SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
บทที่ 4
การอางอิงและบรรณานุกรม
การอางอิง หมายถึง การบันทึกที่มาของอัญพจน ขอความที่ยกมากลาวอางหรืออางอิงโดยการสรุปความ
หรือถอดความ และขอเท็จจริงตาง ๆ การอางอิงในเนื้อหาจะชี้เฉพาะลงไปที่เนื้อหาตอนใดตอนหนึ่งของงานหรือแหลง
อางอิงนั้น ๆ โดยใหเลือกการอางอิงรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง คือ การอางอิงแบบเชิงอรรถ หรือการอางอิงแบบแทรกใน
เนื้อหา : ระบบนาม – ป

การอางอิงแบบเชิงอรรถ
การเขียนเชิงอรรถเปนการบันทึกที่มาของแหลงคนควาซึ่งมีรายละเอียดในการบันทึกคลายกับบรรณานุกรม
แตมีรูปแบบการเขียนและการใชเครื่องหมายวรรคตอนตางกับบรรณานุกรม ทั้งนี้เพราะจุดประสงคในการใชตางกัน
วัตถุประสงคของการอางอิงแบบเชิงอรรถ
การอางอิงแบบเชิงอรรถมีวัตถุประสงคดังนี้
1. บอกแหลงที่มาของขอมูลหรือขอความตาง ๆ ที่ยกมาเปนการยืนยันหลักฐาน เพื่อความนาเชื่อถือ
(validation)
2. บอกแหลงที่มาของขอมูลหรือขอความตาง ๆ ที่ยกมาเปนการแสดงวา ผูเขียนไดนาขอมูลหรือขอความ
ํ
จะเปนโดยการคัดหรือโดยการสรุปก็ตามจากงานเขียนของผูอื่นมาใช เปนการใหเกียรติแกผลงานของผูไดทํามากอน
(acknowledgement)
3. ขยายความคิดหรือขอมูลที่ทําไดไมเต็มที่ในสวนเนื้อหา เพราะอาจทําใหเกิดความสับสนหรือทําให
กระแสความคิดขาดความตอเนื่อง จึงเขียนขยายประเด็นปญหา หรืออธิบายความเพิ่มเติมไวตางหาก (content footnote)
4. แจงใหผูอานอานเรื่องราวในรายละเอียดที่เกี่ยวของกับเนื้อเรื่องตอนนั้นจากหนาอื่นของวิทยานิพนธเลม
เดียวกัน โดยไมตองกลาวซ้ําอีก (cross - reference) เพื่อใหผูอานติดตามความคิดหรือเนื้อเรื่องใหกระชับมากขึ้น
การใหหมายเลขเชิงอรรถ
การใหหมายเลขเชิงอรรถ ใหเรียงลําดับตั้งแต 1 ไปจนจบบท และเริ่มลําดับตั้งแต 1 อีก เมื่อขึ้นตนบท
ใหม ในกรณีที่วิทยานิพนธมีความยาวไมมากนัก อาจเรียงลําดับเชิงอรรถตั้งแต 1 ไปจนจบเลมก็ได ไมใหมีการแทรก
เลขลําดับของเชิงอรรถโดยการใชตัวเลขกับจุดทศนิยมหรือตัวเลขผสมกับตัวอักษร เชน 1.1 หรือ 1.ก ใหลงหมายเลข
เชิงอรรถอยูเหนือบรรทัดทายขอความที่ตองมีเชิงอรรถ โดยไมตองเวนชองวางตัวอักษร และไมตองใสเครื่องหมายอื่น
ใดอีก
19
20
ตําแหนงของเชิงอรรถ
ตําแหนงของเชิงอรรถวางได 2 แบบคือ
แบบที่ 1 วางเชิงอรรถไวสวนลางสุดของแตละหนาที่มีการอางอิง โดยคั่นเนื้อเรื่องกับเชิงอรรถดวยเสนขีด
จากขอบกระดาษดานซายมือยาว 2 นิ้ว (ดูตัวอยางและการพิมพหนา 85)
แบบที่ 2 รวมเชิงอรรถของแตละบทไวตอนทายของบทนั้น ๆ โดยขึ้นหนาใหม และเขียนคําวา “เชิงอรรถ
ทายบทที่...” ไวกลางหนา (ในตําแหนงของชื่อบท) โดยไมตองขีดเสนใต แลวเรียงลําดับเชิงอรรถตั้งแตหมายเลข 1
ไปจนจบบท (ดูตัวอยางและการพิมพหนา 89) การวางเชิงอรรถรูปแบบที่ 2 นี้อาจไมเปนที่ยอมรับโดยทั่วไป นักศึกษา
ควรปรึกษาผูควบคุมวิทยานิพนธและภาควิชาใหแนใจกอนตัดสินใจวางเชิงอรรถไวทายบทตามแบบที่ 2 นี้
ใหเลือกวางตําแหนงของเชิงอรรถแบบใดแบบหนึ่งเพียงแบบเดียวเทานั้น
สวนประกอบของเชิงอรรถ
สวนประกอบของเชิงอรรถอางอิงจะแตกตางกันไปตามประเภทของหลักฐานที่นํามาอางอิง ไดแก หนังสือ
วารสาร หนังสือพิมพ วิทยานิพนธ ตนฉบับตัวเขียน เอกสารที่ไมตีพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส การสัมภาษณ เชนเดียวกับ
สวนประกอบของบรรณานุกรม แตลักษณะที่แตกตางกัน ไดแก เครื่องหมายวรรคตอน รูปแบบในการพิมพ และการ
อางหมายเลขหนาจากเอกสารเฉพาะหนาที่อางอิงมา (รวมถึงหมายเลขของเลม (volume) ถาเปนเอกสารเลมใดเลมหนึ่ง
จากหนังสือชุดนั้น ๆ)
เนื่องจากเอกสารเรื่องหนึ่ง ๆ อาจมีการอางอิงหลายครั้ง การเขียนเชิงอรรถจึงเปนไปได 2 แบบ ไดแก
การเขียนเชิงอรรถแบบสมบูรณ สําหรับเอกสารที่อางถึงในวิทยานิพนธเปนครั้งแรกซึ่งจําเปนตองใสขอมูลที่เกี่ยวของ
กับการพิมพเอกสารนั้นอยางครบถวน และการเขียนเชิงอรรถแบบยอสําหรับเอกสารที่ไดอางอิงมากอนแลว (second or
later reference) เมื่อมีการอางถึงเอกสารเรื่องนั้นซ้ําอีก
เชิงอรรถแบบสมบูรณ
เชิงอรรถแบบสมบูรณสําหรับหนังสือ มีรูปแบบและการใชเครื่องหมายดังนี้
1
ชื่อผูแตง, ชื่อหนังสือ, ครั้งที่พิมพ (เมืองที่พิมพ : สํานักพิมพ, ปที่พิมพ), เลขหนาที่อาง.
ดังตัวอยางตอไปนี้
1
เชิดชาย เหลาหลา, สังคมวิทยาชนบท, พิมพครั้งที่ 2* (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแพรพิทยา, 2519),
18.
2

*

ชมพูนุท พงษประยูร, ศิลปกรรมสมัยอยุธยา (พระนคร : โรงพิมพกรมตํารวจ, 2514), 1-10.

เอกสารภาษาไทยหลังพิมพครั้งที่ 2 ไมตองใสเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) แตเอกสารภาษาตางประเทศ หลัง
2nd ed. ตองใสเครื่องหมายมหัพภาค เพราะ ed. เปนตัวยอของ edition
21
เชิงอรรถแบบสมบูรณสําหรับบทความในวารสารภาษาไทย มีรูปแบบและการใชเครื่องหมายดังนี้
1

ชื่อผูแตง, “ชื่อบทความ,” ชื่อวารสาร ปที่, ฉบับที่ (เดือน ป) : เลขหนาที่อาง.

ดังตัวอยางตอไปนี้
1

ศรีศักร วัลลิโภดม, “ขาวกับการพัฒนาของรัฐในประเทศไทย,” ศิลปวัฒนธรรม 6, 7 (พฤษภาคม 2528)

: 114 – 118.
เชิงอรรถแบบสมบูรณสําหรับบทความในวารสารภาษาตางประเทศ มีรูปแบบและการใชเครื่องหมายดังนี้
1

ชื่อผูแตง, “ชื่อบทความ,” ชื่อวารสาร ปที่, ฉบับที่ (เดือน ป) : เลขหนาที่อาง.

ดังตัวอยางตอไปนี้
1

Joe F. Donaldson and Steve Graham, “A Model of College Outcomes for Adults,” Adult Education
Quartery 50,1 (November 1999) : 24 – 40.
ในกรณีที่วารสารไมระบุปที่ (volume number) แตระบุเฉพาะฉบับที่ (issue number) จะมีรูปแบบและ
การใชเครื่องหมาย ดังนี้
1

ชื่อผูแตง, “ชื่อบทความ,” ชื่อวารสาร, ฉบับที่ (ป) : เลขหนาที่อาง.

ดังตัวอยางตอไปนี้
1

Konrad Lorenz, “The Wisdom of Darwin,” Midway, no. 22 (1965) : 48.

