SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
ในการจัดทาซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมประยุกต์ จะพัฒนาภายใต้
กระบวนการที่เรียกว่า วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
โดยกรรมวิธีที่นามาใช้ในการพัฒนาระบบเรียกว่า วงจรชีวิตของ
ซอฟต์แวร์ (Software Life Cycle) เริ่มตั้งแต่การสารวจความต้องการ
ระบบ จนกระทั่งพัฒนาเสร็จสิ้น และถูกนาไปใช้งาน ในบทนี้จะเน้นที่
ขั้นตอนที่ระบบปฏิสัมพันธ์จะส่งผลต่อการใช้งานและประสิทธิภาพของ
ระบบซึ่งเป็นวิธีการและกระบวนการที่ครอบคลุมอยู่ในกิจกรรมส่วน
ใหญ่ของขั้นตอนการพัฒนาระบบ
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการ
พัฒนาซอฟต์แวร์
กระบวนการของการพัฒนารูปแบบการใช้งานระบบซึ่งเกี่ยวข้องกับ
การออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์นั้น อาจกล่าวได้ว่า ได้ถูกแทรกซึมใน
เกือบทุกขั้นตอนของวงจรการพัฒนาซอฟต์แวร์ จนไม่สามารถที่จะ
แยกพิจารณาโดยเฉพาะเจาะจงเพียงขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งได้ กลุ่ม
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนต่างๆ ข้างต้นแบ่งได้ 2 กลุ่ม คือกลุ่ม
ผู้ใช้งานระบบและกลุ่มผู้พัฒนาระบบ แต่บางครั้งผู้ใช้งานระบบอาจทา
หน้าที่ในการออกแบบระบบด้วย
วงจรของซอฟต์แวร์
กลุ่มผู้ใช้งานระบบยังแบ่งย่อยออกเป็น2 ประเภทคือ
ผู้ใช้งานที่เป็นผู้เจรจาต่อรอง
เกี่ยวกับฟังก์ชันการทางานของ
ระบบ เงื่อนไขต่างๆที่ต้องปฏิบัติ
ตามโดยจะเรียกผู้ใช้งานกลุ่มนี้ว่า
ลูกค้า(Customer)
ผู้ใช้งานที่เป็นผู้ติดต่อระบบหรือปฏิบัติงาน
โดยตรงกับระบบโดยจะเป็นผู้ทราบ
รายละเอียดหรือขั้นตอนการทางานตลอดจน
ให้คาแนะนาเกี่ยวกับปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้
เจ้าเดียวผู้ใช้งานกลุ่มนี้ว่าเป็นผู้ปฏิบัติงาน
(User/End-User)
บางครั้งผู้ใช้งานระบบทั้ง 2 กลุ่ม อาจทาหน้าที่ร่วมกันได้บางกรณีที่ทั้งสองกลุ่มทางานแยกจากกัน
อย่างชัดเจน เช่น การพัฒนาระบบโปรแกรมผ่านทางเว็บไซต์ หรือ ระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ เป็น
ต้น โดยทั่วไป วงจรในการพัฒนาระบบจะเป็นวงจรแบบลาดับขั้น (The waterfallmodel)
Requirement
Specification
Architectural
Design
Codingand
UnitTesting
Detailed
Design
Integration
and Testing
Operationand
Maintenance
Operationand Maintenance
การปรับปรุงระบบ
Integrationand Testing
การรวมส่วนประกอบ
และการทดสอบ
Codingand UnitTesting
การเขียนโปรแกรมและ
การทดสอบส่วนย่อย
ArchitecturalDesign
ออกแบบสถาปัตยกรรมระบบ
04
การกาหนดมาตรฐานที่วัดมีดังนี้
01
02
การออกแบบรายละเอียด
DetailedDesign
03
05
06
RequirementSpecification
การกาหนดความต้องการ
ของระบบ
Requirement Specification
เป็นการทางานร่วมกันระหว่างผู้ออกแบบและผู้ใช้งานระบบ
เพื่อหาข้อตกลงร่วมกัน สาหรับสิ่งที่ระบบต้องการ
01
การกาหนดความต้องการ
ของระบบ
02
ออกแบบสถาปัตยกรรมระบบ
Architectural Design
โดยกาหนดโครงสร้างฟังก์ชันการทางานและกาหนดเกี่ยวกับ
ความเชื่อมโยงของข้อมูลต่างๆ
03
การออกแบบรายละเอียด
Detailed Design
โดยกาหนดรายละเอียดให้กับทุกส่วนประกอบของระบบจาก
ขั้นตอนที่ 2
Coding and Unit Testing
โดยการแปลงรายละเอียดของการออกแบบมาสู่ของการ
เขียนโปรแกรม และได้มีการกาหนดวิธีการทดสอบว่าในแต่
ละส่วนของโปรแกรมนั้นเป็นไปตามข้อกาหนดหรือไม่ หาก
มีข้อผิดพลาดก็ดาเนินการแก้ไขต่อไป
04
การเขียนโปรแกรมและ
การทดสอบส่วนย่อย
Integration and Testing
เพื่อต้องการทดสอบในเรื่อง การใช้งานร่วมกันของ
ทรัพยากรในระบบ ในขั้นตอนนี้ อาจการทดสอบเพื่อให้
ผู้ใช้งานยอมรับระบบด้วย เพราะก่อนที่ระบบจะถูกส่งมอบ
ให้แก่ลูกค้า ก็ต้องผ่านการทดสอบเพื่อการยอมรับ
เสียก่อน
05
การรวมส่วนประกอบ
และการทดสอบ
Integration and Testing
โดยได้มีการกาหนดมาตรฐานการทดสอบระบบ เช่น ISO
9421 ใช้ทดสอบการใช้งานระบบภายใต้สภาพแวดล้อม
ของการปฏิบัติงานในสานักงานอันส่งผลต่อสุขภาพและ
ความปลอดภัยของผู้ใช้ซึ่งก็จะเกี่ยวกับการออกแบบใน
ส่วนของระบบปฏิสัมพันธ์ด้วย
05
การรวมส่วนประกอบ
และการทดสอบ
06
การปรับปรุงระบบ
Operation and Maintenance
เป็นขั้นตอนที่เกิดขึ้นภายหลังการส่งมอบระบบให้กับ
ลูกค้าแล้ว ซึ่งอาจจะเป็นกรณีของการแก้ไขข้อผิดพลาด
ที่ได้มีการตรวจพบในภายหลัง การเพิ่มเติมฟังก์ชันการ
ทางานของระบบ หรือแม้กระทั่งการออกแบบระบบใหม่
เพื่อทดแทนระบบเดิมที่ล้าสมัย ขั้นตอนของการปรับปรุง
ระบบนี้จะส่งผลให้กระทบขั้นตอนอื่น ๆ ระบบเกือบทุก
ขั้นตอนนอกจากนี้ขั้นตอนของการปรับปรุงระบบ ยัง
เป็นขั้นตอนที่ใช้เวลามากที่สุดในบรรดาขั้นตอนต่างๆ
อีกด้วย
Requirement
Specification
Architectural
Design
Coding and
Unit Testing
Detailed
Design
Integration
and Testing
Operationand
Maintenance
การตรวจสอบความถูกต้องของระบบ เป็นความพยายามลดช่องว่างของการแปลง
จากความต้องการระบบมาสู่โปรแกรมการใช้งานเพื่อนาไปสู่ความพึงพอใจของ
ผู้ใช้งาน (Verification)นอกจากความถูกต้องแล้วยังต้องออกแบบระบบให้
สอดคล้องกับความต้องการเชิงพาณิชย์ตลอดจนกฎหมายข้อบังคับต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องอีกด้วย
การออกแบบด้านการใช้งานระบบ
Usability Engineering
จะต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดด้านการใช้งานระบบอย่างชัดเจน และ
ออกแบบระบบให้เป็นไปตามข้อกาหนด โดยการสังเกตการผู้ปฏิบัติงาน
ซึ่งมักจะกาหนดให้เป็นเฉพาะช่วงที่ผู้ปฏิบัติงานมีปฏิสัมพันธ์กับระบบ ซึ่ง
วิธีการนี้ถือว่าเป็นความสามารถด้านการใช้งานระบบ ไม่ได้จากัดอยู่
เพียงส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้งานเท่านั้น แต่ยังมีส่วนของการออกแบบ
โครงสร้าง รายการติดต่อระหว่างฟังก์ชันภายในระบบ ซึ่งล้วนแล้วแต่
ส่งผลถึงประสิทธิภาพในการใช้งานระบบทั้งสิ้น
ในวงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟต์แวร์ ขั้นตอนที่เกี่ยวข้อง
กับการออกแบบด้านการใช้งานระบบจะอยู่ในส่วนแรก คือ
ขั้นตอนการวิเคราะห์ความต้องการของระบบ โดยมีการ
กาหนดมาตรฐานในการวัดขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อใช้ทดสอบ
ระบบปฏิสัมพันธ์โดยเฉพาะ
มาตรฐาน ISO 9241 เคยมีคาแนะนาในเรื่องการกาหนด
หัวข้อในการทดสอบความสามารถในการใช้งานระบบ เพื่อ
จะได้นาไปเป็นส่วนหนึ่งในการวิเคราะห์ความต้องการของ
ระบบได้ โดยการแยกพิจารณาออกเป็น 3 ส่วนคือ
ทางด้านประสิทธิผลการใช้งาน(Effectivemeasures)
ทางด้านประสิทธิภาพการใช้งาน(Efficiencymeasures)
ทางความพึงพอใจในการใช้งาน(Satisfactionmeasures)
โดยแยกพิจารณา ตามวัตถุประสงค์ต่างๆ ดังนี้
ความเหมาะสมของพนักงาน
01
ความเหมาะสมเรื่องการฝึกอบรม
ผู้ใช้งานระบบ
02
ความสามารถในการเรียนรู้ระบบ
03
ความทนทานต่อความบกพร่อง
ของระบบ
04
ความเหมาะสมของพนักงาน
ประสิทธิผล
ประสิทธิภาพ
ความพึงพอใจ
: ระดับความพึงพอใจที่มีต่อการฝึกอบรม
: จานวนร้อยละของความต้องการที่ระบบ
สามารถตอบสนองได้
: เวลาที่ใช้ไปเพื่อทาภาระงานมันได้สาเร็จ
01
02
ความเหมาะสมเรื่องการฝึกอบรม
ผู้ใช้งานระบบ
ประสิทธิผล
ประสิทธิภาพ
ความพึงพอใจ
: ความสามารถในการใช้งานเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ใช้
ที่มีความชานาญ
: ระดับความพึงพอใจที่มีต่อการฝึกอบรม
: จานวนคาสั่งที่ได้มีการฝึกอบรม
ความสามารถในการเรียนรู้ระบบ
03
ประสิทธิผล
ประสิทธิภาพ
ความพึงพอใจ
: เวลาที่ใช้ในการเรียนรู้
: ระดับความพึงพอใจต่อความง่ายในการเรียนรู้
: จานวนร้อยละของฟังก์ชันที่ได้มีการเรียนรู้
04
ความทนทานต่อความบกพร่อง
ของระบบ
ประสิทธิผล
ประสิทธิภาพ
ความพึงพอใจ
: เวลาที่ใช้ไปในการแก้ไขความผิดพลาด
: ระดับความพึงพอใจต่อการจัดการ
กับสถานการณ์ผิดพลาดของระบบ
: จานวนร้อยละของความผิดพลาดที่สามารถแก้ไขได้
ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับการประเมินความสามารถในการใช้งาน
ระบบ คือ ถ้าหากใช้ในขั้นตอนของการวิเคราะห์ความต้องการ
ของระบบแล้วอาจทาให้จานวนบางค่า ไม่สามารถกาหนดได้
ตามความเป็นจริง อย่างไรก็ตามหากได้มีการพิจารณา
กาหนดกรอบของการวิเคราะห์การทางานของระบบร่วมกับ
กรอบการปฏิบัติงานที่เหมาะสม ก็จะช่วยให้สามารถควบคุม
ระบบให้ดาเนินการจัดทาไปตามแนวทางที่เหมาะสมได้
การสร้างระบบต้นแบบและการทาซ้า
ต้นแบบ (Prototype) คือ ตัวแทนอย่างเป็นรูปประธรรมของการออกแบบ
ซึ่งบางครั้งอาจจะแยกลาบากกับคาว่า sketch ซึ่งถ้าจะสามารถนาไปเสนอ
ผ่านทางกระดาษหรือซอฟต์แวร์
ในขั้นตอนของการกาหนดความต้องการของระบบถึงแม้ว่า
จะมีการใช้งานเครื่องมือเข้าช่วยในการวิเคราะห์เพื่อให้มี
ความละเอียดรอบคอบเพียงใดก็ตาม ยังไม่สามารถเป็น
หลักประกันได้ว่าสามารถวิเคราะห์ได้ครอบคลุมทุกความ
ต้องการ และเป็นไปตามที่ผู้ใช้งานระบบต้องการ ดังนั้นใน
การดาเนินการ จะมีการสร้างระบบต้นแบบสาหรับแต่ละส่วน
การทางาน โดยอาจไม่จาเป็นต้องมีรายละเอียดครบทุก
ฟังก์ชั่น หรือประมวลผลได้ครบถ้วนตามความเป็นจริง
ระบบต้นแบบนี้จะถูกนาให้ผู้ใช้งานระบบได้ทาการทดสอบ
เพื่อหาข้อผิดพลาดตลอดจนคาแนะนาในการใช้งานแล้วนา
กลับมาแก้ไข ปรับปรุง แล้วนาไปทดสอบต่อไป ซึ่งเป็นขั้นตอน
ที่ต้องมีการทาซ้าเพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความ
ต้องการและความพึงพอใจให้ดีที่สุด
วิธีการในการสร้างระบบต้นแบบมี 3 วิธีได้แก่
ต้นแบบชนิดทดสอบลบทิ้ง
01
Throw-away
02 ต้นแบบที่มีการเพิ่มเติมในทุก
ขั้นตอนของการสร้างระบบ
ArchitecturalDesign
ต้นแบบที่มีการปรับปรุงให้เป็น
ระบบที่สมบูรณ์
03
Evolutionary
01
ต้นแบบชนิดทดสอบลบทิ้ง
Throw-away
โดยมีการสร้างระบบต้นแบบ เพื่อทดสอบความต้องการ
จนกว่าจะได้ระบบที่สนองตอบต่อความต้องการ หลังจาก
นั้นก็จะมีการบันทึกความต้องการต่างๆ เพื่อนาไปใช้ใน
กระบวนการของการสร้างระบบจึงต่อไป ซึ่งระบบต้นแบบที่
ใช้ในการทดสอบก็จะถูกยกเลิกไปในที่สุด
Evolutionary
คือ การใช้ต้นแบบเดิมแล้วนามาสร้างต้นแบบเพิ่มเติมเข้าไป
หลังจากมีการสารวจความต้องการเพิ่มขึ้น เมื่อทดสอบแต่
ละต้นแบบแล้วก็จะนาความต้องการนั้นไปสร้างระบบจริง
ทันที โดยมีการเพิ่มเติมทั้งในระบบต้นแบบและเอารูปจริงไป
พร้อมๆ กัน
02
ต้นแบบที่มีการเพิ่มเติมในทุก
ขั้นตอนของการสร้างระบบ
Incremental
จะถูกนามาใช้เป็นพื้นฐานในการสร้างระบบจริงในทุก
ขั้นตอนของวงจรการพัฒนาระบบ คือหลังจากได้มีการ
ทดสอบว่าตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ทั้งในเรื่องความ
ถูกต้องของการประมวลผลและความพึงพอใจในการใช้
งานแล้ว ก็จะนาต้นแบบนั้นไปพัฒนาให้เป็นโปรแกรมระบบ
ข้อมูลผลที่สมบูรณ์เพื่อการใช้งานต่อไป
03
ต้นแบบที่มีการปรับปรุง
ให้เป็นระบบที่สมบูรณ์
โดยทั่วไปในการสร้างระบบต้นแบบจะมีเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆใน
การสร้างที่ทาให้ระบบต้นแบบมีความคล้ายคลึงกับระบบจริงมากที่สุด
โดยต้องทาภายในระยะเวลาอันรวดเร็วโดยต้นทุนทางด้านแรงงานและ
ค่าใช้จ่ายต้องน้อยมาก แต่ก็มีข้อโต้แย้งบางประการที่มีต่อแนวคิดการใช้
งานระบบต้นแบบดังนี้
ข้อโต้แย้งที่มีต่อแนวคิดการใช้งานระบบต้นแบบดังนี้
ปัญหาด้านระยะเวลา
01
Time
ปัญหาด้านการวางแผน
02
Planning
ปัญหาด้านการใช้งานที่
ไม่เป็นฟังก์ชันหลัก
03
Non-functionalFeatures
ปัญหาด้านสัญญาการดาเนินงาน
04
Contract
01
ปัญหาด้านระยะเวลา
Time
คือ ถ้าหากใช้เวลามากเกินไปในการสร้างต้นแบบ แต่ในที่สุดต้นแบบ
นั้นไม่ได้ถูกนามาใช้งาน ก็จะเกิดปัญหาการใช้เวลาให้สูญไปโดย
เปล่าประโยชน์ จึงมีการพัฒนาระบบต้นแบบอย่างรวดเร็วขึ้นมา
(Rapid Prototyping) เพื่อลดระยะเวลาในการสร้างแต่ในส่วนของ
การตรวจสอบความถูกต้องและความพึงพอใจของผู้ใช้ยังต้องทา
ด้วยความละเอียดรอบคอบวิธีการที่นามาใช้เพื่อลดระยะเวลาการ
พัฒนาระบบต้นแบบ คือ
01
การใช้โครงร่างเพื่ออธิบายระบบ
Storyboards
โดยการใช้โปรแกรมจาพวกการสร้างกราฟิกด้วยความรวดเร็ว
สวยงาม โดยที่เมื่อนาไปใช้จะเสมือนของจริง ในการใช้โครงร่างที่จะ
ไม่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรระบบ เช่น ความเร็วในการประมวลผล
โปรแกรมฐานข้อมูลเป็นต้น
Limited Functionality
คือ การเพิ่มเติมในส่วนของฟังก์ชันการทางานเข้าไปใน
ระบบต้นแบบให้สามารถโต้ตอบกับระบบได้และปฏิบัติงาน
จริงได้กับฟังก์ชันบางส่วน
02
การจาลองฟังก์ชันการทางาน
บางส่วน
High-level Programming support
เพื่อช่วยให้ผู้ออกแบบสร้างระบบต้นแบบที่มีความคล้ายคลึงกับ
ระบบจริง โดยสามารถทดสอบทั้งด้านการโต้ตอบเวลาในการ
ตอบสนองและมีระบบจัดการติดต่อกับผู้ใช้งานระบบ (UIM a user
interface management system) ที่ได้ออกแบบมาเพื่อสร้าง
ระบบต้นแบบที่รองรับการตอบสนองต่อการใช้งานได้ดี
03
การใช้ความช่วยเหลือ
จากโปรแกรมระดับสูง
ปัญหาด้านการวางแผน
Planning
การใช้งานระบบต้นแบบควบคู่ไปกับการพัฒนาระบบจริง อาจ
เป็นสิ่งใหม่สาหรับผู้ควบคุมโครงการ (Project Manager) ซึ่งถ้า
หากในแผนการปฏิบัติงานไม่ได้รวมขั้นตอนและระยะเวลาสาหรับ
ระบบต้นแบบแล้ว อาจก่อให้เกิดความยุ่งยากได้ดังนั้นก่อนการ
วางแผนเกี่ยวกับขั้นตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ควร
รวมขั้นตอนการสร้างระบบต้นแบบและเผื่อระยะเวลาไว้ใน
แผนการปฏิบัติงาน
02
ปัญหาด้านการใช้งานที่ไม่เป็น
Non-functional Features
เช่น การทางานด้านการรักษาความปลอดภัยของระบบดาเนินการ
เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติของความน่าเชื่อถือ การวิเคราะห์เวลาการ
ตอบสนองของระบบ (Response Time) ไม่สามารถนาเสนอผ่าน
ระบบต้นแบบได้
ฟังก์ชันหลัก
03
04
ปัญหาด้านสัญญาการดาเนินงาน
Contract
ปกติในสัญญาว่าจ้างจะต้องมีการกาหนดข้อตกลงเกี่ยวกับ
ลักษณะโปรแกรมไว้แล้ว การใช้งานระบบต้นแบบเพียงอย่างเดียว
เพื่อสารวจความต้องการและความพึงพอใจของผู้ใช้ อาจก่อให้เกิด
ปัญหาเรื่องขอบเขตความต้องการของผู้ใช้เกินว่าที่ได้มีการตกลง
ไว้ในสัญญา เพื่อเป็นการลดปัญหาดังกล่าวการใช้งานระบบ
ต้นแบบเพื่อสารวจความต้องการต้องดาเนินการอย่างรอบคอบ
โดยพิจารณาถึงขอบเขตของสัญญาในการจ้างทาระบบด้วย
ข้อควรระวัง
ในด้านการใช้งานระบบต้นแบบและการทางานซ้าก็คือ
การตัดสินใจผิดพลาดในขั้นตอนแรกๆ ของการออกแบบ อาจทา
ให้เกิดปัญหาต่อเนื่องไปยังขั้นตอนต่างๆ ในระบบจนบางครั้งยาก
จะแก้ไขได้ เช่น การออกแบบส่วนของการแสดงข้อมูลเวลาเป็น
ตัวเลข 2 กลุ่มคือ 00:00 ซึ่งถ้าเป็นไปตามระบบคอมพิวเตอร์แล้ว
ตัวเลขนี้สามารถแสดงค่าได้ถึง 99:99 แต่จากการทดสอบและเป็น
ที่รับรู้ในกลุ่มผู้ใช้ระบบนาฬิกาแบบ 12 ชม. ตัวเลขสูงสุดคือ
12:59 ซึ่งผู้ออกแบบและผู้ใช้งานต่างก็ยอมรับในข้อจากัดนี้แต่
ปรากฏว่าในการนาไปใช้งานจริงผู้ใช้บางกลุ่มใช้ระบบนาฬิกาแบบ
24 ชม. ทาให้ไม่สามารถกาหนดให้ระบบแสดงผลตามรูปแบบที่
ต้องการได้ เป็นต้น
ปัญหาที่พบในระหว่างการทดสอบระบบ เช่น จากตัวอย่างของ
ปัญหาการจัดการด้านเวลาของระบบที่ใช้นาฬิกาแบบ 24 ชม.
หากผู้ออกแบบคิดว่าผู้ใช้มีปัญหายุ่งยากในการตั้งเวลา
ผู้ออกแบบอาจแก้ปัญหาด้วยการเปลี่ยนข้อจากัดเวลาเป็น
24:59 แทนที่จะแค่เพิ่มเติมข้อมูล AM,PM เพื่อให้ทั้งสองระบบใช้
งานร่วมกันได้ดี เป็นต้น
ดังนั้น
ในการใช้งานระบบต้นแบบเพื่อพิจารณาปัญหาความ
ต้องการที่เกิดขึ้นจึงควรต้องมีการใช้หลักต่างๆ ของการ
ประเมินผลร่วมด้วย เพื่อจะได้ศึกษาความต้องการได้อย่าง
ครอบคลุมทุกด้านต่อไป

More Related Content

What's hot

การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
 
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
 
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 

Similar to ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Development Process)

คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์Sitdhibong Laokok
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system developmentPa'rig Prig
 
ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)Sirinat Sawengthong
 

Similar to ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Development Process) (20)

Sw evo 2_model
Sw evo 2_modelSw evo 2_model
Sw evo 2_model
 
..
....
..
 
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
คู่มือประกอบกระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Activity4_naka
Activity4_nakaActivity4_naka
Activity4_naka
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Sa33
Sa33Sa33
Sa33
 
2
22
2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
Mini Master in software testing
Mini Master in software testingMini Master in software testing
Mini Master in software testing
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทนำ วิศวกรรมซอฟต์แวร์
บทนำ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ บทนำ วิศวกรรมซอฟต์แวร์
บทนำ วิศวกรรมซอฟต์แวร์
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system development
 
ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google SheetsDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial MetaverseDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)
 

ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Development Process)