SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ที่มีประสิทธิภาพ คือ การออกแบบส่วน
ติดต่อผู้ใช้ที่ผู้ใช้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง และพึงพอใจ ดังนั้น
กระบวนการที่มีความสาคัญมากในการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ คือ
กระบวนการทดสอบ ในบทนี้นาเสนอความสาคัญ ขอบเขตและการสร้าง
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน
แนวคิดของ Lean
Lean คือ แนวคิดที่ความสาคัญเกี่ยวกับการลดทอนสิ่งที่ไม่จาเป็น
หลักการของ Lean นั้นจะมุ่งให้ความสาคัญกับการสร้างคุณค่าให้กับ
ผู้บริโภคหรือผู้ใช้ให้มากที่สุด โดยใช้ทรัพยากรเท่าที่จาเป็นเท่านั้น
แนวคิดเรื่อง Lean นี้มีพื้นฐานมาจากระบบการจัดการการผลิตของโต
โยต้า (Toyota Production System) ที่นาพาโตโยต้าสู่ความสาเร็จอัน
ยิ่งใหญ่ในวงการยานยนต์
แนวคิดของ Lean
กระบวนการ Lean ให้ความสาคัญกับการเรียนรู้เป็นอย่างมาก ผู้
สร้างสรรค์ต้องออกจากสถานที่ทางานของตนเองเพื่อไปพบปะพูดคุย
กับกลุ่มลูกค้าจริง เช็คดูว่าความต้องการของเขากับสิ่งที่ตนคิดนั้น
ตรงกันหรือไม่ นอกเหนือจากความเข้าใจผู้บริโภคที่เพิ่มมากขึ้นแล้ว ผู้
สร้างสรรค์อาจได้ของมูลใหม่ๆ ที่ไม่เคยรู้มาก่อนมาเป็นแนวทางสาหรับ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อไปด้วย
Validated Learning เรียนรู้ให้แน่ใจว่าผู้ใช้งานต้องการอะไร
แนวคิดของ Lean
กระบวนการพัฒนาตามแนวคิดของ Lean จะประกอบด้วย
แนวคิดของ Lean
ในการพัฒนาระบบหรือ Product ใด ๆ จุดเริ่มต้นผู้พัฒนา
จะต้องเรียนรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ตนจะพัฒนา เมื่อเรียนรู้
แล้วสิ่งที่เกิดขึ้น คือ แนวคิดหรือ Idea
Learn
การเรียนรู้
01
Build
การพัฒนา
02เป็นขั้นตอนที่จะนาแนวคิดที่ได้จากการเรียนรู้มาพัฒนาระบบ
ซึ่งจะได้เป็น Product
Measure
การวัดผล
03การวัดผล เป็นการทดสอบ Product ที่ได้จาก
การพัฒนานั้นมีความถูกต้องหรือเหมาะสมมาก
เพียงใด เมื่อนาผลการทดสอบนั้นมาผ่านการ
วิเคราะห์จะทาให้เกิดข้อมูล หรือ Data
กระบวนการพัฒนาตามแนวคิดของ Lean จะประกอบด้วย
จะเห็นว่ากระบวนการพัฒนาตามแนวคิดของ Lean นั้นเป็นวงจร ซึ่งจะ
เห็นได้ว่าเมื่อผู้พัฒนาทาการทดสอบ Product และวิเคราะห์ผลจะทา
ให้เกิดข้อมูลสาหรับนาไปเรียนรู้ใหม่ ดังนั้นจะเห็นได้ว่ากระบวนการ
ทดสอบเป็นกระบวนการที่มีความสาคัญมากในการพัฒนาสิ่งใด ๆ
Usability Testing
Usability Testing คือ การทดสอบการใช้งาน โดยการนา Product หรือ
ในที่นี่คือส่วนติดต่อผู้ใช้งานไปให้กลุ่มคนที่คาดว่าจะเป็น Target users
ลองใช้งาน โดยการกาหนดเป้าหมายให้เค้าทาให้สาเร็จเป็นข้อๆ แล้วเฝ้าดู
และสังเกตว่าผู้ใช้มีวิธีการคิด การตัดสินใจ การใช้งานส่วนติดต่อผู้ใช้งาน
ของเราอย่างไร ที่จะทาให้เป้าหมายนั้นสาเร็จ ดังนั้น Usability Testing
เป็นขั้นตอนที่จะ Measure และ Learn ก่อนที่จะนาไปปรับปรุงส่วนติดต่อ
ผู้ใช้งานเพื่อใช้พัฒนาระบบจริงนั่นเอง
Usability Testing
ทาได้ง่ายหมายถึงง่ายกว่าการทดสอบ
ประเภทอื่น ๆ เช่น Unit Testing ซึ่งจะเป็นการ
ทดสอบที่ตัวระบบดังนั้นผู้พัฒนาจะต้อง
พัฒนาระบบก่อนแล้วจึงจะทดสอบได้ดังนั้น
การทดสอบการใช้งานผ่านส่วนผู้ติดต่อผู้ใช้
จึงสะดวกในการออกแบบมากกว่า
ประหยัดค่าใช้จ่ายในระยะยาวนั่นหมายถึงเมื่อ
ผู้พัฒนาทดสอบการใช้งานของส่วนผู้ติดต่อ
ผู้ใช้ผู้พัฒนาจะสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
ก่อนนาไปพัฒนาระบบจริงซึ่งประหยัด
ค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้แก้ไขระบบในภายหลังได้
มากกว่า
ทาให้เราเข้าใจผู้ใช้ได้มากขึ้นซึ่งเมื่อผู้พัฒนา
นาส่วนติดต่อผู้ใช้ที่ได้รับการออกแบบไปให้
ผู้ใช้งานทดสอบจะทาให้เห็นถึงรูปแบบความ
เข้าใจและความพึงพอใจของผู้ใช้งานซึ่งข้อมูล
ดังกล่าวสามารถนามาใช้ในการพัฒนาการ
ออกแบบต่อไปได้
ความสาคัญของ Usability Testing มีดังนี้
Usability Testing
ช่วยในการตัดสินใจและวางแผนการพัฒนา
Product ได้ง่ายขึ้นหมายถึงการนาผลการ
วิเคราะห์ที่ได้จากการทดสอบมาใช้ในการ
ตัดสินใจปรับปรุงหรือเพิ่มเติมส่วนต่างๆ ได้
สะดวกขึ้น
การทดสอบโดยวัดความพึงพอใจตรงกับทฤษฎีการออกแบบโดยมีผู้ใช้เป็น
ศูนย์กลาง(User-Centered Design: UCD) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่ผู้พัฒนาและออกแบบ
Product ใดๆ จะต้องคานึงผู้ใช้เป็นปัจจัยหลักในการออกแบบซึ่งส่วนติดต่อผู้ใช้ที่จะ
นาไปใช้ในการพัฒนาระบบจริงนั้นจะสอดคล้องกับรูปแบบความเข้าใจของผู้ใช้งาน
และจะทาให้ผู้ใช้มี่ความพึงพอใจและสามารถใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ความสาคัญของ Usability Testing มีดังนี้
Usability Testing
จัดหาผู้ที่จะมาทาการทดสอบ
คือ การกาหนดผู้ใช้งานเป้าหมายที่ใช้ในการ
ทดสอบ
สร้างการทดสอบ
คือ การสร้างแบบทดสอบและเงื่อนไขในการ
วิเคราะห์
ตั้งเป้าหมายในการทดสอบ
คือ การกาหนดวัตถุประสงค์ในการทดสอบ
ขั้นตอนการทา Usability Testing
Usability Testing
แก้ไขปรับปรุง
เป็นการนาข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์มา
ปรับปรุงส่วนติดต่อผู้ใช้ก่อนนาไปพัฒนา
ระบบจริง
เริ่มทดสอบ
ขั้นตอนการทา Usability Testing
สรุปผล
คือ การนาผลการทดสอบมาวิเคราะห์เพื่อหา
ข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปรับปรุง
Usability Testing
การสร้างการทดสอบ
สร้าง Usability Testing
สร้างตัวอย่างงาน
Interactive Prototype
คือ การสร้างตัวงานที่จะนาไปใช้ในการทดสอบ ซึ่งมี 2 รูปแบบ คือ
Usability Testing
1. สร้างตัวอย่างงาน Interactive Prototype
คือ ตัวอย่างงานแบบหยาบๆ ที่ทาขึ้นมาเร็วๆ เช่น
การ sketch รูปที่วาดด้วยดินสอ หรือใช้
wireframe ของเว็บก็สามารถทามาดู flow การ
ใช้งานของแอพ/เว็บได้
Low-fidelity Prototype
คือ ตัวอย่างงานที่มีรายละเอียดมากขึ้น เช่น screen ที่ออกแบบ
ไว้จาก Photoshopหรือโปรแกรม Sketchมาทาเป็น Prototype
ซึ่งอาจจะไม่ต้องดีไซน์ให้ชัดเจนนัก แต่พอให้เห็น mood & tone
ของโปรดัก และยังคงเน้นในเรื่องของ flow การใช้งาน
Hi-fidelity Prototype
การสร้างการทดสอบ
Usability Testing
การสร้างการทดสอบ
Usability Testing
การสร้างการทดสอบ
Usability Testing
คือ การสร้างแบบทดสอบความพึงพอใจจากผู้ใช้งาน ซึ่งเป็นรูปแบบ
ของแบบสารวจหรือแบบสอบถามที่ใช้งานตามหลักสถิติทั่วไป ที่จะ
ประกอบด้วยคุณสมบัติของผู้ใช้ที่สามารถนาไปวิเคราะห์เป็นข้อมูล
ได้ เช่น อายุ, เพศ, ระดับการศึกษา เป็นต้น โดยเกณฑ์ที่ใช้ในการ
สร้างแบบทดสอบสาหรับการทดสอบความพึงพอใจของส่วนติดต่อ
ผู้ใช้งานจะเป็นไปตามทฤษฎีของ Jacob Nielsen ผู้เชี่ยวชาญในการ
ออกแบบ Web Usability
2. สร้าง Usability Testing
การสร้างการทดสอบ
ระบบแสดงให้ผู้ใช้งานเห็นเสมอว่าตนกาลังทาอะไร
อยู่ กาลังจะเกิดอะไรขึ้น และให้ผลป้อนกลับในเวลาที่
เหมาะสมหรือไม่
01
ระบบสามารถพูดภาษาเดียวกันกับผู้ใช้โดยมีตรรกะ
การใช้งานที่เป็นธรรมชาติ ไม่ใช่ภาษาที่แปลกไปจาก
ปรกติหรือไม่
02
ระบบสนับสนุนการ Undo และ Redo หรือไม่
03
Usability Testing
ระบบมีความสม่าเสมอและเป็นมาตรฐานไปทุก ๆ
หน้าจอของการออกแบบ ผู้ใช้งานไม่สับสนในเรื่อง
การจัดวางหรือขนาดตัวหนังสือหรือไม่
04
ระบบมีคาเตือนให้ระวังความผิดพลาดที่จะช่วย
ป้องกันความผิดพลาดหรือไม่ ระบบมีการตกลงใจ
ซ้าอีกครั้งเพื่อตรวจสอบความแน่นอนของการ
ตัดสินใจของผู้ใช้หรือไม่ เช่น ท่านต้องการแก้ไข
หรือไม่ ให้ตอบ แก้ไข หรือ ไม่แก้ไข
05
ผู้ใช้งานต้องใช้ความจาในการจดจาคาสั่งต่าง ๆ ใน
ระบบหรือไม่ ซึ่งระบบมีส่วนประกอบหน้าจอ การ
ออกคาสั่งปฏิบัติและส่วนตัวเลือกมีความชัดเจน
วิธีการใช้งานต้องเข้าถึงได้ง่ายและรับรู้ได้ง่ายหรือไม่
06
มีความยืดหยุ่นสาหรับผู้ใช้งานหลากหลายกลุ่ม และ
มีประสิทธิผลในการทางานหรือไม่
07
การนาเสนอเนื้อหามีเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเรื่องที่
ผู้ใช้ต้องการใช้หรือไม่
08
Usability Testing
ข้อความแสดงความผิดพลาดปรากฏในแบบ
ตัวอักษรธรรมดาที่เข้าใจได้ง่าย ระบุปัญหาและบอก
วิธีแก้ไข ให้ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขได้เองได้หรือไม่
09
ระบบมีคู่มือที่อธิบายวิธีการใช้งาน มีการแบ่ง
สารบัญข้อมูลที่ทาให้หาง่ายเจาะจงไปยังหน้าที่ต่าง
ๆ มีการเรียงลาดับอย่างเป็นระบบ และไม่มาก
จนเกินไปหรือไม่
10
การทดสอบ Usability แบบ DIY
ทาการทดสอบทุกเดือนเดือนละ 1 ครั้ง การทดสอบแต่ละครั้งใช้เวลา
เพียงครึ่งวันเช้าในการทดสอบและสรุปประเด็นที่ทีมพัฒนา
ผลิตภัณฑ์จะต้องไปแก้ไข
กาหนดการที่แน่นอนและเวลาที่ไม่ยาวเกินไปทาให้ผู้เกี่ยวข้องสะดวกใจที่จะเข้าร่วม
สังเกตการณ์ทดสอบมากขึ้น ซึ่งสาหรับการทดสอบ Usability ยิ่งมีผู้เกี่ยวข้อง
ร่วมสังเกตกรทดสอบมากเท่าไหร่ก็ยิ่งดีเท่านั้น
01
การทดสอบ Usability แบบ DIY
ทดสอบกับผู้ใช้เพียง 3 คน ต่อการทดสอบ 1 ครั้งและใช้เวลาทดสอบ
1 ชั่วโมงต่อผู้ใช้ 1 คน
การทดสอบ Usability ไม่ใช่การพิสูจน์สมมติฐานเชิงปริมาณที่ต้องมีนัยสาคัญ
ทางสถิติมารองรับ สิ่งที่ต้องการจากการทดสอบนี้คือข้อมูลที่รู้ลึกรู้จริงถึง
พฤติกรรมผู้ใช้
การหาปัญหาให้ได้ครบทุกประเด็นนั้นเป็นไปไม่ได้ แค่ปัญหาที่พบจากผู้ใช้ 3 คน
ภายในเวลาทดสอบครึ่งวันนี้ก็มากเกินกว่าที่จะแก้ไขได้ทันภายในหนึ่งเดือนก่อนถึง
การทดสอบ Usability รอบหน้าแล้ว
02
หากการคัดเลือกหากลุ่มเป้าหมายที่จะมาช่วยทดสอบนั้นยากและ
กินเวาลามากไป ให้คัดเลือกอย่างหลวมๆ แต่ไปเน้นทดสอบให้ได้
บ่อยครั้งแทนดีกว่า
การทดสอบ Usability แบบ DIY
สาหรับปัญหาของ Usability ที่ร้ายแรง ไม่ต้องเป็นผู้ใช้กลุ่มเป้าหมายที่มี
คุณสมบัติตรงข้อกาหนดทุกอย่าง แค่ผู้ใช้คนทั่วไปก็เจอปัญหานั้นได้แล้ว
หากระบบของUsability ดีพอที่คนทั่วไปยังสามารถใช้ได้ ผลิตภัณฑ์นี้ยิ่งไม่น่าจะมี
ปัญหาสาหรับกลุ่มผู้ใช้เป้าหมายที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะทางเกี่ยวกับ
ผลิตภัณฑ์
03

More Related Content

What's hot

กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDการออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์siwaporn_jo
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDการออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Chapter 1 landscape of design
Chapter 1 landscape of designChapter 1 landscape of design
Chapter 1 landscape of design
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 

Similar to การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)

2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็น
2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็น2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็น
2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็นmaruay songtanin
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555Nattapon
 
Managerial Accounting
Managerial AccountingManagerial Accounting
Managerial Accountingtltutortutor
 
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2Areté Partners
 
การบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdfการบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdfpiyapongauekarn
 
Escape the improvement trap
Escape the improvement trapEscape the improvement trap
Escape the improvement trapmaruay songtanin
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
Service design workbook by tcdc
Service design workbook by tcdcService design workbook by tcdc
Service design workbook by tcdcAumm Sermsiri
 
Service design workbook “คู่มือการออกแบบบริการ” โดย TCDC
Service design workbook “คู่มือการออกแบบบริการ” โดย TCDCService design workbook “คู่มือการออกแบบบริการ” โดย TCDC
Service design workbook “คู่มือการออกแบบบริการ” โดย TCDCUtai Sukviwatsirikul
 
Organization measurement
Organization measurementOrganization measurement
Organization measurementKan Yuenyong
 
คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101pranorm boekban
 

Similar to การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing) (20)

Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
 
2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga
 
Crm
CrmCrm
Crm
 
Km16-17
Km16-17Km16-17
Km16-17
 
ocjee
ocjeeocjee
ocjee
 
2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็น
2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็น2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็น
2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็น
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
 
Managerial Accounting
Managerial AccountingManagerial Accounting
Managerial Accounting
 
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
 
Agile Process
Agile ProcessAgile Process
Agile Process
 
การบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdfการบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdf
 
Pre thesis 01-5205108
Pre thesis 01-5205108Pre thesis 01-5205108
Pre thesis 01-5205108
 
Escape the improvement trap
Escape the improvement trapEscape the improvement trap
Escape the improvement trap
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
Chapter 8 test
Chapter 8 testChapter 8 test
Chapter 8 test
 
Tqm
TqmTqm
Tqm
 
Service design workbook by tcdc
Service design workbook by tcdcService design workbook by tcdc
Service design workbook by tcdc
 
Service design workbook “คู่มือการออกแบบบริการ” โดย TCDC
Service design workbook “คู่มือการออกแบบบริการ” โดย TCDCService design workbook “คู่มือการออกแบบบริการ” โดย TCDC
Service design workbook “คู่มือการออกแบบบริการ” โดย TCDC
 
Organization measurement
Organization measurementOrganization measurement
Organization measurement
 
คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google SheetsDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial MetaverseDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 

การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)

  • 1.
  • 2. การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ที่มีประสิทธิภาพ คือ การออกแบบส่วน ติดต่อผู้ใช้ที่ผู้ใช้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง และพึงพอใจ ดังนั้น กระบวนการที่มีความสาคัญมากในการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ คือ กระบวนการทดสอบ ในบทนี้นาเสนอความสาคัญ ขอบเขตและการสร้าง การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้ การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน
  • 3. แนวคิดของ Lean Lean คือ แนวคิดที่ความสาคัญเกี่ยวกับการลดทอนสิ่งที่ไม่จาเป็น หลักการของ Lean นั้นจะมุ่งให้ความสาคัญกับการสร้างคุณค่าให้กับ ผู้บริโภคหรือผู้ใช้ให้มากที่สุด โดยใช้ทรัพยากรเท่าที่จาเป็นเท่านั้น แนวคิดเรื่อง Lean นี้มีพื้นฐานมาจากระบบการจัดการการผลิตของโต โยต้า (Toyota Production System) ที่นาพาโตโยต้าสู่ความสาเร็จอัน ยิ่งใหญ่ในวงการยานยนต์
  • 4. แนวคิดของ Lean กระบวนการ Lean ให้ความสาคัญกับการเรียนรู้เป็นอย่างมาก ผู้ สร้างสรรค์ต้องออกจากสถานที่ทางานของตนเองเพื่อไปพบปะพูดคุย กับกลุ่มลูกค้าจริง เช็คดูว่าความต้องการของเขากับสิ่งที่ตนคิดนั้น ตรงกันหรือไม่ นอกเหนือจากความเข้าใจผู้บริโภคที่เพิ่มมากขึ้นแล้ว ผู้ สร้างสรรค์อาจได้ของมูลใหม่ๆ ที่ไม่เคยรู้มาก่อนมาเป็นแนวทางสาหรับ พัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อไปด้วย Validated Learning เรียนรู้ให้แน่ใจว่าผู้ใช้งานต้องการอะไร
  • 6. แนวคิดของ Lean ในการพัฒนาระบบหรือ Product ใด ๆ จุดเริ่มต้นผู้พัฒนา จะต้องเรียนรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ตนจะพัฒนา เมื่อเรียนรู้ แล้วสิ่งที่เกิดขึ้น คือ แนวคิดหรือ Idea Learn การเรียนรู้ 01 Build การพัฒนา 02เป็นขั้นตอนที่จะนาแนวคิดที่ได้จากการเรียนรู้มาพัฒนาระบบ ซึ่งจะได้เป็น Product Measure การวัดผล 03การวัดผล เป็นการทดสอบ Product ที่ได้จาก การพัฒนานั้นมีความถูกต้องหรือเหมาะสมมาก เพียงใด เมื่อนาผลการทดสอบนั้นมาผ่านการ วิเคราะห์จะทาให้เกิดข้อมูล หรือ Data กระบวนการพัฒนาตามแนวคิดของ Lean จะประกอบด้วย จะเห็นว่ากระบวนการพัฒนาตามแนวคิดของ Lean นั้นเป็นวงจร ซึ่งจะ เห็นได้ว่าเมื่อผู้พัฒนาทาการทดสอบ Product และวิเคราะห์ผลจะทา ให้เกิดข้อมูลสาหรับนาไปเรียนรู้ใหม่ ดังนั้นจะเห็นได้ว่ากระบวนการ ทดสอบเป็นกระบวนการที่มีความสาคัญมากในการพัฒนาสิ่งใด ๆ
  • 7. Usability Testing Usability Testing คือ การทดสอบการใช้งาน โดยการนา Product หรือ ในที่นี่คือส่วนติดต่อผู้ใช้งานไปให้กลุ่มคนที่คาดว่าจะเป็น Target users ลองใช้งาน โดยการกาหนดเป้าหมายให้เค้าทาให้สาเร็จเป็นข้อๆ แล้วเฝ้าดู และสังเกตว่าผู้ใช้มีวิธีการคิด การตัดสินใจ การใช้งานส่วนติดต่อผู้ใช้งาน ของเราอย่างไร ที่จะทาให้เป้าหมายนั้นสาเร็จ ดังนั้น Usability Testing เป็นขั้นตอนที่จะ Measure และ Learn ก่อนที่จะนาไปปรับปรุงส่วนติดต่อ ผู้ใช้งานเพื่อใช้พัฒนาระบบจริงนั่นเอง
  • 8. Usability Testing ทาได้ง่ายหมายถึงง่ายกว่าการทดสอบ ประเภทอื่น ๆ เช่น Unit Testing ซึ่งจะเป็นการ ทดสอบที่ตัวระบบดังนั้นผู้พัฒนาจะต้อง พัฒนาระบบก่อนแล้วจึงจะทดสอบได้ดังนั้น การทดสอบการใช้งานผ่านส่วนผู้ติดต่อผู้ใช้ จึงสะดวกในการออกแบบมากกว่า ประหยัดค่าใช้จ่ายในระยะยาวนั่นหมายถึงเมื่อ ผู้พัฒนาทดสอบการใช้งานของส่วนผู้ติดต่อ ผู้ใช้ผู้พัฒนาจะสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ก่อนนาไปพัฒนาระบบจริงซึ่งประหยัด ค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้แก้ไขระบบในภายหลังได้ มากกว่า ทาให้เราเข้าใจผู้ใช้ได้มากขึ้นซึ่งเมื่อผู้พัฒนา นาส่วนติดต่อผู้ใช้ที่ได้รับการออกแบบไปให้ ผู้ใช้งานทดสอบจะทาให้เห็นถึงรูปแบบความ เข้าใจและความพึงพอใจของผู้ใช้งานซึ่งข้อมูล ดังกล่าวสามารถนามาใช้ในการพัฒนาการ ออกแบบต่อไปได้ ความสาคัญของ Usability Testing มีดังนี้
  • 9. Usability Testing ช่วยในการตัดสินใจและวางแผนการพัฒนา Product ได้ง่ายขึ้นหมายถึงการนาผลการ วิเคราะห์ที่ได้จากการทดสอบมาใช้ในการ ตัดสินใจปรับปรุงหรือเพิ่มเติมส่วนต่างๆ ได้ สะดวกขึ้น การทดสอบโดยวัดความพึงพอใจตรงกับทฤษฎีการออกแบบโดยมีผู้ใช้เป็น ศูนย์กลาง(User-Centered Design: UCD) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่ผู้พัฒนาและออกแบบ Product ใดๆ จะต้องคานึงผู้ใช้เป็นปัจจัยหลักในการออกแบบซึ่งส่วนติดต่อผู้ใช้ที่จะ นาไปใช้ในการพัฒนาระบบจริงนั้นจะสอดคล้องกับรูปแบบความเข้าใจของผู้ใช้งาน และจะทาให้ผู้ใช้มี่ความพึงพอใจและสามารถใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความสาคัญของ Usability Testing มีดังนี้
  • 10. Usability Testing จัดหาผู้ที่จะมาทาการทดสอบ คือ การกาหนดผู้ใช้งานเป้าหมายที่ใช้ในการ ทดสอบ สร้างการทดสอบ คือ การสร้างแบบทดสอบและเงื่อนไขในการ วิเคราะห์ ตั้งเป้าหมายในการทดสอบ คือ การกาหนดวัตถุประสงค์ในการทดสอบ ขั้นตอนการทา Usability Testing
  • 12. Usability Testing การสร้างการทดสอบ สร้าง Usability Testing สร้างตัวอย่างงาน Interactive Prototype
  • 13. คือ การสร้างตัวงานที่จะนาไปใช้ในการทดสอบ ซึ่งมี 2 รูปแบบ คือ Usability Testing 1. สร้างตัวอย่างงาน Interactive Prototype คือ ตัวอย่างงานแบบหยาบๆ ที่ทาขึ้นมาเร็วๆ เช่น การ sketch รูปที่วาดด้วยดินสอ หรือใช้ wireframe ของเว็บก็สามารถทามาดู flow การ ใช้งานของแอพ/เว็บได้ Low-fidelity Prototype คือ ตัวอย่างงานที่มีรายละเอียดมากขึ้น เช่น screen ที่ออกแบบ ไว้จาก Photoshopหรือโปรแกรม Sketchมาทาเป็น Prototype ซึ่งอาจจะไม่ต้องดีไซน์ให้ชัดเจนนัก แต่พอให้เห็น mood & tone ของโปรดัก และยังคงเน้นในเรื่องของ flow การใช้งาน Hi-fidelity Prototype การสร้างการทดสอบ
  • 16. Usability Testing คือ การสร้างแบบทดสอบความพึงพอใจจากผู้ใช้งาน ซึ่งเป็นรูปแบบ ของแบบสารวจหรือแบบสอบถามที่ใช้งานตามหลักสถิติทั่วไป ที่จะ ประกอบด้วยคุณสมบัติของผู้ใช้ที่สามารถนาไปวิเคราะห์เป็นข้อมูล ได้ เช่น อายุ, เพศ, ระดับการศึกษา เป็นต้น โดยเกณฑ์ที่ใช้ในการ สร้างแบบทดสอบสาหรับการทดสอบความพึงพอใจของส่วนติดต่อ ผู้ใช้งานจะเป็นไปตามทฤษฎีของ Jacob Nielsen ผู้เชี่ยวชาญในการ ออกแบบ Web Usability 2. สร้าง Usability Testing การสร้างการทดสอบ
  • 17. ระบบแสดงให้ผู้ใช้งานเห็นเสมอว่าตนกาลังทาอะไร อยู่ กาลังจะเกิดอะไรขึ้น และให้ผลป้อนกลับในเวลาที่ เหมาะสมหรือไม่ 01 ระบบสามารถพูดภาษาเดียวกันกับผู้ใช้โดยมีตรรกะ การใช้งานที่เป็นธรรมชาติ ไม่ใช่ภาษาที่แปลกไปจาก ปรกติหรือไม่ 02 ระบบสนับสนุนการ Undo และ Redo หรือไม่ 03 Usability Testing ระบบมีความสม่าเสมอและเป็นมาตรฐานไปทุก ๆ หน้าจอของการออกแบบ ผู้ใช้งานไม่สับสนในเรื่อง การจัดวางหรือขนาดตัวหนังสือหรือไม่ 04 ระบบมีคาเตือนให้ระวังความผิดพลาดที่จะช่วย ป้องกันความผิดพลาดหรือไม่ ระบบมีการตกลงใจ ซ้าอีกครั้งเพื่อตรวจสอบความแน่นอนของการ ตัดสินใจของผู้ใช้หรือไม่ เช่น ท่านต้องการแก้ไข หรือไม่ ให้ตอบ แก้ไข หรือ ไม่แก้ไข 05
  • 18. ผู้ใช้งานต้องใช้ความจาในการจดจาคาสั่งต่าง ๆ ใน ระบบหรือไม่ ซึ่งระบบมีส่วนประกอบหน้าจอ การ ออกคาสั่งปฏิบัติและส่วนตัวเลือกมีความชัดเจน วิธีการใช้งานต้องเข้าถึงได้ง่ายและรับรู้ได้ง่ายหรือไม่ 06 มีความยืดหยุ่นสาหรับผู้ใช้งานหลากหลายกลุ่ม และ มีประสิทธิผลในการทางานหรือไม่ 07 การนาเสนอเนื้อหามีเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเรื่องที่ ผู้ใช้ต้องการใช้หรือไม่ 08 Usability Testing ข้อความแสดงความผิดพลาดปรากฏในแบบ ตัวอักษรธรรมดาที่เข้าใจได้ง่าย ระบุปัญหาและบอก วิธีแก้ไข ให้ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขได้เองได้หรือไม่ 09 ระบบมีคู่มือที่อธิบายวิธีการใช้งาน มีการแบ่ง สารบัญข้อมูลที่ทาให้หาง่ายเจาะจงไปยังหน้าที่ต่าง ๆ มีการเรียงลาดับอย่างเป็นระบบ และไม่มาก จนเกินไปหรือไม่ 10
  • 19. การทดสอบ Usability แบบ DIY ทาการทดสอบทุกเดือนเดือนละ 1 ครั้ง การทดสอบแต่ละครั้งใช้เวลา เพียงครึ่งวันเช้าในการทดสอบและสรุปประเด็นที่ทีมพัฒนา ผลิตภัณฑ์จะต้องไปแก้ไข กาหนดการที่แน่นอนและเวลาที่ไม่ยาวเกินไปทาให้ผู้เกี่ยวข้องสะดวกใจที่จะเข้าร่วม สังเกตการณ์ทดสอบมากขึ้น ซึ่งสาหรับการทดสอบ Usability ยิ่งมีผู้เกี่ยวข้อง ร่วมสังเกตกรทดสอบมากเท่าไหร่ก็ยิ่งดีเท่านั้น 01
  • 20. การทดสอบ Usability แบบ DIY ทดสอบกับผู้ใช้เพียง 3 คน ต่อการทดสอบ 1 ครั้งและใช้เวลาทดสอบ 1 ชั่วโมงต่อผู้ใช้ 1 คน การทดสอบ Usability ไม่ใช่การพิสูจน์สมมติฐานเชิงปริมาณที่ต้องมีนัยสาคัญ ทางสถิติมารองรับ สิ่งที่ต้องการจากการทดสอบนี้คือข้อมูลที่รู้ลึกรู้จริงถึง พฤติกรรมผู้ใช้ การหาปัญหาให้ได้ครบทุกประเด็นนั้นเป็นไปไม่ได้ แค่ปัญหาที่พบจากผู้ใช้ 3 คน ภายในเวลาทดสอบครึ่งวันนี้ก็มากเกินกว่าที่จะแก้ไขได้ทันภายในหนึ่งเดือนก่อนถึง การทดสอบ Usability รอบหน้าแล้ว 02
  • 21. หากการคัดเลือกหากลุ่มเป้าหมายที่จะมาช่วยทดสอบนั้นยากและ กินเวาลามากไป ให้คัดเลือกอย่างหลวมๆ แต่ไปเน้นทดสอบให้ได้ บ่อยครั้งแทนดีกว่า การทดสอบ Usability แบบ DIY สาหรับปัญหาของ Usability ที่ร้ายแรง ไม่ต้องเป็นผู้ใช้กลุ่มเป้าหมายที่มี คุณสมบัติตรงข้อกาหนดทุกอย่าง แค่ผู้ใช้คนทั่วไปก็เจอปัญหานั้นได้แล้ว หากระบบของUsability ดีพอที่คนทั่วไปยังสามารถใช้ได้ ผลิตภัณฑ์นี้ยิ่งไม่น่าจะมี ปัญหาสาหรับกลุ่มผู้ใช้เป้าหมายที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะทางเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ 03