เนื่องจากเอกสารที่นํามาอางอิงอาจมีหลายประเภท และแมแตหนังสือก็มีหลากหลายชนิด เชน มีผูแตง
มากกวา 1 คน หรือเปนหนังสือชุด หรือหนังสือหลายเลมจบ เปนตน ทั้งบทความก็มีปรากฏในเอกสารตาง ๆ เชน
ในวารสาร นิตยสาร หนังสือรวมบทความ สารานุกรม หรือหนังสือพิมพรายวัน เปนตน ดังนั้นจะนําตัวอยางการเขียน
เชิงอรรถของเอกสารชนิดตาง ๆ รวมไวตางหาก ตอไปนี้จะอธิบายหลักเกณฑทั่วไปของการเขียนสวนประกอบของ
เชิงอรรถของหนังสือพอใหเขาใจ สวนตัวอยางโดยละเอียดใหดูจากหนา 28
การเขียนชื่อผูแตง
ลําดับชื่อผูแตงตามปกตินิยมคือ ชื่อตามดวยชื่อสกุล ไมตองใสคํานําหนาชื่อ เชน นาย นาง นางสาว
หรือตําแหนง เชน ดร. ศาสตราจารย นายแพทย แตใหใสคําเต็มของบรรดาศักดิ์ ยศ ฐานันดรศักดิ์ และสมณศักดิ์ ไว
เชน พระยา หมอมราชวงศ สมเด็จพระพุฒาจารย ฯลฯ ไวเปนคํานําหนาชื่อผูแตง สวนชื่อสถาบัน องคกรหรือสวน
ราชการในฐานะผูแตงใหขึ้นตนดวยชื่อของหนวยงานใหญตนสังกัดอยางนอยระดับกรมกอน
แลวตามดวยชื่อของ
หนวยงานยอยลงมาตามลําดับ ตามที่ปรากฏในหนาปกในของเอกสารนั้นๆ
22
การเขียนชื่อผูแตงในเชิงอรรถและในบรรณานุกรม มีขอสังเกตดังนี้
1. ในเชิงอรรถ การเขียนชื่อผูแตงสําหรับหนังสือภาษาอังกฤษและภาษาตะวันตกอื่น ๆ จะเขียนชื่อตามดวย
ชื่อสกุลตามปกติ แตในบรรณานุกรมจะเขียนขึ้นตนดวยชื่อสกุลกอน คั่นดวยเครื่องหมายจุลภาค ( , ) แลวตามดวยชื่อ
และชื่อกลาง (ถามี) สวนผูแตงชาวตางประเทศอื่น ๆ คงเขียนตามความนิยมของชาตินั้น ๆ
2. ในเชิงอรรถ การเขียนชื่อผูแตงที่มีบรรดาศักดิ์ ฐานันดรศักดิ์ และสมณศักดิ์ คงเขียนบรรดาศักดิ์
ฐานันดรศักดิ์ และสมณศักดิ์ไวเปนคําประกอบหนาชื่อผูแตงตามปกติ แตในบรรณานุกรมจะเขียนคําประกอบเหลานี้ไว
ทายรายการชื่อผูแตง โดยใชเครื่องหมายจุลภาค ( , ) คั่นเพื่อใหหาเอกสารอางอิงซึ่งลําดับไวตามอักษรของชื่อผูแตงได
งายขึ้น
3. ในเชิงอรรถและบรรณานุกรม การเขียนชื่อผูแตงที่เปนสถาบัน ไดแก กระทรวง ทบวง กรม สถาบัน
การศึกษา รัฐวิสาหกิจ สมาคม สโมสร โรงพยาบาล ธนาคาร ฯลฯ ใหเขียนชื่อสถาบันนั้น ๆ ตามปกติ
4. การเรียงลําดับรายการในเชิงอรรถจะเรียงลําดับตามการอางอิงที่ปรากฏ สวนการเรียงลําดับรายการใน
บรรณานุกรม กรณีเอกสารอางอิงภาษาไทยจะเรียงลําดับเอกสารตามลําดับอักษรของชื่อผูแตง สําหรับเอกสารอางอิง
ภาษาอังกฤษหรือภาษาตะวันตกอื่น ๆ จะเรียงลําดับเอกสารตามลําดับอักษรของชื่อสกุลของผูแตง ทั้งนี้เพื่อความสะดวก
ในการหาเอกสารอางอิงแตละเรื่อง
การเขียนชื่อเอกสาร
การเขียนชื่อเอกสารในเชิงอรรถใหเขียนดังนี้
หนังสือ เขียนชื่อหนังสือ (Title) ตามที่ปรากฏในหนาปกใน (Title page) และขีดเสนใตชื่อหนังสือ
หนังสือที่มีชื่อรอง (Subtitle) ซึ่งเปนคําอธิบายชื่อหนังสือใหชัดเจนขึ้น ใหเขียนตอจากชื่อหนังสือ คั่น
ดวยเครื่องหมายวรรคตอนตามที่ปรากฏในหนาปกใน ถาชื่อรองในตนฉบับไมมีเครื่องหมายวรรคตอนกํากับ ใหใช
เครื่องหมายมหัพภาพคู ( : ) สําหรับหนังสือภาษาตางประเทศ สวนในภาษาไทยใชการเวนวรรคระหวางชื่อหนังสือ
และชื่อรอง
การเขียนชื่อหนังสือหรือบทความที่เปนภาษาตางประเทศ
ใหใชตัวอักษรตัวใหญขึ้นตนคําแรกของชื่อ
หนังสือรวมทั้งชื่อรองดวย และใชขึ้นตนคําทุกคํา ยกเวนคํานําหนานาม บุพบทและสันธาน ถาบุพบทและสันธาน
ประกอบดวยตัวอักษรตั้งแต 6 ตัวขึ้นไป ใหใชอักษรตัวใหญขึ้นตน
การใชเครื่องหมายวรรคตอนหลังชื่อหนังสือ ถาหลังชื่อหนังสือตามดวยครั้งที่พิมพ (edition) ใหใช
เครื่องหมายจุลภาค ( , ) ระหวางชื่อหนังสือและครั้งที่พิมพ แตถาหลังชื่อหนังสือตามดวยเมืองที่พิมพ สํานักพิมพ และ
ปที่พิมพ ซึ่งเขียนอยูในเครื่องหมายวงเล็บอยูแลว ก็ไมตองใสเครื่องหมายใด ๆ อีก
บทความในหนังสือ เขียนชื่อของบทความที่อางในลําดับตอจากผูแตง โดยใสชื่อบทความไวในเครื่องหมาย
อัญประกาศ ตามดวยเครื่องหมายจุลภาค โดยใสเครื่องหมายจุลภาคกอนอัญประกาศปด (“....,”) ตามดวยคําวา “ใน”
ถาเปนหนังสือภาษาไทย และ “in” ถาเปนหนังสือภาษาอังกฤษ แลวจึงเขียนชื่อหนังสือและขีดเสนใต
23
บทความจากวารสาร เขียนชื่อบทความจากวารสารในลําดับตอจากผูแตง ใหใสชื่อบทความนั้นไวใน
เครื่องหมายอัญประกาศ ตามดวยเครื่องหมายจุลภาค โดยใสเครื่องหมายจุลภาคกอนอัญประกาศปด (“.....,”) เขียนชื่อ
วารสารและขีดเสนใตชื่อวารสาร ไมตองใสเครื่องหมายวรรคตอนทายชื่อของวารสาร ถารายการตอมาเปนปที่ของ
วารสาร (volume number) แตถาวารสารนั้นไมระบุปที่ของวารสาร ระบุเพียงฉบับที่ (issue number) จึงจะใสเครื่องหมาย
จุลภาคตอจากชื่อของวารสารกอนระบุฉบับที่
ครั้งที่พิมพ (Edition) การอางถึงหนังสือที่พิมพครั้งแรกไมตองระบุครั้งที่พิมพ แตถาอางถึงหนังสือที่มี

การพิมพแลวหลายครั้ง ตองระบุครั้งที่พิมพดวย เชน
พิมพครั้งที่ 2 (2nd ed.)
พิมพแกไขครั้งที่ 3 (3rd ed., rev.)
พิมพครั้งที่ 4 แกไขและเพิ่มเติม (4th ed., rev. and enl.)
new ed.
new rev. ed.
การเขียนขอมูลเกี่ยวกับการพิมพ
ใสขอมูลเกี่ยวกับการพิมพทั้งหมด ไดแก เมืองที่พิมพ สํานักพิมพ และปที่พิมพ ในเครื่องหมายวงเล็บ
ตามดวยเครื่องหมายจุลภาค ( , )
สิ่งพิมพบางชนิด เวนการระบุรายละเอียดในการพิมพบางประการ เชน
ก. วารสารและหนังสือพิมพโดยทั่วไปจะไมระบุ เมืองที่พิมพ และสํานักพิมพ แตจะระบุรายละเอียดของ
วัน เดือน ปที่พิมพ
ข. พจนานุกรม สารานุกรม และแผนที่ จะระบุครั้งที่พิมพและปที่พิมพ เปนสําคัญ
เมืองที่พิมพ (Place of publication) ถาปรากฏชื่อเมืองหลายเมือง ใหใสชื่อเมืองแรกชื่อเดียวเทานั้น ตาม
ดวยเครื่องหมายมหัพภาคคู ( : )
ถาไมปรากฏเมืองที่พิมพใหระบุดวยอักษรยอ “ม.ป.ท.” (ไมปรากฏสถานที่พิมพ) ในภาษาอังกฤษใช
“n.p.” (no place)
สํานักพิมพ (Publisher) ใหลงชื่อเต็มของสํานักพิมพตามที่ปรากฏตามดวยเครื่องหมายจุลภาค ( , ) สํานัก
พิมพมีหนาที่รับผิดชอบจัดหาเรื่องที่จะพิมพและเปนผูจัดจําหนาย
สวนโรงพิมพนั้นเปนเพียงผูรับพิมพหนังสือจาก
สํานักพิมพ จึงตองลงชื่อสํานักพิมพไมใชโรงพิมพ หากไมมชื่อสํานักพิมพ มีแตชื่อโรงพิมพจึงใสชื่อโรงพิมพแทน
ี
ถาในหนังสือไมปรากฏสํานักพิมพใหระบุดวยอักษร “ม.ป.ท.” (ไมปรากฏสํานักพิมพ) ในภาษาอังกฤษใช
“ n.p.” (no publisher)
ถาในหนังสือไมปรากฏทั้งเมืองที่พิมพและสํานักพิมพใหระบุดวยอักษรยอ “ม.ป.ท.” สําหรับหนังสือภาษา
ไทย และ “n.p.” สําหรับหนังสือภาษาอังกฤษ แทนเพียงครั้งเดียว
24
ปที่พิมพ (Date of publication) ปที่พิมพของหนังสือจะปรากฏเปนรายการสุดทายของขอมูลเกี่ยวกับการ
พิมพที่อยูในเครื่องหมายวงเล็บ ใหลงปที่พิมพของหนังสือตามที่ปรากฏในหนาปกใน ถาปกในของหนังสือไมระบุปที่
พิมพ ใหใชปที่พิมพในหนาหลังของปกใน หรือถาไมมีใหใชปที่พิมพซึ่งอยูกับชื่อของโรงพิมพ หรือใชปลิขสิทธิ์แทน
ถาไมปรากฏปที่พิมพใหระบุดวยอักษร “ม.ป.ป.” (ไมปรากฏปที่พิมพ) สําหรับภาษาอังกฤษใช “n.d.” (no
date)
ในกรณีที่หาปที่พิมพไดจากบัตรรายการของหองสมุดใหใชปที่พิมพที่คนไดไวในเครื่องหมาย [ ]
ถาไมปรากฏทั้งเมืองที่พิมพ สถานที่พิมพ และปที่พิมพ หนังสือภาษาไทยใช ม.ป.ท., ม.ป.ป. สําหรับ
หนังสือภาษาอังกฤษใช “n.p., n.d.”
การเขียนหมายเลขหนา
ใสหมายเลขหนาของหนังสือที่ปรากฏขอความที่ยกมาอางหรือที่อางถึงโดยไมตองใชคําวา “หนา” นําหนา
หมายเลขของหนานั้น ปดทายดวยเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) ในภาษาอังกฤษไมตองใชตัวยอ “ p.” (page) หรือ “pp.”
(pages) ในกรณีไมปรากฏหมายเลขหนา ใชคําวา “ไมปรากฏเลขหนา” สําหรับเอกสารภาษาไทย และใชคําวา
“n. pag.” (no page) สําหรับเอกสารภาษาตางประเทศ
การเขียนหมายเลขหนาของวารสาร หนังสือพิมพ สารานุกรมและราชกิจจานุเบกษา ใสเฉพาะหมายเลข
ของหนาที่อางไมตองใชคําวา “หนา” หรือ “p.” และ “pp.” นําหนาหมายเลขหนา*
เชิงอรรถแบบยอ
การเขียนเชิงอรรถแบบยอ ใชในกรณีที่ตองการอางอิงซ้ําถึงเอกสารที่ไดเคยอางมาแลว เนื่องจากการเขียน
เชิงอรรถของเอกสารที่อางถึงในครั้งแรกไดลงรายการเกี่ยวกับการพิมพของสิ่งพิมพนั้นอยางครบถวนสมบูรณแลว เมื่อ
มีการอางเอกสารนั้นซ้ําอีกจึงสามารถตัดรายละเอียดเกี่ยวกับครั้งที่พิมพ เมืองที่พิมพ สํานักพิมพ และปที่พิมพออกไป
ได เชิงอรรถแบบยอจะเขียนแตกตางกันไปดังนี้
1. การอางเอกสารนั้นซ้ําโดยไมมีเอกสารอื่นมาคั่น ใหใช “เรื่องเดียวกัน” สําหรับเอกสารภาษาไทย
เอกสารภาษาตางประเทศใช “Ibid.” (ยอมาจากภาษาละติน “Ibidem” ซึ่งแปลเปนภาษาอังกฤษวา “in the same
place”) โดยไมตองขีดเสนใตที่ “เรื่องเดียวกัน” และที่ “Ibid.” เนื่องจาก “Ibid.” เปนการยอคําจึงตองเขียน
เครื่องหมายมหัพภาค ( . ) ไวทายคําดวยเสมอ
2. การอางเอกสารนั้นซ้ําโดยไมมีเอกสารอื่นมาคั่น แตขอความที่นํามาอางปรากฏอยูในตนฉบับตางเลข
หนากัน ใหระบุหมายเลขหนาที่อางดวย เชน เรื่องเดียวกัน, 20. หรือ Ibid., 20. หรือ Ibid., 20-21.

*

ดูเพิ่มเติมหนา 20-21
25
ตัวอยาง
1
หมอมเจา สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, พิมพครั้งที่ 2 (พระนคร :โรงพิมพกรุงสยาม, 2518),
27.
2

แสง มนวิทูร, ศาสนาพราหมณ (พระนคร : โรงพิมพมหาดไทย, 2510), 100.
เรื่องเดียวกัน.
4
เรื่องเดียวกัน, 120.
5
Martin Luther King, Jr., Why We Can’t Wait (New York : New American Library, 1954), 78.
6
Ibid.
7
Ibid., 80-82.
3

3. การอางเอกสารนั้นซ้ําในบทเดียวกันและมีเอกสารอื่นมาคั่น ใหเขียนเชิงอรรถแบบยอ โดยระบุเพียง
รายการที่เกี่ยวกับผูแตง ชื่อเรื่องและหนาที่อางถึงเทานั้น
ในกรณีที่อางอิงจากหนังสือเลมใดเลมหนึ่งของชุด ใหระบุเลมที่ (volume) ประกอบกับหมายเลขหนาที่
อางดวย
ตัวอยาง
1
แสง มนวิทูร, ศาสนาพราหมณ (พระนคร : โรงพิมพมหาดไทย, 2510), 10.
2
พิทูร มลิวัลย, วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพกรมการศาสนา, 2522), 30.
3
แสง มนวิทูร, ศาสนาพราหมณ, 13.
4
พระบริหารเทพธานี, พงศาวดารชาติไทย ความเปนมาของชาติแตยุคดึกดําบรรพ (พระนคร : โรงพิมพ
ส.ธรรมภักดี, 2519), 3 : 63 – 64.
หนังสือภาษาอังกฤษและภาษาตะวันตกอื่น ๆ
การอางซ้ําถึงหนังสือภาษาอังกฤษและภาษาตะวันตกอื่น ๆ ในรายการที่เกี่ยวกับผูแตงคงพิมพเฉพาะชื่อ
สกุลของผูแตงเทานั้น ไมตองระบุชื่อดวย เวนแตผูแตงที่มีชื่อสกุลซ้ํากัน ตองระบุชื่อ โดยเขียนคําเต็มหรืออักษรยอ
ของชื่อไวดวยเสมอ
ตัวอยาง
1
Martin Luther King, Jr., Why We Can’t Wait (New York : New American Library, 1954), 78.
2

Arthur Judson Brown, Memoirs (New York : Wonder Books, 1957), 18 – 19.

3

King, Why We Can’t Wait, 108 – 109.

4

Beverly Brown, The Wounded Heart (Danville, Ill. : Interstate Printers and Publishers, 1958), 60.
26
5

Arthur John Brown, Conspiracy : Confusion and Crisis (London : Lockwood, Crosby & Son, 1959),

31.
6

Arthur Judson Brown, Memoirs, 25.
Christopher Alexander, “A City Is Not A Tree,” Architectural Forum 122 (April 1965) : 60.
8
B. Brown, The Wounded Heart, 61 – 62.
9
Alexander, “A City Is Not A Tree,” 62.
10
Arthur John Brown, Conspiracy, 35 – 37.
7

ผูแตงคนเดียวกันมากกวาหนึ่งเรื่อง
1
นิธิ เอียวศรีวงศ, การเมืองไทยสมัยพระนารายณ (กรุงเทพมหานคร : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร, 2523), 30.
2
Martin Luther King, Jr., Why We Can’t Wait (New York : New American Library, 1964), 78.
3
Ibid.
4

นิธิ เอียวศรีวงศ, ประวัติศาสตรนิพนธตะวันตก (กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตร
และมนุษยศาสตร, 2525), 59.
5
Arthur Judson Brown, Memoirs (New York : Wonder Books, 1957), 18.
6
นิธิ เอียวศรีวงศ, การเมืองไทยสมัยพระนารายณ, 40 – 41.
7
เรื่องเดียวกัน, 45.
8
นิธิ เอียวศรีวงศ, ประวัติศาสตรนิพนธตะวันตก, 60.
งานที่ไมปรากฏชื่อผูแตง
การอางถึงงานที่ไมปรากฏชื่อผูแตง โดยปกติจะระบุชื่อเรื่องแทนในรายการผูแตง ดังนั้นเมื่อมีการอางซ้ํา
ถึงงานที่ไมปรากฏชื่อผูแตง จึงใหระบุชื่อเรื่องทุกครั้งตามดวยหนาที่อาง ตัดสวนที่เกี่ยวกับครั้งที่พิมพ เมืองที่พิมพ
สํานักพิมพ และปที่พิมพออกไป
ตัวอยาง
1
ถนอม อานามวัฒน และคนอื่น ๆ , ประวัติศาสตรไทยยุคกอนประวัติศาสตรถึงสิ้นอยุธยา (พระนคร :
กรุงสยามการพิมพ, 2518), 15.
2
ลิลิตพระลอ (พระนคร : โรงพิมพไทย, 2458), 21 – 22.
3
“พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2518,” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 92, ตอนที่ 81
(6 กุมภาพันธ 2518) : 50.
4
“การกอสราง,” วารสารบัณฑิตวิทยาลัย 3, 1 (มกราคม – มิถุนายน 2514) : 50 – 51.
5
ลิลิตพระลอ, 23.
27
การอางอิงจากหลักฐานทุติยภูมิ
การอางอิงขอเขียนที่ผูเขียนวิทยานิพนธไมไดนํามาจากตนฉบับเดิมโดยตรง แตไดยกมาจากขอเขียนของ
ผูอื่นอีกทอดหนึ่ง ตองระบุที่มาใหชัดเจน การเขียนเชิงอรรถสําหรับกรณีเชนนี้เขียนได 2 แบบดังนี้
1. ถาขึ้นตนดวยชื่อผูแตงและชื่อเรื่องของเอกสารปฐมภูมิ ใหใช “อางถึงใน” (quoted in) หรือ “กลาวถึง
ใน” (cited by) นําชื่อผูแตงของเอกสารทุติยภูมิ
ตัวอยาง
1
พระยาอนุมานราชธน, แหลมอินโดจีนสมัยโบราณ (พระนคร : สํานักพิมพคลังวิทยา, 2497), 15, อางถึงใน
สายจิตต เหมินทร, “การเสียรัฐไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู และปะลิส ของไทยใหแกอังกฤษในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต แผนกวิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย, 2507), 101.
2
เจาพระยาทิพากรวงศ, พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทรรัชกาลที่ 4 (พระนคร : องคการคาของคุรุสภา,
2504), 1 : 205, กลาวถึงใน สุรัตน วรางครัตน, “ไทย-พมา : ปญหาการเผชิญหนาการคุกคามของตะวันตกใน
คริสตศตวรรษที่ 19” (วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2521), 198.
3
Jesuit Relations and Allied Documents, vol.59, n.41*, quoted in Archer Butler Hulbert, Portage
Paths (Cleveland : Arthur H. Clark, 1903), 181.
4
H. Taylor, “Freedom and Authority on the Campus,” in The American College, ed. R.N. Sanford
(New York : Wiley, 1962), 802, cited by George G. Stern, “Measuring Noncognitive Variables in Research on
Teaching,” in Handbook of Research on Teaching, ed. N. L. Gage (Chicago : Rand McNally, 1963), 433 – 434.
2. ถาขึ้นตนดวยชื่อผูแตงและชื่อเรื่องของเอกสารทุติยภูมิ ใหใช “อางจาก” (quoting) หรือ “กลาวจาก”
(citing) นําชื่อผูแตงของเอกสารปฐมภูมิ
ตัวอยาง
1
สายจิตต เหมินทร, “การเสียรัฐไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู และปะลิส ของไทยใหแกอังกฤษในรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต แผนกวิชาประวัติศาสตร คณะ
อักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2507), 101, อางจาก พระยาอนุมานราชธน, แหลมอินโดจีนสมัยโบราณ
(พระนคร : สํานักพิมพคลังวิทยา, 2497), 15.

*n เปนตัวยอของ note, footnote พหูพจนใช nn.
28
2

สุรัตน วรางครัตน, “ไทย – พมา : ปญหาการเผชิญหนาการคุกคามของตะวันตกในคริสตศตวรรษที่ 19”
(วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2521), 198, กลาวจาก เจาพระยาทิพากรวงศ, พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทรรัชกาลที่ 4
(พระนคร : องคการคาของคุรุสภา, 2504), 1 : 205.
3
Archer Butler Hulbert, Portage Paths (Cleveland : Arthur H. Clark, 1903), 181, quoting Jesuit
Relations and Allied Documents, vol. 59, n. 41.
4
George G. Stern, “Measuring Noncognitive Variables in Research on Teaching,” in Handbook of
Research on Teaching, ed. N. L. Gage (Chicago : Rand McNally, 1963), 433-434, citing H. Taylor, “Freedom
and Authority on the Campus,” in The American College, ed. R.N. Sanford (New York : Wiley, 1962), 802.
โดยทั่วไปการอางอิงหลักฐานปฐมภูมิจากหลักฐานทุติยภูมิควรจะใชตามตัวอยางในแบบที่ 1 ซึ่งเนน
ขอความที่ถูกอางอิงถึง หรือถือความสําคัญของหลักฐานเลมเดิม มากกวาตัวอยางในแบบที่ 2 ซึ่งเนนความสําคัญของ
หลักฐานทุติยภูมิมาก
ผูเขียนวิทยานิพนธควรพิจารณาเลือกแบบแผนการเขียนที่จะมีความเหมาะสมกับเนื้อหาใน
วิทยานิพนธของตนใหมากที่สุด
อนึ่ง การใชวิธีอางเอกสารปฐมภูมิจากหลักฐานทุติยภูมิควรใชเมื่อไมสามารถติดตามอานเอกสารปฐมภูมิ
นั้น ๆ ได เพราะเหตุผลที่เปนหนังสือหายาก (rare book) หรือเปนเอกสารที่ไมไดพิมพขึ้นเพื่อการจําหนาย จึงไมอาจ
หาตนฉบับเดิมมาอานไดเทานั้น
ตัวอยางการเขียนเชิงอรรถของเอกสารชนิดตาง ๆ
หนังสือ
ผูแตงคนเดียว
1
พิทูร มลิวัลย, วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา (กรุงเทพฯ : โรงพิมพกรมการศาสนา, 2522), 30.
2
Joy Hendry, Marriage in Changing Japan : Community and Society (London : Croom Helm,
1980), 105.
3
John H. Postley, Report on a Study of Behavioral Factors in Information Systems (Los Angeles
: Hughes Dynamics, [1960] ), 15.*

*

รายงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการ ที่ตีพิมพแลว (reports and proceedings published) เขียน
เชิงอรรถและบรรณานุกรมเชนเดียวกับหนังสือ
29
4

Joseph Conrad, Heart of Darkness (New York : Doubleday, Page & Co., 1903), chap. 3, p. 45.*
5
John Cheever, Bullett Park (New York : Alfred A. Knopf, 1969), 130.
ผูแตงสองคน
1
สมิทธิ ศิริภัทร และ อุไรศรี วรศะริน, วัดสม (กรุงเทพฯ : โรงพิมพอัสสัมชัญพาณิชย, 2520), 59.
2
William G. Campbell and Stephen V. Ballou, Form and Style : Theses Reports, Term Papers,
4th ed. (Boston : Houghton Mifflin Co., 1974), 57 – 59.
ผูแตงสามคน
1
นฤมิตร ลิ่วชนมงคล, สุภาพ แสงบุญไท และ ถาวร เก็งวินิจ, คูมือตึกแถว (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ
นําอักษรการพิมพ, 2527), 70.
2
George Z.F. Beredy, William W. Brickman, and Gerald H. Head, The Changing Soviet School
(Boston : Houghton Mifflin Co., 1960), 45.
ผูแตงมากกวาสามคน**
1
ถนอม อานามวัฒน และคนอื่น ๆ, ประวัติศาสตรไทยยุคกอนประวัติศาสตรถึงสิ้นอยุธยา (พระนคร :
กรุงสยามการพิมพ, 2518), 101 – 104.
2
Marion C. Sheridon and others, The Motion Picture and the Teaching of English (New York :
Appleton - Century – Crofts, n.d.), 39.
ไมปรากฏชื่อผูแตง
1
ลิลิตพระลอ (พระนคร : โรงพิมพไทย, 2458), 121 – 125.
2
The International Who’s Who 1981 – 1982 (London : Europa, 1983), 25.
ไมปรากฏชื่อผูแตง หาชื่อได
1
[ตรี อมาตยกุล], นําชมหอสมุดดํารงราชานุภาพ (พระนคร : กรมศิลปากร, 2494), 4 – 5.
2
[C.S. Northup], Register of Bibliographies of the English Language and Literature, Cornell
Studies in English, no. 9 (New Haven : Yale University Press, 1925), 81.

*

นวนิยายอาจพิมพขึ้นหลายครั้งโดยหลายสํานักพิมพ จึงควรอางอิงโดยระบุ “บท” หรือ “ตอน” หรือ
“เลมที่” ดวย สวนนวนิยายเรื่องใหม ๆ ที่เริ่มพิมพออกวางตลาดระบุเฉพาะ “เลขหนา” ตามปกติดูตัวอยางเชิงอรรถที่
5 หนา 29
**
ผูแตงมากกวาสามคน
สําหรับการเขียนเชิงอรรถภาษาไทยใหใสเฉพาะชื่อผูแตงคนแรกตามดวยคําวา
“และคนอื่นๆ” หรือ “และคณะ” ในเชิงอรรถภาษาอังกฤษตามดวยคําวา “and others” หรือ “et al.” แบบใดแบบ
หนึ่งใหเปนแบบแผนเดียวกันตลอดเลม
30
นามแฝง หานามจริงได
1
กรมหมื่นพิทยาลงกรณ [น.ม.ส.], นิทานของ น.ม.ส., พิมพครั้งที่ 3 (พระนคร : คลังวิทยา, 2494), 12 - 28.
2
Elizabeth Cartright Penrose [Mrs. Markham], A History of France (London : John Murray, 1872), 9.
3
King Vajiravudh of Thailand [Sri Ayudhya], The Earl of Claverhouse : A Farcical Comedy in 3 Acts
(n.p., n.d.), 1.
นามแฝง หานามจริงไมได
1
นุชนาถ [นามแฝง], วิธีปลูกไมประดับบาน (พระนคร : แมบานการเรือน, 2505), 40.
2
Alison [pseud.], So Near and Yet So Far (New York : James Munro & Co., 1884), 50 – 59.
งานบรรณาธิการ สําหรับหนังสือที่ปรากฏชื่อผูแตง
1
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก, ชุมนุมพระราชนิพนธและบทประพันธ, รวบรวมและจัดพิมพ
โดย ทวน วิริยาภรณ (ธนบุรี : ป. พิศนาคะการพิมพ, 2507), 159 – 176.
2
William C. Hayes, Most Ancient Egypt, ed. Keith C. Seale (Chicago : University of Chicago Press,
1965), 5.
ผูรวบรวม ผูจัดพิมพ บรรณาธิการ ในตําแหนงของชื่อผูแตง
1
สุลักษณ ศิวรักษ, ผูรวบรวม, อยูอยางไทยในสมัยศตวรรษที่สามแหงกรุงรัตนโกสินทร รวมปาฐกถาที่
แสดงใน ร.ศ. 199 (กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย, 2525), 123.
2
ทวน วิริยาภรณ, ผูจัดพิมพ, ไกลกังวล (ธนบุรี : ป. พิศนาคะการพิมพ, 2505), 7.
3
คุณวรุณยุพา สนิทวงศ ณ อยุธยา และ วุฒิชัย มูลศิลป, บรรณาธิการ, อนุสรณศาสตราจารย ขจร สุขพานิช
(กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2521), 147.
4
Medhi Krongkaew, ed., Current Development in Thai – Japanese Economic Relations : Trade and
Investment (Bangkok : Thammasat University, 1980), 276.
5
Japan Textile Color Design Center, comp., Textile Designs of Japan (Tokyo : Kodanshu
International, 1980), 48.
สถาบันในฐานะผูแตง
1
สมาคมหองสมุดแหงประเทศไทย, บรรณารักษศาสตรชุดประโยคครูมัธยม (พระนคร : สมาคมหองสมุด
แหงประเทศไทย, 2507), 1 – 7.
2
National Education Television and Radio Center, The Impact of Educational Television (Urbana
: University of Illinois Press, 1960), 20.
สถาบันในฐานะผูพิมพโฆษณา
1
บรรจบ พันธุเมธา, กาเลหมานไต (พระนคร : สมาคมภาษาและหนังสือ, 2504), 40 – 42.
2
Richard F. Watsan, Prison Libraries (London : Library Association, 1951), 1.
31
หนังสือแปลที่ระบุชื่อผูแตงในภาษาเดิม
1
มารตัน เบทส, มนุษยกับธรรมชาติ, แปลโดย ประชา จันทรเวคิน และ ชูศรี กี่ดํารงกุล (กรุงเทพฯ :
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2523), 154.
2
Richard Wilhelm, Lectures on the I Ching : Constancy and Change, trans. Irene Eber
(New Jersey : Princeton University Press, 1979), 127.
หนังสือแปลที่ไมระบุชื่อผูแตงในภาษาเดิม
1
เดือน บุนนาค, ผูแปล, เศรษฐศาสตร, พิมพครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2511), 1 : 98.
2
Suzette Macedo, trans., Diagnosis of the Brazilian Crisis, 3rd ed. (Berkeley : University of
California Press, 1965), 147 – 153.
หนังสือฉบับพิมพตั้งแตครั้งที่สอง
1
ประเสริฐ ณ นคร, โคลงนิราศหริภุญชัย, พิมพครั้งที่ 2 (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพทาพระจันทร,
2516), 26.
2
Jean Peters, The Bookman’s Glossary, 5th ed. (New York : Bowker, 1975), 15.
3
Charles E. Merriam, New Aspects of Politics, 3rd ed., enl., with a Foreword by Barry D. Karl
(Chicago : University of Chicago Press, 1972), 46.
4
John Wight Duff, A Literary History of Rome from the Origins to the Close of the Golden
Age, 2 nd ed., edited by A.M. Duff (New York : Barnes and Noble, 1964), 86.
หนังสือมีชื่อชุดและลําดับที่ในชุด
1
พระยาอนุมานราชธน [เสฐียรโกเศศ], ประเพณีเนื่องในการแตงงานและประเพณีเนื่องในการปลูกเรือน,
หนังสือชุดประเพณีไทย, อันดับที่ 2 (พระนคร : สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2509), 20 – 21.
2
Verner W. Clapp, The Future of the Research Library, Phineas W.Windsor Series in
Librarianship, no. 8 (Urbana : University of Illinois Press, 1964), 92.
3
A.S. Arya, Protection of Educational Buildings Against Earthquake, A Manual for Designers and
Builders, Educational Building Report 13 (Bangkok : Unesco, Principal Regional Office for Asia and the Pacific,
1987), 15.
หนังสือไมปรากฏสถานที่พิมพ และ/หรือ ปที่พิมพ
1
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว, ขอมดําดินแถลงเรื่องตามตํานานและสันนิษฐานโบราณคดีและ
เปนบทกลอนละคร (ม.ป.ท., 2456), หนาปกใน.
2
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว, ภาพฝพระหัตถ ภาพลอเสนหมึก พ.ศ. 2461-62-63 (ม.ป.ท.,
ม.ป.ป.).
3
The Lottery (n.p. : J. Watts, 1931), 20.
32
4

Stuart Piggott, Approach to Archaeology (n.p., 1965), 15.
Gordon N. Ray, An Introduction to Literature (New York : Grosset & Dunlap, n.d.), 65.
6
King Vajiravudh of Thailand [Sri Ayudhya], The Earl of Claverhouse : A Farcical Comedy in 3
Acts (n.p., n.d.), 1.
หนังสือที่พิมพในโอกาสพิเศษ
1
ประชุมพงศาวดารภาคที่ 31 จดหมายเหตุเรื่องมิชชันนารี อเมริกันเขามาประเทศสยาม (พระนคร :
โรงพิมพโสภณพิพรรฒธนากร, 2468. พิมพในงานศพพระยาสารสินสวามิภักดิ์ (เทียนฮี้ สารสิน) ตุลาคม 2468), 59.
หนังสือหลายเลมจบของผูแตงคนเดียวกัน ชื่อแตละเลมอยางเดียวกัน
1
กรมพระนราธิปประพันธพงศ, พงศาวดารไทยใหญ (พระนคร : องคการคาของคุรุสภา, 2505), 2 : 10 –
21.
2
William A. Katz, Introduction to Reference Work, 2nd ed. (New York : McGraw – Hill Book Co.,
1974), 1 : 13.
3
William M. Bowsky, ed., Studies in Medieval and Renaissance History (Lincoln : University of
Nebraska Press, 1965), 2 : 273 – 296.
หนังสือหลายเลมจบของผูแตงคนเดียวกัน แตละเลมมีชื่อเฉพาะ
1
หลวงวิจิตรวาทการ, ศาสนาสากล : เปรียบเทียบศาสนาลัทธิและปรัชญาตาง ๆ ทั่วโลก, เลม 1, วาดวยยุค
ดึกดําบรรพ (พระนคร : ส.ธรรมภักดี, 2524), 213 – 345.
2
Will Durant, The Story of Civilization, vol. 1, Our Oriental Heritage (New York : Simon &
Schuster, 1942), 38.
3
Samuel Taylor Coleridge, The Complete Works of Samuel Taylor Coleridge, ed. W.G.T. Shedd,
vol. 1, Aids to Reflection (New York : Harper & Bros., 1884), 18.
4
James A. Crutchfield, ed., The Fisheries : Problems in Resource Management, vol. 1, Studies on
Public Policy Issues in Resource Management (Seattle : University of Washington Press, 1965), 67.
หนังสือชุดชื่อเรื่องเดียวกัน มีผูแตงหลายคนและมีชื่อเรื่องแยกเฉพาะเลม
1
คุรุสภา, วิชาชุดครูประกาศนียบัตรครูมัธยมของคุรุสภา วิชาภาษาไทย (พระนคร : องคการคาของคุรุสภา,
2505 – 2517), ตอน 6, คูมือลิลิตพระลอ, โดย เรืองอุไร กุศลาศัย, 145.
2
Gordon N. Ray, gen. ed., An Introduction to Literature, 4 vols. (Boston : Houghton Mifflin Co.,
1959), vol. 2, The Nature of Drama, by Hubert Hefner, 47 – 49.
5
33
บทความเฉพาะบางเรื่องในหนังสือรวมเลม
สืบศักดิ์ สนธิรัตน และ พงศพันธุ เธียรหิรัญ, “ความรูทั่วไปเกี่ยวกับศัตรูพืช,” ใน เอกสารการสอนชุด
วิชาการจัดการศัตรูพืช หนวยที่ 1-7 สาขาวิชาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
(นนทบุรี : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2539), 1 – 40.
2
วุฒิชัย มูลศิลป, “กบฏอายสาเกียดโงง : วิเคราะหจากเอกสารพื้นเวียง,” ใน กบฏชาวนา , วุฒิชัย มูลศิลป
และ ธรรมนิตย วราภรณ, บรรณาธิการ (กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2525), 45.
3
Richard Wright, “Bright and Morning Star,” in Short Stories : A Critical Anthology, ed. Ensaf
Thune and Ruth Prigozy (New York : Macmillan, 1973), 370 – 384.
คํานําในหนังสือซึ่งเขียนโดยบุคคลอื่น
1
สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, “คํานํา,” ใน จดหมายเหตุเรื่องไตสวนนายกุหลาบ ซึ่งแตงประวัติ
สมเด็จพระสังฆราชขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย (พระนคร : หอพระสมุดวชิรญาณ, 2472), ก – ง.
บทละครและกวีนิพนธ
1
Louis O. Coxe and Robert Chapman, Billy Budd (Princeton : Princeton University Press, 1951), act
1, sc 2, line 83.*
2
Francis Thompson, “The Hound of Heaven,” in The Oxford Book of Modern Verse (New York
: Oxford University Press, 1937), stanza 3, lines 11 – 21.**
3
เสภาเรื่องขุนชาง – ขุนแผนฉบับหอสมุดแหงชาติ, ตอนที่ 16, บรรทัดที่ 1 – 8.
4
พระสมณกุลวงศ, ขุนทึง, ตรวจชําระโดย พิทูร มลิวัลย (ธนบุรี : โรงพิมพประยูรวงศ, [2511] ), โคลงที่
1 – 5, บรรทัดที่ 1 – 10.
5
อังคาร กัลยาณพงศ, “อยุธยา,” ใน กวีนิพนธของอังคาร กัลยาณพงศ (พระนคร : สํานักพิมพ
มหาวิทยาลัย สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2507), โคลงที่ 1 – 3, บรรทัดที่ 10 –21.
6
Romeo and Juliet, act 3, sc. 2, lines 1 – 30.***
7
Paradise Lost, bk 1, lines 83 – 86.
8
โคลงนิราศนรินทร, โคลงที่ 1 – 2, บรรทัดที่ 1 – 8.
1

*

บทละครและกวีนิพนธสมัยใหมเขียนเชิงอรรถเชนเดียวกับเชิงอรรถของหนังสือโดยทั่วไป แตเพิ่มองค
ฉาก หรือบรรทัดแทนหนา
**
เปนตัวอยางของการอางบทกวีนิพนธสั้น ๆ ที่คัดจากหนังสือรวมบทกวีนิพนธ
***
บทละครและกวีนิพนธที่ไดรับการยกยองวาดีและเปนที่รูจักกันอยางแพรหลายมาตั้งแตอดีตจนสมัย
ปจจุบัน (English Classics) และผูแตงมีชื่อเสียงเปนที่รูจักกันดี เชน William Shakespeare ในเชิงอรรถใหเขียนชื่อเรื่อง
ขึ้นตนไดเลย โดยไมตองระบุชื่อผูแตง และตัดรายการเกี่ยวกับการพิมพออกได
34
การอางเอกสารปฐมภูมิจากเอกสารทุติยภูมิ*
1
สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, ตํานานหอพระสมุด หอพระมณเฑียรธรรม หอวชิรญาณ หอ
พุทธศาสนสังคหะ และหอสมุดสําหรับพระนคร (พระนคร : โรงพิมพโสภณพิพรรฒธนากร, 2459), 110, อางถึงใน
แมนมาส ชวลิต, ประวัติหอสมุดแหงชาติ (พระนคร : กรมศิลปากร, 2509), 38.
2
สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, ตํานานหอพระสมุด หอพระมณเฑียรธรรม หอวชิรญาณ
หอพุทธศาสนสังคหะ และหอสมุดสําหรับพระนคร, 110, อางถึงใน แมนมาส ชวลิต, ประวัติหอสมุดแหงชาติ
(พระนคร: กรมศิลปากร, 2509), 38.
3
Jesuit Relations and Allied Documents, vol. 59, n. 41, quoted in Archer Butler Hulbert, Portage
Paths (Cleveland : Arthur H. Clark, 1903), 181.
4
Gamaliel Bradford, The Journals of Garmaliel Bradford, 1883 – 1932, quoted in Monroe E.
Deutsch, The Letter and the Spirit (Berkeley : University of California Press, 1943), 134.
การอางอิงเอกสารหลายเรื่องในเชิงอรรถเดียวกัน**
1
See Samuel P. Langley, James Smithson (Washington, D.C. : Smithsonian Institution, 1904), 18 - 19 ;
Paul Oehser, Sons of Science (New York : Henry Schuman, 1949), 1, 9 – 11 ; and Webster True, The First
Hundred Years of the Smithsonian Institution : 1846 – 1964 (Washington, D.C. : Smithsonian Institution, 1946), 2.
การอางอิงเอกสารในเชิงอรรถเสริมความ
1
Detailed evidence of the great increase in the array of goods and services bought as income increases is
shown in S.J. Prais and H.S. Honthaker, The Analysis of Family Budgets (Cambridge : Cambridge University Press,
1955), table 5, p. 52.
2
In 1962 the premium income received by all voluntary health insurance organizations in the United
States was $ 9.3 billion, while the benefits paid out were $ 7.1 billion. See Health Insurance Institute, Source Book of
Health Insurance Data (New York : The Institute, 1963), 36, 46.
*

การอางเอกสารปฐมภูมิจากเอกสารทุติยภูมิ อาจเลือกแบบการเขียนเชิงอรรถตามตัวอยางเชิงอรรถที่ 1 ซึ่ง
เขียนขอมูลเกี่ยวกับการพิมพสําหรับเอกสารปฐมภูมิอยางครบถวน แตในกรณีที่เอกสารทุติยภูมิไมไดระบุขอมูล
เกี่ยวกับการพิมพของเอกสารปฐมภูมิ ใหเลือกแบบการเขียนเชิงอรรถตามตัวอยางเชิงอรรถที่ 2, 3 และ 4 ซึ่งตัดขอมูล
เกี่ยวกับการพิมพของเอกสารปฐมภูมิออกไป
**
ในเชิงอรรถใชเครื่องหมายอัฒภาค ( ; ) คั่นระหวางเอกสารแตละเรื่อง แตในหนาบรรณานุกรมตองเขียน
เปนบรรณานุกรมของเอกสารแตละเรื่องแยกจากกัน แลวเรียงไวตามลําดับอักษรของผูแตงรวมกับเอกสารอื่น ๆ
เชนเดียวกับการเขียนบรรณานุกรมโดยทั่วไป ตัวอยางจาก Michael K. Buckland, Library Services in Theory and
Context (New York : Pergamon Press, 1983), 12.
35
3

Professor D.T. Suzuki brings this out with great clarity in his discussion of “stopping” and “no –
mindedness” ; see, e.g., his chapter entitled “Swordsmanship” in Zen Buddhism and Its Influence on Japanese
Culture (Kyoto : Eastern Buddhist Society, 1983).
วารสาร
บทความในวารสารภาษาไทย
1
คม ทองพูล, “ทําไมครูไมใชอุปกรณการสอน?,” ประชาศึกษา 33, 6 (มีนาคม 2525) : 5.
2
สายสุนีย สุขนคร, “ราชธานีแหงดอกบัว,” อนุสาร อ.ส.ท. 7, 3 (2510) : 12.
3
สมชัย ฤชุพันธุ, “หลักการในการจัดเก็บภาษีมรดกและภาษีการให,” สรรพากรสาสน 23, 3 (พฤษภาคม
– มิถุนายน 2519) : 20 ; 4 (กรกฎาคม – สิงหาคม 2519) : 41.
4
“ขวัญของขาราชการกับความมั่นคงของชาติ,” วารสารพัฒนบริหารศาสตร 10, 1 (มกราคม 2523) : 176.
บทความในวารสารภาษาตางประเทศ
1
Joe F. Donaldson and Steve Graham, “A Model of College Outcomes for Adults,” Adult Education
Quartery 50,1 (November 1999) : 24 – 40.
2
William C. Hayes, “Most Ancient Egypt,” Journal of Near East Studies 23 (October 1964) : 217.
3
Konrad Loreng, “The Wisdom of Darwin,” Midway, no. 22 (1965) : 48.
4
Katie Wilson, “Rights and Responsibilities in Interlibrary Cooperative Ventures,” Southeastern
Librarian 30 (Spring 1980) : 22.
5
American Library Association, Reference and Adult Services Division, Standard Committee,
“A Commitment to Information Services,” Library Journal 101 (15 April 1976) : 973.
6
“Air Thermometers,” Consumer Reports 5 (February 1966) : 74.
บทวิจารณ
1
ชํานาญ นาคประสม, วิจารณเรื่อง ลายสือสยาม, โดย ส. ศิวรักษ, สังคมศาสตรปริทัศน 5, 1 (มิถุนายน สิงหาคม 2510) : 139 – 141.
2
Harold Ostvold, review of The Future of the Research Library, by Verner W. Clapp, Library
Journal 89 (1 June 1964) : 2320 – 2321.
สารานุกรม
1
ประพัฒน ตรีณรงค, “ชอฟา,” สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน 10 (2513) : 6078.
2
“ปฏิทิน มาตราวัดเวลา,” สารานุกรมวิทยาศาสตร โดยสาขาครูวิทยาศาสตร สมาคมวิทยาศาสตรแหง
ประเทศไทย (2508) : 91 – 92.
3
David P. Ausubel, “Emotional Development,” Encyclopedia of Educational Research, 3rd ed.,
edited by Chester W. Harris (1960) : 449.
36
4

Robert K. Lane and Daniel A. Livingtone, “Lake and Lake Systems,” Encyclopaedia Britannica
(Macropaedia) 10 (1974) : 600 - 616.
5
William Markowitz, “Time, Measurement and Determination of,” Encyclopedia Americana 16
(1965) : 633 a.
หนังสือพิมพ
บทความในหนังสือพิมพ
1
สวัสดิ์ นิเทศวรวิทย, “ขอคิดบางประการจากคําสั่งที่ 65/2525,” สยามรัฐ, 13 สิงหาคม 2525, 3.
2
Theh Chongkhadikij, “Prasong Warns Vietnam of Russian Threat,” Bangkok Post, 31 August
1982, 1.
3
“Behind that Nobel Prize,” Nation Review, 12 December 1976, 6.
การติดตามขาวและขอเท็จจริงในระยะเวลาหนึ่ง
1
สยามรัฐ, 13 สิงหาคม 2525.
2
สยามรัฐ, 4 มกราคม – 5 กุมภาพันธ 2531.
3
สยามรัฐ, 2, 16, 30 กรกฎาคม ; 2, 20, 27 สิงหาคม 2531.
4
Bangkok Post, 16 August 1982.
5

Times (London), 4 January – 6 June 1964.
6
Saturday Review, 2, 6, 30 July ; 2, 20, 27 August 1966.
จุลสาร*
1

กรมศิลปากร, 2 เมษายน วันอนุรักษมรดกไทย (กรุงเทพมหานคร : กรมศิลปากร, 2531), 3.
นิยะดา ทาสุคนธ, หลักเกณฑการทําบรรณานุกรมและเชิงอรรถเอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทย
กระดาษเพลา กระดาษฝรั่ง สมุดฝรั่ง และใบจุม, เอกสารวิชาการงานบริการหนังสือภาษาโบราณ หมายเลข 1/2529
(กรุงเทพมหานคร : หอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร, 2529), 3.
สูจิบัตร**
1
ปญญา วิจินธนสาร, “ค้ําจุน, สีอะคริลิค,” ใน 55 ป คณะจิตรกรรม, การแสดงศิลปกรรมครั้งที่ 14 ใน
วาระครบรอบ 55 ป คณะจิตรกรรมฯ ของอาจารยคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ณ หอศิลป คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระ, 15 กันยายน – 5 ตุลาคม
2540 (ม.ป.ท., 2540), 33.
2

*

จุลสาร ใชแบบแผนเดียวกับหนังสือ
สูจิบัตร ใชแบบแผนเดียวกับหนังสือ

**
37
2

55 ป คณะจิตรกรรม, การแสดงศิลปกรรมครั้งที่ 14 ในวาระครบรอบ 55 ป คณะจิตรกรรมฯ ของ
อาจารยคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ หอศิลป คณะจิตรกรรมประติมากรรม
และภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระ, 15 กันยายน – 5 ตุลาคม 2540 (ม.ป.ท., 2540).
เอกสารอัดสําเนาและเอกสารที่ไมไดตีพิมพอื่น ๆ
1
“รายงานการสํารวจรานขายหนังสือเกาทองสนามหลวง,” เอกสารประกอบวิชา 118 654 หนังสือหายาก
และหนังสือตัวเขียน ภาควิชาบรรณารักษศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2522. (อัดสําเนา)
2
ธนาคารแหงประเทศไทย, “ประกาศเรื่องรับสมัครสอบคัดเลือกเพื่อบรรจุเปนบรรณสารารักษผูชวย,”
กันยายน 2523. (พิมพดีด)
3
ปวย อึ๊งภากรณ, “การพัฒนาชาติไทย,” ปาฐกถาในงานชาเตอรไนทที่สโมสรไลออนสตรัง, 18
พฤษภาคม 2517. (อัดสําเนา)*
4
นิคม จันทรวิทูร, “การกระจายรายไดและแรงงาน,” เอกสารในการสัมมนาเรื่องสถานการณทางเศรษฐกิจ
ในรอบป 2519 และแนวโนมในอนาคตป 2520 เสนอที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 24 กุมภาพันธ 2520.
5
“บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,” (ม.ป.ท., ม.ป.ป.). (แผนพับ)
6
J.R. Nichols, “Opiates as Reinforcing Agents : Some Variables Which Influence Drug – Seeking
in Animals,” paper presented at the meeting of the American Psychological Association, Washington, D.C.,
24 September 1967.
7
Max Lerner, “Can We Claim the Future?” Opinion expressed at California State University, Fresno,
14 July 1964. (Mimeographed)
8
American Institute of Planners, Chicago Chapter, “Regional Shopping Centers Planning
Symposium,” Chicago, 1942. (Mimeographed)
9
Morristown (Kansas) Children’s Home, “Minutes of Meetings of the Board of Managers, 1945 - 55,”
meeting of 6 May 1950. (Typewritten)
วิทยานิพนธ
1
มนตรี มีเนียม, “บทบาทของพราหมณในวรรณคดีไทย” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชา
ภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2531), 49.

*

รายงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการที่ยังไมไดจัดพิมพเปนรูปเลม (unpublished reports and
proceedings) ถาชื่อของเอกสารยังไมระบุวาเปนเอกสารรายงานการประชุมสัมมนาตองเขียน (อัดสําเนา) หรือ
(mimeographed/ photocopied) และ (พิมพดีด) หรือ (Typewritten) ประกอบไวขางทายของรายการเชิงอรรถและ
บรรณานุกรมดวย
38
2

Marilyn Rosenthal, “Poetry of the Spanish Civil War” (Ph.D. dissertation, New York University, 1972),

27.
สิ่งพิมพรัฐบาลและเอกสารอื่น ๆ ของทางราชการ
1
สํานักงานเลขาธิการรัฐสภา, รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎรครั้งที่ 8 - ครั้งที่ 9 (สมัยวิสามัญ)
(กรุงเทพฯ : โรงพิมพสํานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2522), 3 : 223.
2
มหาวิทยาลัยศิลปากร, “ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง ปฏิทินการศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2525,” 1 เมษายน 2525.
3
กระทรวงศึกษาธิการ, “ระเบียบคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติวาดวยกลุมโรงเรียนประถมศึกษา
พ.ศ. 2523,” 27 พฤศจิกายน 2523.
4
ทบวงมหาวิทยาลัย, “รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาใชคอมพิวเตอรในหองสมุด, ครั้งที่
5/2528,” 27 มิถุนายน 2528.
5
มหาวิทยาลัยศิลปากร, บัณฑิตวิทยาลัย, “รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย, ครั้งที่
9/2531,” 29 กรกฎาคม 2531.
6
คณะกรรมาธิการการศึกษาและวัฒนธรรม (สภานิติบัญญัติแหงชาติ), “บันทึกการประชุมพิจารณาราง
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ..., ครั้งที่ 5/2521,” 2 สิงหาคม 2521.
7
สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, “มติคณะรัฐมนตรี ที่ สร. 0401/ว.50 เรื่องการลงโทษขาราชการที่กระทํา
ความผิดวินัยกรณีทุจริตในการสอบ,” 12 เมษายน 2511.
8
กรมสรรพากร, “หนังสือที่ กค. 0802/10123,” 22 สิงหาคม 2531.
9
“พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. 2523,” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 97, ตอนที่ 158 (13 ตุลาคม 2523) :
10 –13.
10
U.S., Department of Interior, Office of Indian Affairs, Annual Report of the Commissioner of Indian
Affairs to the Secretary of the Interior, for the Fiscal Year Ended 30 June 1932, 24.
11
U.S., Department of Commerce, Bureau of the Census, United States Census of Population : 1960,
vol. 1, Characteristics of the Population, pt. 6, California.
การสัมภาษณ
1
สัมภาษณ หมอมเจา สุภัทรดิศ ดิศกุล, คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2 กันยายน 2525.
2
Interview with Edward Teller, nuclear scientist, Livermore, California, 12 July 1962.
3
Interview with Patya Saihoo, Director, Social Research Institute, Chulalongkorn University, 25
August 1978.
39
ตนฉบับตัวเขียน*
1
“ความทรงจําเรื่องกรุงเกาเสียแลว เจาตากมาตั้งเมืองธนบุรี,” หอสมุดแหงชาติ, สมุดไทยดํา, อักษรไทย,
ภาษาไทย, เสนขาว, จ.ศ. 1129, เลขที่ 28, หนาตน 2 – 3.**
2
“ตําราพิไชยสงครามเลม 1,” หอสมุดแหงชาติ, สมุดไทยดํา, อักษรไทย, ภาษาไทย, เสนรงค, รัชกาลที่ 3,
เลขที่ 46, หนาตน 2 – 3.
3
“ตําราพิไชยสงครามเลม 5,” หอสมุดแหงชาติ, สมุดไทยขาว, อักษรขอม – ไทย, ภาษาบาลี – ไทย, เสน
หรดาล, ม.ป.ป., เลขที่ 217, หนาปลาย 45.***
4
“กฎกระทรวงกลาโหมใหแกพระยานครศรีธรรมราช จ.ศ. 1173,” หอสมุดแหงชาติ, กระดาษเพลา,
อักษรไทย, ภาษาไทย, เสนดินสอ, จ.ศ. 1173, เลขที่ 15, หนาตน 4 – 5.
5
“มูลยมก,” วัดไหลหิน อ.เกาะคา จ.ลําปาง, หนังสือใบลาน, อักษรธรรมลานนา, ภาษาบาลี, เสนจาร,
จ.ศ. 859, ฉบับชาดทึบ, เลขที่ 4.
6
“สําเนาพระบรมราชโองการ จ.ศ. 1138,” หอสมุดแหงชาติ, กระดาษฝรั่ง, อักษรไทย, ภาษาไทย, เสนหมึก,
จ.ศ. 1138, เลขที่ 7/ก.
7
“จดหมายเหตุรัชกาลที่ 5,” หอสมุดแหงชาติ, สมุดไทยดํา, เสนดินสอขาว, มัดที่ 102, เลมที่ 19, ฉบับที่ 1.
8
London, British Library, Arundel MSS, 285, fol. 165 b.
9
Stimson Diary and War Letters, February 1981, Henry L. Stimson Papers, Yale University, New Haven,
Conn.
10
Gen. Joseph G. Castner, “Report to the War Department,” 17 January 1927, Modern Military
Records Division, Record Group 94, National Archives, Wasington, D.C.
11
Washington, D.C., National Archives, Modern Military Records Division, Record Group 94.

*

ตนฉบับตัวเขียนแตละฉบับมีลักษณะพิเศษแตกตางกัน การเขียนเชิงอรรถและบรรณานุกรมใหมี
หลักเกณฑเดียวกันเปนไปไดยาก ดังนั้นจึงใหบันทึกรายการทางบรรณานุกรมเทาที่จะทําใหผูอานทราบไดวาเปน
เอกสารชิ้นใดและเก็บไวที่ใด
**
หนาตน หมายถึง ดานหนาของหนังสือสมุดไทยหรือกระดาษเพลา ดังนั้น หนาตน 2 – 3 ในตัวอยางนี้
จึงหมายถึง หนาที่ 2 – 3 ของดานหนาของหนังสือสมุดไทย
***
หนาปลาย หมายถึง ดานหลังของหนังสือสมุดไทยหรือกระดาษเพลา ดังนั้น หนาปลาย 45 ใน
ตัวอยางนี้จึงหมายถึง หนาที่ 45 ของดานหลังของหนังสือสมุดไทย
40
เอกสารของหอจดหมายเหตุแหงชาติ
เอกสาร : อางอิงทุกฉบับ
1
“เรื่องโรงเรียนกฎหมาย,” 24 กุมภาพันธ 2452 – 1 ตุลาคม 2461, เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 6
กระทรวงยุติธรรม, ร.6 ย. 1/1,* หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
เอกสาร : อางอิงเฉพาะบางเอกสาร
1
“หนังสือกระทรวงยุติธรรมที่ 93/3368, 24 กุมภาพันธ ร.ศ. 128, หมอมเจา จรูญศักดิ์ กฤษดากร กราบ
บังคมทูล พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว,” เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 6 กระทรวงยุติธรรม,
ร.6 ย. 1/1, หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
เอกสารเย็บเลม : อางอิงทั้งเลม
1
หอจดหมายเหตุแหงชาติ, เอกสารเย็บเลม กรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 5 กระทรวงมหาดไทย (จ.ศ.
1229 – 1230), ร.5 รล. มท. เลม 1 .
เอกสารเย็บเลม : อางอิงเฉพาะบางเอกสาร
1
“เรื่องนําตั้งหลวงบริบูรณสุรากรเปนที่พระบริบูรณโกษากรเจาภาษีฝน จ.ศ. 1229,” เอกสารเย็บเลม กรม
ราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 5 กระทรวงมหาดไทย, ร.5 รล. มท. เลม 1, หอจดหมายเหตุแหงชาติ, หนา 1.
แผนที่
1
“แผนที่แสดงที่พักทหารฝายสยามจับพวกขบถปาหัง, พ.ศ. 2438,” แผนที่กรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 5
กระทรวงมหาดไทย, ผ.ร. 5 ม. 25, หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
ภาพ
1
“พระบรมฉายาลักษณพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว, พ.ศ. 2476,” ภาพสวนบุคคล, ภ.สบ. 20.1/1,
หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
แถบบันทึกเสียง
1
สัมภาษณ นายจาย แซตั้ง, 22 กรกฎาคม 2522. แถบบันทึกเสียงสวนบุคคล, ถ.สบ. 212, หอจดหมายเหตุ
แหงชาติ.
เอกสารไมตีพิมพ (Nonprint sources)
ฟลมสตริป ภาพยนตร
1
“Orchids, Encyclopaedia,” Britannica Films, 1972. (Filmstrip) col., 25 fr.
2
“The Origins of Man,” Paramount Films, 1965. (Film) 16 mm., col., sd., 28 min.

*

ร.6 ย. 1 / 1 เปนสัญลักษณที่หอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร กําหนดขึ้นเพื่อจัดเก็บเอกสาร
จดหมายเหตุภายในหอจดหมายเหตุแหงชาติ
41
รายการวิทยุ รายการโทรทัศน
1
พจน สารสิน, “ความอยูรอดของเศรษฐกิจไทย,” บทวิทยุออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแหง
ประเทศไทย, 13 เมษายน 2520.
2
“สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ,” ภาพยนตรชุดมรดกของไทย เสนอทางโทรทัศน ชอง 4, 22
มิถุนายน 2505.
แถบเสียง
1
หมอมหลวง จอย นันทิวัชรินทร, “การเขียนตํารา,” บรรยายที่วิทยาลัยครูธนบุรี, 8 กันยายน 2523.
(เทปตลับ) 2 ตลับ 7½ น/ว.
2
Harold C. Holland, “Dynamics : Some New Perspcetives,” Lecture Given at University of
Southern California, Los Angeles, 11 June 1973. (Phono tape) 1 reel 3¼ i.p.s.
แผนที่ภาพถายทางอากาศและภาพถายดาวเทียม
1
กรมแผนที่ทหาร, “ดอยปาซาง,” ระวาง 4840 II, พิมพครั้งที่ 1 – RTSD. แผนที่ประเทศไทย ลําดับชุด
L 7017, 2527. มาตราสวน 1 : 50,000.
2
กรมแผนที่ทหาร, “ภาพถายทางอากาศชุด WWS,” M 100, no. 1737, 2 February 1954.
3
กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและการพลังงาน, สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กองสํารวจ
ทรัพยากรธรรมชาติดวยดาวเทียม, “เมืองพิษณุโลกจากอากาศ ภาพถายทอดดาวเทียมแลนดแซท ระบบ
ธีแมติคแมบเปอร (TM),” ภาพสีผสม, 17 มกราคม 2531, มาตราสวน 1 : 50,000.
ไมโครฟอรม
1
Godwin C. Chu and Wilbur Schramm, Learning From Television : What the Research Says
(Bethesda, Md. : ERIC Document Reproduction Service, ED 014 900* , 1967), 3.
ผลงานศิลปะ
1
ศิลป พีระศรี, คุณมาลินี พีระศรี, ปลาสเตอร, 2502, พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระนคร.
สื่ออิเล็กทรอนิกส
การอางอิงขอมูลหรือสารสนเทศที่คนไดจากสื่ออิเล็กทรอนิกส ซึ่งในที่นี้ประกอบดวย การอางอิงขอมูล
จากบริการตางๆ บนอินเทอรเน็ต การอางอิงจากฐานขอมูลออนไลน และซีดีรอม มีรูปแบบการเขียนรายการอางอิง
ดังนี้
1
ผูแตงหรือผูรับผิดชอบ, ชื่อเรื่อง [ประเภทของสื่อ], ปพิมพหรือวันเดือนปที่อางอิง. แหลงที่มาของขอมูล
หรือสารสนเทศ

*

อันดับที่ผลิต
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006
T006

More Related Content

What's hot

การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..phornphan1111
 
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรมเรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรมMarg Kok
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1Tae'cub Rachen
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาChinnakorn Pawannay
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองnsiritom
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...krujee
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdatenonny_taneo
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมายkroonoi06
 

What's hot (19)

การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
วรรณคดี
วรรณคดีวรรณคดี
วรรณคดี
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรมเรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 

Similar to T006

สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2Junior Lahtum
 
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่ายการเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่ายnoukae
 
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่ายการเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่ายnoukae
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5keatsunee.b
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)perunruk
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความkroonoi06
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)ILyas Waeyakoh
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Tongsamut vorasan
 

Similar to T006 (20)

สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
 
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่ายการเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
 
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่ายการเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
แบง
แบงแบง
แบง
 
นวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่งนวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่ง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

More from Nanthapong Sornkaew

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1 Nanthapong Sornkaew
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...Nanthapong Sornkaew
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญNanthapong Sornkaew
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1Nanthapong Sornkaew
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองNanthapong Sornkaew
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545Nanthapong Sornkaew
 
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯNanthapong Sornkaew
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกNanthapong Sornkaew
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงNanthapong Sornkaew
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลNanthapong Sornkaew
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมNanthapong Sornkaew
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่Nanthapong Sornkaew
 

More from Nanthapong Sornkaew (20)

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
 
Pantipontour
PantipontourPantipontour
Pantipontour
 
Bo tmuseum
Bo tmuseumBo tmuseum
Bo tmuseum
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
 
Politics1
Politics1Politics1
Politics1
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
 
10 12-2475
10 12-247510 12-2475
10 12-2475
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1
 
Book inter germany
Book inter germanyBook inter germany
Book inter germany
 
บทความ+ศา..
บทความ+ศา..บทความ+ศา..
บทความ+ศา..
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
 
Article t2
Article t2Article t2
Article t2
 
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตก
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากง
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาล
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
 
V2011 4
V2011 4V2011 4
V2011 4
 

T006

  • 1. บทที่ 4 การอางอิงและบรรณานุกรม การอางอิง หมายถึง การบันทึกที่มาของอัญพจน ขอความที่ยกมากลาวอางหรืออางอิงโดยการสรุปความ หรือถอดความ และขอเท็จจริงตาง ๆ การอางอิงในเนื้อหาจะชี้เฉพาะลงไปที่เนื้อหาตอนใดตอนหนึ่งของงานหรือแหลง อางอิงนั้น ๆ โดยใหเลือกการอางอิงรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง คือ การอางอิงแบบเชิงอรรถ หรือการอางอิงแบบแทรกใน เนื้อหา : ระบบนาม – ป การอางอิงแบบเชิงอรรถ การเขียนเชิงอรรถเปนการบันทึกที่มาของแหลงคนควาซึ่งมีรายละเอียดในการบันทึกคลายกับบรรณานุกรม แตมีรูปแบบการเขียนและการใชเครื่องหมายวรรคตอนตางกับบรรณานุกรม ทั้งนี้เพราะจุดประสงคในการใชตางกัน วัตถุประสงคของการอางอิงแบบเชิงอรรถ การอางอิงแบบเชิงอรรถมีวัตถุประสงคดังนี้ 1. บอกแหลงที่มาของขอมูลหรือขอความตาง ