ่
                                                                 ่
             การวิเคราะห์ขอมูลเพื่อการคัดกรองนักเรี ยนนั้น ให้อยูในดุลยพินิจของครู ท่ีปรึ กษา ครู ประจา
                           ้
  ชั้นผูที่เกี่ยวข้อง และยึดหลักเกณฑ์การคัดกรองนักเรี ยนของโรงเรี ยนเป็ นหลักด้วย ดังนั้นโรงเรี ยนจึง
        ้
  ควรมีการประชุมครู เพื่อการพิจารณาเกณฑ์การจัดกลุ่มนักเรี ยนร่ วมกัน เพื่อให้มีมาตรฐานหรื อ แนว
  ทางการคัดกรองนักเรี ยนที่เหมือนกัน เป็ นที่ยอมรับของครู ในโรงเรี ยน รวมทั้งให้มีการกาหนดเกณฑ์
  ว่าความรุ นแรงหรื อความดีของพฤติกรรมมีเท่าใด จึงจะจัดอยูในกลุ่มเสี่ ยงหรื อกลุ่มที่มีปัญหา
                                                               ่




                                            ้ ้                                                                                 ่            ่                                      14
   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
         การพิจารณาเพื่อจัดทาเกณฑ์การคัดกรองและแหล่งข้อมูล เพื่อคัดกรองนักเรี ยนแต่ละด้านนั้นมี
  ประเด็นการพิจารณา ดังตัวอย่างต่อไปนี้


      ข้อมูลนักเรี ยน ประเด็นการพิจารณา แหล่งข้อมูล


      1. ด้านความสามารถ               1) ผลการเรี ยนที่ได้และ                         - ระเบียบสะสม (ป.01/
       1.1 ด้านการเรี ยน         ความเปลี่ยนแปลงของผลการเรี ยน ป. พ8)
             2) ความเอาใจใส่ ความพร้อม                                                - วิธีการอื่น ๆ เช่น
                                       ในการเรี ยน                                    สังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
                                     3) ความสามารถในการเรี ยน ข้อมูลจากครู ที่เกี่ยวข้อง
                                     4) ความสม่าเสมอในการ                             กับนักเรี ยน เป็ นต้น
                                       มาโรงเรี ยน เวลาที่มาโรงเรี ยน
                                        การเข้าชั้นเรี ยน

      2. ด้านความ 1) การแสดงออกถึงความ - ระเบียบสะสม (ป.01/
      สามารถอื่น ๆ            สามารถพิเศษที่มี                                  ป. พ8)
         2) ความถนัด ความสนใจ                                                          - วิธีการอื่นๆ เช่น การได้
                                                         ่
                                    และผลงานในอดีตที่ผานมา                             ข้อมูลจากเพื่อนนักเรี ยน
                                 3) บทบาทหน้าที่พิเศษใน                                แฟ้ มสะสมผลงาน
                                    โรงเรี ยน                              พฤติกรรมที่แสดงออก
                                 4) การเข้าร่ วมกิจกรรมต่าง ๆ ของนักเรี ยน เป็ นต้น

      2. ด้านสุ ขภาพ
      2.1 ด้านร่ างกาย 1) ความปกติ ความพิการ                                                                                    -ระเบียบสะสม (ป.01/
           หรื อความบกพร่ องทางร่ างกาย                                                                                         ป. พ8)
           เช่น การมองเห็น การได้ยน    ิ                                                                                        -วิธีการอื่น ๆ เช่น การ
           เป็ นต้น                                                                                                             สังเกต
         2) โรคประจาตัว                                                                                                         การตรวจสอบถามจากครู
         3) ความสัมพันธ์ระหว่าง                                                                                                 พยาบาลจากแบบบันทึก
                  น้ าหนักกับส่ วนสู ง                                                                                          การตรวจสุขภาพด้วย
         4) ความสะอาดของร่ างกาย ต้นเอง เป็ นต้น




                                            ้ ้                                                                                 ่            ่                                      15
   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน




     ข้อมูลนักเรี ยน ประเด็นพิจารณา แหล่งข้อมูล
                                   ่
     2.2 ด้านจิตใจ สภาพอารมณ์ที่มีตอการ                                                                                              - ระเบียบสะสม (ป.01/
                                       ดาเนิ นชี วิตประจาวัน เช่น ความ ป. พ8)
                                      วิตกกังวลหรื อซึ มเศร้า                                                                        - แบบประเมินพฤติกรรม
                                                                                                                                     -แบบสังเกต
     ข้อมูลนักเรี ยน        ประเด็นพิจารณา แหล่งข้อมูล
     3. ด้านพฤติกรรม        1) ความประพฤติ เช่น                                                      - แบบประเมินพฤติกรรม
          ด้านจิตใจ สภาพอารมณ์ที่มีต่อการ
     2.2การลักขโมย ก้าวร้าว                                                             - ระเบียบสะสมน (ป.01/
                                                                                                         นักเรี ย
        2) พฤติกรรมต่าง ๆ ที่มีผล         ดาเนินชี วิตประจาวัน เช่น ความ ป. พ8)                      - การสังเกตพฤติกรรม
                                          วิตกกังวลหรื อซึอมเศร้า ยน
                                                กระทบต่ การเรี                          - แบบประเมินพฤติกขอมูลจากเพื่อน
                                                                                                     - การได้ รรม ้
                                                ความสามารถพิเศษและ                      - แบบสังกเรี ยนหรื อการตอบแบบ
                                                                                                     นั เกต
                                                การปรับตัวของนักเรี ยน เช่น                          สอบถาม
                                                                ่
                                                พฤติกรรมที่อยูไม่นิ่ง
     3. ด้านพฤติกรรม        1) ความประพฤติ เช่สมาธิส้ น
                                                น ั                                     - แบบประเมินพฤติกรรม
        การลักขโมย ก้าวร้าว                     3) การแสดงพฤติกรรมต่อเพื่อน นักเรี ยน
        2) พฤติกรรมต่าง ๆ ที่มีผล               ครู และผูปกครอง
                                                            ้                           - การสังเกตพฤติกรรม
                                                การใช้สารเสพติดน
                                                กระทบต่อการเรี ย                        - การได้ขอมูลจากเพื่อน
                                                                                                     ้
                                                การทาร้ายตนเองศษและกรรม
                                                ความสามารถพิเ      พฤติ                 นักเรี ยนหรื อการตอบแบบ
                                                ทางเพศที่ไวม่เหมาะสมน เช่น
                                                การปรับตั ของนักเรี ย                   สอบถาม
                                                เป็ นต้น ่อยูไม่นิ่ง
                                                พฤติกรรมที ่
                                                สมาธิ ส้ นั
     4. ด้านครอบครัว                            3) การแสดงพฤติกรรมต่อเพื่อน
     4.1 ด้านเศรษฐกิจ 1) ผูหารายได้ให้ครอบครัว และผูปกครอง
                             ้                  ครู           ้                                      - ระเบียบสะสม (ป.01/
                                                2) ฐานะเศรษฐกิดจของครอบครัว ป. พ8)
                                                การใช้สารเสพติ
        ภาระหนี้สิ้น - การได้ขอมูลจากเพื่อน การทาร้ายตนเอง พฤติกรรม
                                   ้
        3) ความเพียงพอของรายรับ                 ทางเพศที่ไม่เหมาะสม                                  นักเรี ยน
                                                กับรายจ่ายในแต่ละวัน - การได้ขอมูลจากนักเรี ยน
                                                เป็ นต้น                        ้
                                                      โดยตรง
     4. ด้านครอบครัว
     4.2 ด้านการคุมครอง 1) ความสามารถในการคุม
                    ้                               ้                                                - ระเบียบสะสม (ป.01/
     4.1 ด้านเศรษฐกิจ 1) ผูหารายได้ให้ครอบครัว
                               ้                                                        - ระเบียบสะสม (ป.01/
        ครองดูแลนักเรี ยนได้อย่างปลอดภัย ป. พ8)
        และเหมาะสมของผูปกครอง
                          ้                     2) ฐานะเศรษฐกิจของครอบครัว ป. พ8)                    - การสังเกตพฤติกรรม
        ภาระหนี้สิ้น - การได้ขอมูลจากเพื่อน
                                 ้                                                                   นักเรี ยน
        2) ความเพียงพอของรายรับ ่
        3) ความเหมาะสมของสภาพที                                                         นักเรี ยน - การสอบถามนักเรี ยน
           ่
        อยูอาศัย โดยตรงหรื อจากเพื่อน           กับรายจ่ายในแต่ละวัน - การได้ขอมูลจากนักเรี ยน
                                                                              ้
                                                      โดยตรง

     4.2 ด้านการคุมครอง 1) ความสามารถในการคุม
                  ้                         ้                                                            - ระเบียบสะสม (ป.01/
        ครองดูแลนักเรี ยนได้อย่างปลอดภัย                                                                   ป. พ8)
        และเหมาะสมของผูปกครอง
                          ้                                                                                             - การสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
        2) ความเหมาะสมของสภาพที่                                                                           - การสอบถามนักเรี ยนโดยตรง
                                            ้ ้                     ่
   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญย ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือน ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน ประเทศไทย16
                                                                อยูอาศัาตให้                                            หรื อ่ จากเพื่อการค
                                                                                                                                          ่                  3.0
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน



                                                          UTQ online e-Training Course
                                                                  ใบความรู้ ที่……….
                                                      เรื่อง “................................................”


                        โครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ งระบบ ภายใต้ปฏิบติการไทยเข้มแข็ง
                                                   ั               ั
                     (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ)




    ข้อมูลนักเรี ยน                   ประเด็นพิจารณา แหล่งข้อมูล
 4.3 ด้านการเลี้ยงดู 1) ความสัมพันธ์ของคนใน                                                                                               - การเยียมบ้าน
                                                                                                                                                  ่
    ครอบครัว เช่น ครอบครัว - การสังเกตพฤติกรรม
    อบอุ่น หรื อทะเลาะเบาะแว้ง                                                                                                            - การสอบถามจาก
    การใช้ความรุ นแรงในการตัดสิ น                                                                                                         นักเรี ยนโดยตรงหรื อ
    แก้ไขปัญหาซึ่ งมีผลกระทบต่อ                                                                                                           จากเพื่อน
    พฤติกรรมของนักเรี ยน เช่น
    ซึมเหม่อลอย ไม่อยากกลับ
    บ้าน เป็ นต้น
                                         2) สมาชิกในครอบครัวใช้
    สารเสพติด สุ รา หรื อเล่น
    การพนัน รวมถึงการเจ็บ
    ป่ วยเรื้ อรัง
    3) แบบอย่างของครอบครัว

 5. ด้านสังคม           1) ครอบครัวแยกตัวจากสังคม                                                                                         - การเยียมบ้าน
                                                                                                                                                   ่
    แวดล้อมหรื อถูกกีดกันจากสิ่ ง                                                                                                         - การสอบถามจากแหล่ง
    แวดล้อม                                                                                                                               ข้อมูลต่าง ๆ เช่น
    2) ความสัมพันธ์ของ                                                                                                                    เพื่อน นักเรี ยน
                                          ครอบครัวต่อชุมชน




                                            ้ ้                                                                                 ่            ่                                      17
   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน




                                                                            ตัวอย่ าง
                                                                   เกณฑ์ การคัดกรองนักเรียน
              การคัดกรองนักเรี ยนเพื่อจัดเป็ นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ ยง และกลุ่มมีปัญหานั้น ครู ประจาชั้น
  สามารถวิเคราะห์ขอมูลจากระเบียบสะสมและอื่น ๆ ที่จดทาเพิ่มเติม แต่ท้ งนี้โรงเรี ยนแต่ละแห่ง
                        ้                                     ั                 ั
  จาเป็ นต้องประชุมครู เพื่อพิจารณาการคัดกรองนักเรี ยน เพื่อให้ครู ประจาชั้นมีหลักในการคัดกรอง
  นักเรี ยน ตรงกันทั้งโรงเรี ยน ดังนี้
        ข้ อมูลนักเรียน               กลุ่มปกติ                   กลุ่มเสี่ ยง            กลุ่มมีปัญหา
 1. ด้ านความสามารถ
  1.1 ด้านการเรี ยน          - ผลการเรี ยนเฉลี่ย        - ผลการเรี ยนตั้งแต่       - ผลการเรี ยนต่ากว่า
                             2.00 ขึ้นไป                1.5 ถึง 2.00               1.5
                             - ไม่มี 0 ในทุกวิชา        - ขาดเรี ยนในวิชาต่าง - ขาดเรี ยนในวิชาต่าง
                             - ขาดเรี ยนในวิชาต่าง ๆ 3-5 ครั้งต่อ 1วิชา            ๆ มากกว่า 5 ครั้ง
                             ๆ ไม่เกิน 3 ครั้งใน 1 - มาโรงเรี ยนสาย                - มาโรงเรี ยนสายเกิน
                             วิชา                       มากกว่า 10 ครั้ง แต่ไม่ 15 ครั้งใน 1 ภาค
                             - มาโรงเรี ยนสายไม่ เกิน 15 ครั้ง ใน 1                เรี ยน
                             เกิน 10 ครั้ง ใน 1         ภาคเรี ยน
                             ภาคเรี ยน
 1.2 ความสามารถพิเศษ - ถ้านักเรี ยนมี
                             ความสามารถพิเศษ
                             จะเน้นจุดแข็งของ
                             นักเรี ยนในทุกกลุ่ม
        2.ด้ านสุ ขภาพ
     2.1 ด้านร่ างกาย        - อายุ น้ าหนัก และ        - น้ าหนักผิดปกติ และ - ป่ วยเป็ นโรคหรื อ
                                                   ั                     ั
                             ส่ วนสู ง สัมพันธ์กน ไม่สัมพันธ์กบส่ วนสู ง ความพิการทางกายมี
                             - ร่ างกายแข็งแรง          หรื ออายุ                  ความบกพร่ องทางการ

                                            ้ ้                                                                                 ่            ่                                      18
   utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน

More Related Content

What's hot

รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทองรายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
เทวัญ ภูพานทอง
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพokTophit Sampootong
 
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher sucheraBook 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
SucheraSupapimonwan
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูokTophit Sampootong
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญThitiwat Paisan
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลdtschool
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)Tophit Sampootong
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายJiraporn Chaimongkol
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
SophinyaDara
 
Id plan
Id planId plan
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
Taweep Saechin
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีAon Narinchoti
 
Sar 58 wichai li
Sar 58 wichai liSar 58 wichai li
Sar 58 wichai li
Wichai Likitponrak
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
เทวัญ ภูพานทอง
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
Weerachat Martluplao
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
Prachoom Rangkasikorn
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตรsasiton sangangam
 

What's hot (20)

รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทองรายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
 
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher sucheraBook 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
Id plan
Id planId plan
Id plan
 
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดี
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
Sar 58 wichai li
Sar 58 wichai liSar 58 wichai li
Sar 58 wichai li
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร
 

Similar to Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
thananew
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
64การเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดของนักศึกษาพยาบาลในหน่วยฝากครรภ์ การศึกษาเฉพาะกร...
64การเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดของนักศึกษาพยาบาลในหน่วยฝากครรภ์ การศึกษาเฉพาะกร...64การเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดของนักศึกษาพยาบาลในหน่วยฝากครรภ์ การศึกษาเฉพาะกร...
64การเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดของนักศึกษาพยาบาลในหน่วยฝากครรภ์ การศึกษาเฉพาะกร...
ssuserd907bf
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยJiramet Ponyiam
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
ทับทิม เจริญตา
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 

Similar to Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน (20)

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
 
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
Utq 001
Utq 001Utq 001
Utq 001
 
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
64การเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดของนักศึกษาพยาบาลในหน่วยฝากครรภ์ การศึกษาเฉพาะกร...
64การเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดของนักศึกษาพยาบาลในหน่วยฝากครรภ์ การศึกษาเฉพาะกร...64การเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดของนักศึกษาพยาบาลในหน่วยฝากครรภ์ การศึกษาเฉพาะกร...
64การเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดของนักศึกษาพยาบาลในหน่วยฝากครรภ์ การศึกษาเฉพาะกร...
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
8
88
8
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 

Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน

  • 1. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน UTQ online e-Training Course ใบความรู้ ที่ 1.1 เรื่อง “ความหมาย วัตถุประสงค์ ประโยชน์ และคุณค่ าของการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน” โครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ งระบบ ภายใต้ปฏิบติการไทยเข้มแข็ง ั ั (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ) ระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียนคืออะไร การดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน คือ การส่ งเสริ มพัฒนา การป้ องกันและการแก้ไขปั ญหาให้แก่ นักเรี ยน เพื่อให้นกเรี ยนมีคุณสมลักษณะที่พึงประสงค์มีภูมิคุมกันทางจิตใจ มีคุณภาพชีวตที่ดี มี ั ้ ิ ลักษณะในการดาดงชีวต และรอดพ้นจากสภาวะวิกฤติต่าง ๆ ได้อย่างปลอดภัย ิ ระบบการช่ วยเหลือดูแลนักเรียน หมายถึงกระบวนการดาเนินงานช่วยเหลือนักเรี ยนอย่างเป็ นระบบ มี ขั้นตอน มีครู ท่ีปรึ กษาเป็ นบุคลากรหลักในการดาเนินโดยการมีส่วนร่ วมของบุลากรทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งภายในและนอกสถานศึกษา อันได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง ชุมชน ผูบริ หาร ้ ้ และครู ทุกคน มีวธีการและเครื่ องมือชัดเจน มีมาตรฐานคุณภาพและมีหลักฐานการทางานที่ตรวจสอบ ิ ได้ ทาไมจึงต้ องมีระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน ? วัตถุประสงค์ ของระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน 1. เพื่อให้การดาเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนเป็ นไปปอย่างมีระบบมีประสิ ทธิ ภาพ 2. เพื่อให้โรงเรี ยน กรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง ชุมชน องค์กรและหน่วยงานที่ ้ เกี่ยวข้อง มีการทางานร่ วมกันโดยผ่านกระบวนการทางานที่ชดเจน มีร่องรอยหลักฐานการปฏิบติงาน ั ั สามารถตรวจสอบและประเมินผลได้ ประโยชน์ และคุณค่ าของระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน 1. นักเรี ยนได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างทัวถึงและตรงตามสภาพปั ญหา ่ 2. สัมพันธภาพระหว่างครู กบนักเรี ยนเป็ นไปได้ดวยดีและอบอุ่น ั ้ 3. นักเรี ยนรู้จกตนเอง ควบคุมตนเองได้ มีการพัฒนาความฉลาดทางด้านอารมณ์ (EQ) ซึ่ง ั เป็ นรากฐานในการพัฒนาความเก่ง (IQ) คุณธรรม จริ ยธรรม (MQ) และความมุ่งมันที่จะเอาชนะ ่ อุปสรรค (AQ) 4. นักเรี ยนเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ข และได้รับการส่ งเสริ มพัฒนาเต็มศักยภาพอย่างรอบด้าน 5. ผูเ้ กี่ยวข้องมีส่วนร่ วมในการพัฒนาคุณภาพนักเรี ยนอย่างเข้มแข็งจริ งจัง ด้วยความเสี ยสละ เอาใจใส่ ้ ้ ่ ่ 1 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • 2. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ทีมา : ระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน หลักการ แนวคิด และทิศทางในการดาเนินงานสานัก ่ วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ้ (2552) ้ ้ ่ ่ 2 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • 3. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน UTQ online e-Training Course ใบความรู้ ที่ 1.2 เรื่อง “กระบวนการและขั้ นตอนของแบบดูแลช่ วยเหลือนักเรียน” โครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ งระบบ ภายใต้ปฏิบติการไทยเข้มแข็ง ั ั (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ) แผนผังแสดงกระบวนการและขั้นตอนของระบบดูแลช่ วยเหลือนักเรียน 2. รู้จกนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล ั 3. คัดกรองนักเรี ยน กลุ่มพิเศษ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ ยง กลุ่มมีปัญหา 4. ส่ งเสริ มพัฒนา 5. ป้ องกันและแก้ไขปั ญหา ดีข้ ึน พฤติกรรมดี ขึ้นหรื อไม่ ไม่ดีข้ ึน 1. ส่ งต่อ(ภายใน:ครู แนะแนว ฝ่ ายปกครอง หรื อครู อื่นๆ ภายในโรงเรี ยน) ้ ้ ่ ่ 3 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • 4. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน UTQ online e-Training Course ที่มา : ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน หลักการแนวคิดและทิศทางในการดาเนิ นงาน.1.3 กวิชาการและมาตรฐานการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ.2552. ใบความรู้ ที่ สานั เรื่อง “บทบาทหน้ าทีของผู้รับผิดชอบ/ผู้เกียวข้ องในระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน” ่ ่ โครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ งระบบ ภายใต้ปฏิบติการไทยเข้มแข็ง ั ั (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ) องค์ประกอบของผูรับผิดชอบ/ผูเ้ กี่ยวข้องในแต่ละคณะกรรมการและบทบาทหน้าที่ ้ คณะกรรมการ บุคลากร ตาแหน่ ง บทบาทหน้ าที่ 1.คณะกรรมการ 1) ผูอานวยการโรงเรี ยน ้ ประธานกรรมการ 1) กาหนดนโยบาย วัตถุประสงค์ในการ อานวยการ (นา 2) รองผูอานวยการทุกฝ่ าย ้ กรรมการ ดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน ทีม) 3) หัวหน้าระดับชั้น กรรมการ 2) แต่งตั้งคณะกรรมการ ประชุม 4) หัวหน้าแผนงานโรงเรี ยน กรรมการ คณะกรรมการ อย่างน้อยภาคเรี ยนละ 2 ครั้ง 5) ผูแทนปกครอง/ชุมชน ้ กรรมการ 3) นิเทศ ติดตาม กากับการดูแลช่วยเหลือ 6) หัวหน้างานแนะแนว กรรมการ นักเรี ยนของโรงเรี ยนและระดับชั้น 7) รองผูอานวยการฝ่ ายกิจการ ้ กรรมการและ 4) อื่น ๆ ที่โรงเรี ยนกาหนดเพิ่มเติม นักเรี ยน เลขานุการ 2. คณะกรรมการ 1) รองผูอานวยการฝ่ ายกิจการ ้ ประธานกรรมการ 1) ปฏิบติงานในฐานะเป็ นบุคลากร ในการ ั ประสานงาน (ทีม นักเรี ยน ดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน ประสาน) 2) หัวหน้าระดับชั้น กรรมการ 2) ประสานงาน ระหว่างคณะกรรมการ 3) หัวหน้างานพยาบาล – กรรมการ อานวยการ (ทีมนา) และคณะกรรมการ อนามัย ดาเนินงาน (ทีมทา) และหน่วยงานอื่น ๆ ที่ 4) ครู งานแผนงานสารสนเทศ กรรมการ เกี่ยวข้อง 5) บุคลากรอื่น ๆ ตามความ กรรมการ 3) จัดเอกสาร เครื่ องมือที่ใช้ในการ เหมาะสมของโรงเรี ยน ดาเนินงานและรับผิดชอบจัดประชุมชี้แจง 6) หัวหน้างานแนะแนวหรื อ กรรมการและ และการฝึ กอบรมให้ความรู ้แก่บุคลากร โรงเรี ยนพิจารณาบุคคลตาม เลขานุการ 4) จัดการประชุมหรื อคณะกรรมการในการ ความเหมาะสม ดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนร่ วมกันอย่างน้อยเดือน ละ 2 ครั้ง 5)รายงานสรุ ปผลการดาเนินงาน 6) อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย คณะกรรมการ บุคลากร ตาแหน่ ง บทบาทหน้ าที่ ้ ้ ่ ่ 4 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • 5. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 3. คณะกรรมการ 1) หัวหน้าระดับชั้น ประธาน 1) ประสานงานผูที่เกี่ยวข้องประชุมชี้แจงทา ้ ดาเนินงาน (ทีม 2) รองหัวหน้าระดับชั้น กรรมการ ความเข้าใจกับคณะกรรมการดาเนินงานใน ทา) แยกเป็ น 6 ครู ที่ปรึ กษาในระดับชั้น ระดับชั้นของตน คณะตาม 3) ครู ประจาวิชาในระดับชั้น กรรมการ 2) บันทึกหลักฐานการปฏิบติงานประเมินผล ั ระดับชั้น (หาก และครู อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และจัดทารายงานตามระดับชั้น ระดับชั้นใดมี 5) ครู แนะแนว กรรมการ 3) ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการของครู ที่ จานวนครู มากให้ 6) โรงเรี ยนพิจารณาบุคลากร กรรมการและ ปรึ กษาเพื่อประโยชนต่อการดูแลช่วยเหลือ จัดแบ่งเป็ นกลุ่ม ตามความเหมาะสม เลขานุการ นักเรี ยนและนาเสนอทีมประสาน ย่อยได้อีก) 4) ประชุมร่ วมกัน อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 5) ปฏิบติตามบทบาทหน้าที่ในงานประจา ั ของตน รายละเอียดหน้ าต่ อไป 6) อื่น ไ ตามที่ได้รับมอบหมาย หมายเหตุ คระกรรมการ บุคลากร และบทบาทหน้าที่ โรงเรี ยนปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม บุคลากร บทบาทหน้ าที่ 1.ผู้บริหาร 1.1 กาหนดนโยบายการดาเนินงานตามโครงการ 1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการ ประชุมคณะกรรมการอย่างน้อยภาคเรี ยนละ 1 ครั้งซึ่ง คณะกรรมการทาตามครู มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนของกระทรวงศึกษาธิการและ กรมสุขภาพจิต 1.3 นิเทศ ติดตาม กากับ การดูแลของโรงเรี ยนในแต่ละระดับชั้นมีการประเมิน ทบทวนตลอดปี อย่างน้อยละ 1 ครั้ง 1.4 อื่น ๆ ตามที่รงเรี ยนกาหนด 2. หัวหน้ าระดับ 2.1 ติดตามกากับการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนของครู ที่ปรึ กษา 2.2 ประสานงานผูเ้ กี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน 2.3 จัดประชุมครู ในระดับ เพื่อประสิ ทธิภาพในการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน 2.4 จัดประชุมกลุ่มเพื่อปรึ กษารายกรณี 2.5 บันทึกหลักฐานการปฏิบติงานและจัดทารายงานประเมินผลระดับชั้นส่งผูบริ หาร ั ้ 2.6 อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 3. ครู ทปรึกษา ี่ 3.1 ดาเนินการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน ทั้งการส่งเสริ มป้ องกันปั ญหาและการช่วยเหลือ แก้ไขปั ญหาในด้านความสามารถด้านสุขภาพและด้านครอบครัวหรื ออื่นๆ 3.2 ดาเนินการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน ตามแนวทางที่กาหนด คือ การรู ้จกนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล ั การคัดกรองนักเรี ยน การส่งเสริ มนักเรี ยน การป้ องกันและช่วยเหลือนักเรี ยน ้ ้ ่ ่ 5 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • 6. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การส่งต่อนักเรี ยน ร่ วมประชุมกลุ่มปรึ กษาปั ญหารายกรณี บันทึกหลักฐานการปฏิบติงาน และแระเมินผลรายงานส่งหัวหน้าระดับ ั อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 4. ครู ประจาวิชาและครู 4.1 ให้ขอมูลเกี่ยวกับนักเรี ยนแก่ครู ที่ปรึ กษา ้ อืนๆ ทีเ่ กียวข้ อง ่ ่ 4.2 ให้ความร่ วมมือกับครู ที่ปรึ กษาในการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนร่ วมกัน 4.3 ร่ วมประชุมกลุ่มปรึ กษารายกรณี ในกรณี ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลช่วยเหลือ 4.4 บันทึกทึกหลักฐานการปฏิบติงาน สรุ ปผลและรายงานส่งหัวหน้าระดับ ั 4.5 อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 5. ครู แนะแนว 5.1 จัดกิจกรรมคาบแนะแนวเพื่อสนับสนุนระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน ั 5.2 สนับสนุนและเป็ นแกนหลักให้กบครู ที่ปรึ กษาในการดูแลแลช่วยเหลือนักเรี ยน 5.3 ให้การปรึ กษานักเรี ยนที่มีปัญหาในกรณี ที่ครู ปรึ กษาไม่สามารถแก้ไขหรื อยากต่อ การช่วยเหลือ 5.4 ร่ วมประชุมกลุ่มปรึ กษาปั ญหารายกรณี 5.5 ในกรณี ที่นกเรี ยนมีปัญหายากต่อการช่วยเหลือของครู แนะแนวให้ส่งต่อผูเ้ ชี่ยวชาญ ั ภายนอกและติดตามผลการช่วยเหลือนั้น 5.6 บันทึกหลักฐานการปฏิบติงานและประเมินผลรายงานส่งผูบริ หารหรื อหัวหน้า ั ้ ระดับ 5.7 อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ดด 6. นักเรียน 6.1 มีส่วนร่ วมในการกาหนดสาระการเรี ยนรู ้ในแต่ละรายวิชาและกิจกรรมเสริ ม หลักสูตรร่ วมกับโรงเรี ยนและครู -อาจารย์ 6.2 รวมกลุ่มดาเนินการกิจกรรมในโรงเรี ยนและชุมชนตามศักยภาพความสนใจของแต่ ละกลุ่ม ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี ทองถิ่น้ 6.3 ร่ วมเป็ นแกนนาอาสาสมัครในการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนให้เพื่อนนักเรี ยนได้เรี ยนรู ้ ตามศักยภาพ 6.4 มีความรับผิดชอบต่อตนเอง มีระเบียบวินย เคารพสิ ทธิของผูอื่น ั ้ 6.5 ทาความเข้าในในบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบต่อครอบครัวโรงเรี ยน ชุมชน และชื่นชมต่อความสาเร็ จของตนเองและผูอื่น ้ 6.6 เรี ยนรู ้กระบวนการสร้างเครื อข่ายและเห็นความสาคัญของเครื อข่าย 6.7 ร่ วมกิจกรรมสร้างเครื อข่ายและเสนอความคิดเห็นเชิงสร้างสรรค์ 6.8 มีความรู ้ ความถนัด ความสามารถ ความสนใจ มีความมันคงในอารมณ์ ่ ั ้ สัมพันธภาพที่ดีกบผูอื่น 6.9 สามารถหลีกเลี่ยง ป้ องกันตนเอง และผูอื่นจากอันตรายต่าง ๆ ้ 7. ผู้ปกครอง / ชุมชน 7.1 มีส่วนร่ วมกับโรงเรี ยน ครู และนักเรี ยนในการกาหนดสาระการเรี ยนรู ้ที่สอดคล้อง กับความสนใจกับนักเรี ยน ้ ้ ่ ่ 6 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • 7. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 7.2 ให้ความคุมครองดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนให้สามารถดารงชีวตได้อย่างมีคุณภาพตาม ้ ิ ความควรแก่อตถภาพ ั 7.3 ร่ วมมือสนับสนุนกากับ ติดตาม ดูแลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อการเรี ยนรู ้กบ ั โรงเรี ยนและชุมชน 7.4 ให้ความช่วยเหลือนักเรี ยนในการปกครองเพื่อให้เกิดการเรี ยนรู ้และพัฒนาได้เต็ม ตามศักยภาพ 7.5 เป็ นแบบอย่างที่ดีในการดาเนินชีวต ิ 7.6 รับฟังความคิดเห็น ปั ญหา อุปสรรค ให้โอกาสนักเรี ยนในการแสดงออกเป็ นอย่าง อิสระ และอย่างมีวนย ิ ั 7.7 ให้ความร่ วมมือในการประชุม สัมมนา ทาความเข้าใจ และรับทราบข้อมูล ข่าวสาร ตามวันเวลา ที่โรงเรี ยนกาหนด 7.8 รวมกลุ่มสร้างเครื อข่ายผูปกครอง ชุมชน เพื่อริ เริ่ มสร้างสรรค์กิจกรรม ้ 7.9 ทาความรู ้จก สร้างความคุนเคยกับผูปกครองนักเรี ยนคนอื่น ั ้ ้ 7.10 ร่ วมกันวางแผนหาแนวทางในการป้ องกัน แก้ไขปั ญหา และพัฒนานักเรี ยนซึ่งกัน และกัน 7.11 ให้ความร่ วมมือช่วยเหลือผูปกครองคนอื่น ๆ พร้อมกับประสานงานกับครู ที่ ้ ปรึ กษา หรื อครู - อาจารย์ อื่น ๆ ในโรงเรี ยน 7.12 รายงานการติดต่อ ประสานงานการให้ความช่วยเหลือกับผูแกครองนักเรี ยนให้ ้ โรงเรี ยนทราบโดยผ่านมากับนักเรี ยนในความปกครองของตน เพื่อส่งมอบให้กบครู ที่ ั ปรึ กษาและรายงานผลให้คณะกรรมการทราบ ทีมา : หลักสู ตรพัฒนาครู จิตวิทยาแนะแนว โมดูล 3 การพัฒนาระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน ่ (2551) ้ ้ ่ ่ 7 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • 8. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน UTQ online e-Training Course ใบความรู้ ที่ 2.1 เรื่อง “แนวทางดาเนินการในการรู้ จักนักเรียนเป็ นรายบุคคล” โครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ งระบบ ภายใต้ปฏิบติการไทยเข้มแข็ง ั ั (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ) ความสาคัญ ด้วยความแตกต่างของนักเรี ยนแต่ละคนที่มีพ้ืนฐานความเป็ นมาของชีวตที่ไม่เหมือนกันอัน ิ หล่อ หลอมให้เกิดพฤติกรรมหลากหลายรู ปแบบ ทั้งด้านบวกและด้านลบ ดังนั้น การรู้ขอมูลที่จาเป็ น ้ เกี่ยวกับตัวนักเรี ยนจึงเป็ นสิ่ งสาคัญที่จะช่วยให้ครู ที่ปรึ กษามีความเข้าใจนักเรี ยนมากขึ้น สามารถ รวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อคัดกรองนักเรี ยน เป็ นประโยชน์ในการส่ งเสริ ม การป้ องกันและแก้ไข ปั ญหานักเรี ยนได้อย่างถูกทาง ซึ่ งเป็ นข้อมูลเชิงประจักษ์มิใช่การใช้ประสบการณ์เดิมหรื อการคาดเดา โดยเฉพาะในการแก้ไขปั ญหานักเรี ยน ซึ่ งจะป้ องกันข้อผิดพลาดหรื อเกิดจุดอ่อนน้อยที่สุดในการ ดาเนินการช่วยเหลือนักเรี ยน ่ ั ในการศึกษารวบรวมข้อมูลมีแนวทางหลากหลายขึ้นอยูกบความจาเป็ นและความเหมาะสม มี ทั้งวิธีการปฏิบติที่ครู ตองวางแผนการใช้เวลาในการดาเนินกิจกรรม เช่น การเยียมบ้าน การสัมภาษณ์ ั ้ ่ นักเรี ยนหรื อเพื่อน และการใช้เครื่ องมือในการรู ้จกนักเรี ยน ดังต่อไปนี้ ั ้ ้ ่ ่ 8 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • 9. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในการใช้เครื่ องมือบางประเภท ครู ควรคานึงถึง ความรู้ ความเข้าใจ อย่างถ่องแท้ ในขั้นตอนการนาเครื่ องมือไปใช้ ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม ตลอดจนศึกษาการตีความจาก รู ปภาพ สัญลักษณ์ คา ข้อความ ที่นกเรี ยนสื่ อความ โดย อาจศึกษาเพิ่มเติมหรื อทบทวนความรู ้จาก ครู แนะแนว ั หรื อครู ที่จบการศึกษาด้านจิตวิทยา แนวทางการดาเนินการในการรู้ จักนักเรียนเป็ นรายบุคคล ครู สามารถศึกษาตัวอย่างเครื่ องมือในการรู ้จกนักเรี ยนได้ที่ http://www.guidance.go.th ั ้ ้ ่ ่ 9 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • 10. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จากแนวทางดังกล่ าวข้ างต้ น เพือให้ ครู ได้ เชื่ อมโยงการทางานระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน ่ อย่ างเป็ นระบบ ขอให้ ครู ทบทวนบทบาทดังนี้ สรุ ปบทบาทหน้าที่ของครู ที่ปรึ กษาในการรู้จกนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล ั 1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลพื้นฐานของนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล โดยเลือกเครื่ องมือหรื อวิธีการที่เหมาะสม จากนั้น จัดเตรี ยมเครื่ องมือ สาหรับเก็บข้อมูลนักเรี ยนรายบุคคล 2. หาข้อมูลเพิ่มเติม ในกรณี ที่ขอมูลที่ได้มานั้นยังไม่ครบถ้วนหรื อไม่เพียงพอต่อการวิเคราะห์ ้ โดยนาเครื่ องมือที่จาเป็ นไปใช้ในการเก็บข้อมูล และปรับปรุ งข้อมูลให้เป็ นปัจจุบน ั 3. นาข้อมูลที่รวบรวมมา จัดเก็บอย่างเป็ นระบบ 4. วิเคราะห์ขอมูลนักเรี ยนอย่างรอบคอบและรอบด้าน เพื่อนาสู่ การคัดกรองและให้การช่วยเหลือหรื อ ้ พัฒนานักเรี ยนตามความต้องการหรื อจาเป็ นของแต่ละคน ทีมา เอกสารแนวดาเนินการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น ่ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2546. ้ ้ ่ ่ 10 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • 11. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน UTQ online e-Training Course ใบความรู้ ที่ 3.1 เรื่อง “ความสาคัญของการคัดกรอง” โครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ งระบบ ภายใต้ปฏิบติการไทยเข้มแข็ง ั ั (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ) การคัดกรองนักเรียน การคัดกรองนักเรี ยนเป็ นการพิจารณาข้อมูลเกี่ยวกับนักเรี ยนเพื่อการจัดกลุ่มนักเรี ยนซึ่ งเป็ น ประโยชน์อย่างยิงในการหาวิธีการที่เหมาะสมในการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนให้ตรงกับสภาพปั ญหาและ ่ ความต้องการจาเป็ นด้วยความรวดเร็ วและถูกต้องแม่นยาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนอาจจัดกลุ่มจัก เรี ยนตามผลการคัดกรองเป็ น 2, 3 หรื อ 4 กลุ่มก็ได้ ตามขอบข่ายและเกณฑ์การ คัดกรองที่ โรงเรี ยนกาหนด เช่น ในกรณี ที่แบ่งนักเรี ยน เป็ น 4 กลุ่มอาจนิยามกลุ่มได้ดงนี้ั 1. กลุ่มปกติ คือ นักเรี ยนที่ได้รับการวิเคราะห์ขอมูลต่าง ๆ ตามเกณฑ์การคัดกรองของ ้ โรงเรี ยนอยูในเกณฑ์ของกลุ่มปกติ ซึ่ งควรได้รับการสร้างเสริ มภูมิคุมกันและการส่ งเสริ มพัฒนา ่ ้ 2. กลุ่มเสี่ ยง คือ นักเรี ยนที่อยูในเกณฑ์ของกลุ่มเสี่ ยงตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรี ยน ซึ่ ง ่ โรงเรี ยนต้องให้การป้ องกันและแก้ไขตามกรณี 3. กลุ่มมีปัญหา คือ นักเรี ยนที่จดอยูในเกณฑ์ของกลุ่มมีปัญหาตามเกณฑ์การคัดกรองของ ั ่ โรงเรี ยน ซึ่ งโรงเรี ยนต้องช่วยเหลือและแก้ปัญหาโดยเร่ งด่วน 4. กลุ่มพิเศษ คือ นักเรี ยนที่มีความสามารถพิเศษ มีความเป็ นอัจฉริ ยะแสดงออกซึ่ง ความสามารถอันโดนเด่นด้านใดด้านหนึ่งหรื อหลายด้านอย่างเป็ นที่ประจักษ์เมื่อเทียบกับผูมีอายุใน ้ ระดับเดียวกันภายใต้สภาพแวดล้อมเดียวกัน ซึ่ งโรงเรี ยนต้องให้การส่ งเสริ มให้นกเรี ยนได้พฒนา ั ั ศักยภาพความสามารถพิเศษนั้นจนถึงขั้นสู งสุ ด ้ ้ ่ ่ 11 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • 12. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ชื่อ............................................ ตัวอย่าง ชั้น...................เลขที่................ วัน เดือน ปี .............................. บันทึกการคัดกรอง ครู ผสรุ ป.................................. ู้ แบบสรุ ปข้ อมูลนักเรียนเป็ นรายบุคคล (จากระเบียนสะสม แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) และอืนๆ) ่ 1. ด้ านการเรียน ปกติ เสี่ ยง มีปัญหา [ ] ผลการเรี ยนเฉลี่ยต่ากว่า 1.5 [ ] ไม่เข้าเรี ยนในวิชาต่างๆ 3 – 5 ครั้ง ต่อ 1 รายวิชา [ ] มี 0 1 – 5 วิชา ใน 1 ภาคเรี ยน [ ] อ่านหนังสื อไม่คล่อง [ ] เขียนหนังสื อมุถูกต้อง สะกดคาผิดแม้แต่คาง่ายๆ [ ] มาโรงเรี ยนไม่ทนเคารพธงชาติมากกว่า 10 ครั้ง ใน 1 ภาคเรี ยน ั [ ] อื่นๆ ......................................................................................... 2. ด้ านความสามารถอืนๆ ่ มี ระบุ ........................................................................................ ไม่ชดเจนในความสามารถด้านอื่น นอกจากด้านการเรี ยน ั 3. ด้ านสุ ขภาพ ปกติ เสี่ ยง/ มีปัญหา [ ] ร่ างกายไม่แข็งแรง เจ็บป่ วยบ่อย [ ] มีโรคประจาตัว [ ] น้ าหนักผิดปกติและไม่สัมพันธ์กบส่ วนสู งหรื ออายุ ั [ ] พิการด้านร่ างกาย [ ] มีปัญหาด้านสายตา [ ] มีปัญหาการได้ยน ิ [ ] อื่นๆ............................................................................................... 4. ด้ านสุ ขภาพและพฤติกรรม ด้านอารมณ์ ปกติ เสี่ ยง มีปัญหา ด้านความประพฤติ ปกติ เสี่ ยง มีปัญหา ด้านพฤติกรรมอยูไม่นิ่ง ่ ปกติ เสี่ ยง มีปัญหา ด้านบุคลิกภาพและความสัมพันธ์กบเพื่อน ั ปกติ เสี่ ยง มีปัญหา ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ปกติ เสี่ ยง มีปัญหา 5. ด้ านเศรษฐกิจ utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย ้ ้ ่ ่ 12
  • 13. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปกติ เสี่ ยง/ มีปัญหา [ ] รายได้ครอบครัวต่ากว่า 5,000 บาท/เดือน [ ] พ่อหรื อแม่ตกงาน [ ] มีภาระหนี้สิน [ ] ไม่มีเงินพอรับประทานอาหารกลางวัน [ ] ไม่มีเงินซื้ ออุปกรณ์การเรี ยน [ ] อื่นๆ.................................................................................................................. 6. ด้ านการคุ้มครองนักเรียน ปกติ เสี่ ยง/มีปัญหา [ ] ไม่มีผดูแล ู้ [ ] พ่อแม่แยกทางกันหรื อสมรสใหม่ [ ] สภาพแวดล้อมทางบ้านไม่ดี [ ] มีบุคคลในครอบครัวใช้สารเสพติดหรื อเล่นการพนัน [ ] มีบุคคลในครอบครัวเจ็บป่ วยด้วยโรครุ นแรง/เรื้ อรัง [ ] มีความรู ้สึกไม่ดีต่อพ่อ แม่ [ ] มีการใช้ความรุ นแรงในครอบครัว [ ] มีการถูกล่วงละเมิดทางเพศ [ ] อื่นๆ................................................................................................................. 7. ด้ านอืนๆ ่ ด้านสารเสพติด ปกติ เสี่ ยง มีปัญหา ด้านเพศ ปกติ เสี่ ยง มีปัญหา ด้าน.......................................................................................................................... สรุ ป นักเรี ยนจัดอยูในกลุ่ม ่ ปกติ เสี่ ยง มีปัญหา หมายเหตุ แบบการคัดกรอง ให้จดทาโดยพิจารณาตามเกณฑ์การคัดกรองนักเรี ยนที่โรงเรี ยนจัดทาขึ้น ั ้ ้ ่ ่ 13 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • 14. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน UTQ online e-Training Course ใบความรู้ ที่ 3.2 เรื่อง “แนวทางการวิเคราะห์ ข้อมูลเพือการคัดกรองนักเรียน ่ และอย่างเกณฑ์ บันทึกการคัดกรอง” โครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ งระบบ ภายใต้ปฏิบติการไทยเข้มแข็ง ั ั (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ) แนวทางการวิเคราะห์ ข้อมูลเพือการคัดกรองนักเรียน ่ ่ การวิเคราะห์ขอมูลเพื่อการคัดกรองนักเรี ยนนั้น ให้อยูในดุลยพินิจของครู ท่ีปรึ กษา ครู ประจา ้ ชั้นผูที่เกี่ยวข้อง และยึดหลักเกณฑ์การคัดกรองนักเรี ยนของโรงเรี ยนเป็ นหลักด้วย ดังนั้นโรงเรี ยนจึง ้ ควรมีการประชุมครู เพื่อการพิจารณาเกณฑ์การจัดกลุ่มนักเรี ยนร่ วมกัน เพื่อให้มีมาตรฐานหรื อ แนว ทางการคัดกรองนักเรี ยนที่เหมือนกัน เป็ นที่ยอมรับของครู ในโรงเรี ยน รวมทั้งให้มีการกาหนดเกณฑ์ ว่าความรุ นแรงหรื อความดีของพฤติกรรมมีเท่าใด จึงจะจัดอยูในกลุ่มเสี่ ยงหรื อกลุ่มที่มีปัญหา ่ ้ ้ ่ ่ 14 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • 15. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การพิจารณาเพื่อจัดทาเกณฑ์การคัดกรองและแหล่งข้อมูล เพื่อคัดกรองนักเรี ยนแต่ละด้านนั้นมี ประเด็นการพิจารณา ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ข้อมูลนักเรี ยน ประเด็นการพิจารณา แหล่งข้อมูล 1. ด้านความสามารถ 1) ผลการเรี ยนที่ได้และ - ระเบียบสะสม (ป.01/ 1.1 ด้านการเรี ยน ความเปลี่ยนแปลงของผลการเรี ยน ป. พ8) 2) ความเอาใจใส่ ความพร้อม - วิธีการอื่น ๆ เช่น ในการเรี ยน สังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน 3) ความสามารถในการเรี ยน ข้อมูลจากครู ที่เกี่ยวข้อง 4) ความสม่าเสมอในการ กับนักเรี ยน เป็ นต้น มาโรงเรี ยน เวลาที่มาโรงเรี ยน การเข้าชั้นเรี ยน 2. ด้านความ 1) การแสดงออกถึงความ - ระเบียบสะสม (ป.01/ สามารถอื่น ๆ สามารถพิเศษที่มี ป. พ8) 2) ความถนัด ความสนใจ - วิธีการอื่นๆ เช่น การได้ ่ และผลงานในอดีตที่ผานมา ข้อมูลจากเพื่อนนักเรี ยน 3) บทบาทหน้าที่พิเศษใน แฟ้ มสะสมผลงาน โรงเรี ยน พฤติกรรมที่แสดงออก 4) การเข้าร่ วมกิจกรรมต่าง ๆ ของนักเรี ยน เป็ นต้น 2. ด้านสุ ขภาพ 2.1 ด้านร่ างกาย 1) ความปกติ ความพิการ -ระเบียบสะสม (ป.01/ หรื อความบกพร่ องทางร่ างกาย ป. พ8) เช่น การมองเห็น การได้ยน ิ -วิธีการอื่น ๆ เช่น การ เป็ นต้น สังเกต 2) โรคประจาตัว การตรวจสอบถามจากครู 3) ความสัมพันธ์ระหว่าง พยาบาลจากแบบบันทึก น้ าหนักกับส่ วนสู ง การตรวจสุขภาพด้วย 4) ความสะอาดของร่ างกาย ต้นเอง เป็ นต้น ้ ้ ่ ่ 15 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • 16. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ข้อมูลนักเรี ยน ประเด็นพิจารณา แหล่งข้อมูล ่ 2.2 ด้านจิตใจ สภาพอารมณ์ที่มีตอการ - ระเบียบสะสม (ป.01/ ดาเนิ นชี วิตประจาวัน เช่น ความ ป. พ8) วิตกกังวลหรื อซึ มเศร้า - แบบประเมินพฤติกรรม -แบบสังเกต ข้อมูลนักเรี ยน ประเด็นพิจารณา แหล่งข้อมูล 3. ด้านพฤติกรรม 1) ความประพฤติ เช่น - แบบประเมินพฤติกรรม ด้านจิตใจ สภาพอารมณ์ที่มีต่อการ 2.2การลักขโมย ก้าวร้าว - ระเบียบสะสมน (ป.01/ นักเรี ย 2) พฤติกรรมต่าง ๆ ที่มีผล ดาเนินชี วิตประจาวัน เช่น ความ ป. พ8) - การสังเกตพฤติกรรม วิตกกังวลหรื อซึอมเศร้า ยน กระทบต่ การเรี - แบบประเมินพฤติกขอมูลจากเพื่อน - การได้ รรม ้ ความสามารถพิเศษและ - แบบสังกเรี ยนหรื อการตอบแบบ นั เกต การปรับตัวของนักเรี ยน เช่น สอบถาม ่ พฤติกรรมที่อยูไม่นิ่ง 3. ด้านพฤติกรรม 1) ความประพฤติ เช่สมาธิส้ น น ั - แบบประเมินพฤติกรรม การลักขโมย ก้าวร้าว 3) การแสดงพฤติกรรมต่อเพื่อน นักเรี ยน 2) พฤติกรรมต่าง ๆ ที่มีผล ครู และผูปกครอง ้ - การสังเกตพฤติกรรม การใช้สารเสพติดน กระทบต่อการเรี ย - การได้ขอมูลจากเพื่อน ้ การทาร้ายตนเองศษและกรรม ความสามารถพิเ พฤติ นักเรี ยนหรื อการตอบแบบ ทางเพศที่ไวม่เหมาะสมน เช่น การปรับตั ของนักเรี ย สอบถาม เป็ นต้น ่อยูไม่นิ่ง พฤติกรรมที ่ สมาธิ ส้ นั 4. ด้านครอบครัว 3) การแสดงพฤติกรรมต่อเพื่อน 4.1 ด้านเศรษฐกิจ 1) ผูหารายได้ให้ครอบครัว และผูปกครอง ้ ครู ้ - ระเบียบสะสม (ป.01/ 2) ฐานะเศรษฐกิดจของครอบครัว ป. พ8) การใช้สารเสพติ ภาระหนี้สิ้น - การได้ขอมูลจากเพื่อน การทาร้ายตนเอง พฤติกรรม ้ 3) ความเพียงพอของรายรับ ทางเพศที่ไม่เหมาะสม นักเรี ยน กับรายจ่ายในแต่ละวัน - การได้ขอมูลจากนักเรี ยน เป็ นต้น ้ โดยตรง 4. ด้านครอบครัว 4.2 ด้านการคุมครอง 1) ความสามารถในการคุม ้ ้ - ระเบียบสะสม (ป.01/ 4.1 ด้านเศรษฐกิจ 1) ผูหารายได้ให้ครอบครัว ้ - ระเบียบสะสม (ป.01/ ครองดูแลนักเรี ยนได้อย่างปลอดภัย ป. พ8) และเหมาะสมของผูปกครอง ้ 2) ฐานะเศรษฐกิจของครอบครัว ป. พ8) - การสังเกตพฤติกรรม ภาระหนี้สิ้น - การได้ขอมูลจากเพื่อน ้ นักเรี ยน 2) ความเพียงพอของรายรับ ่ 3) ความเหมาะสมของสภาพที นักเรี ยน - การสอบถามนักเรี ยน ่ อยูอาศัย โดยตรงหรื อจากเพื่อน กับรายจ่ายในแต่ละวัน - การได้ขอมูลจากนักเรี ยน ้ โดยตรง 4.2 ด้านการคุมครอง 1) ความสามารถในการคุม ้ ้ - ระเบียบสะสม (ป.01/ ครองดูแลนักเรี ยนได้อย่างปลอดภัย ป. พ8) และเหมาะสมของผูปกครอง ้ - การสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน 2) ความเหมาะสมของสภาพที่ - การสอบถามนักเรี ยนโดยตรง ้ ้ ่ utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญย ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือน ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน ประเทศไทย16 อยูอาศัาตให้ หรื อ่ จากเพื่อการค ่ 3.0
  • 17. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน UTQ online e-Training Course ใบความรู้ ที่………. เรื่อง “................................................” โครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ งระบบ ภายใต้ปฏิบติการไทยเข้มแข็ง ั ั (Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ) ข้อมูลนักเรี ยน ประเด็นพิจารณา แหล่งข้อมูล 4.3 ด้านการเลี้ยงดู 1) ความสัมพันธ์ของคนใน - การเยียมบ้าน ่ ครอบครัว เช่น ครอบครัว - การสังเกตพฤติกรรม อบอุ่น หรื อทะเลาะเบาะแว้ง - การสอบถามจาก การใช้ความรุ นแรงในการตัดสิ น นักเรี ยนโดยตรงหรื อ แก้ไขปัญหาซึ่ งมีผลกระทบต่อ จากเพื่อน พฤติกรรมของนักเรี ยน เช่น ซึมเหม่อลอย ไม่อยากกลับ บ้าน เป็ นต้น 2) สมาชิกในครอบครัวใช้ สารเสพติด สุ รา หรื อเล่น การพนัน รวมถึงการเจ็บ ป่ วยเรื้ อรัง 3) แบบอย่างของครอบครัว 5. ด้านสังคม 1) ครอบครัวแยกตัวจากสังคม - การเยียมบ้าน ่ แวดล้อมหรื อถูกกีดกันจากสิ่ ง - การสอบถามจากแหล่ง แวดล้อม ข้อมูลต่าง ๆ เช่น 2) ความสัมพันธ์ของ เพื่อน นักเรี ยน ครอบครัวต่อชุมชน ้ ้ ่ ่ 17 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • 18. รหัส UTQ-220: กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน: การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ตัวอย่ าง เกณฑ์ การคัดกรองนักเรียน การคัดกรองนักเรี ยนเพื่อจัดเป็ นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ ยง และกลุ่มมีปัญหานั้น ครู ประจาชั้น สามารถวิเคราะห์ขอมูลจากระเบียบสะสมและอื่น ๆ ที่จดทาเพิ่มเติม แต่ท้ งนี้โรงเรี ยนแต่ละแห่ง ้ ั ั จาเป็ นต้องประชุมครู เพื่อพิจารณาการคัดกรองนักเรี ยน เพื่อให้ครู ประจาชั้นมีหลักในการคัดกรอง นักเรี ยน ตรงกันทั้งโรงเรี ยน ดังนี้ ข้ อมูลนักเรียน กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ ยง กลุ่มมีปัญหา 1. ด้ านความสามารถ 1.1 ด้านการเรี ยน - ผลการเรี ยนเฉลี่ย - ผลการเรี ยนตั้งแต่ - ผลการเรี ยนต่ากว่า 2.00 ขึ้นไป 1.5 ถึง 2.00 1.5 - ไม่มี 0 ในทุกวิชา - ขาดเรี ยนในวิชาต่าง - ขาดเรี ยนในวิชาต่าง - ขาดเรี ยนในวิชาต่าง ๆ 3-5 ครั้งต่อ 1วิชา ๆ มากกว่า 5 ครั้ง ๆ ไม่เกิน 3 ครั้งใน 1 - มาโรงเรี ยนสาย - มาโรงเรี ยนสายเกิน วิชา มากกว่า 10 ครั้ง แต่ไม่ 15 ครั้งใน 1 ภาค - มาโรงเรี ยนสายไม่ เกิน 15 ครั้ง ใน 1 เรี ยน เกิน 10 ครั้ง ใน 1 ภาคเรี ยน ภาคเรี ยน 1.2 ความสามารถพิเศษ - ถ้านักเรี ยนมี ความสามารถพิเศษ จะเน้นจุดแข็งของ นักเรี ยนในทุกกลุ่ม 2.ด้ านสุ ขภาพ 2.1 ด้านร่ างกาย - อายุ น้ าหนัก และ - น้ าหนักผิดปกติ และ - ป่ วยเป็ นโรคหรื อ ั ั ส่ วนสู ง สัมพันธ์กน ไม่สัมพันธ์กบส่ วนสู ง ความพิการทางกายมี - ร่ างกายแข็งแรง หรื ออายุ ความบกพร่ องทางการ ้ ้ ่ ่ 18 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย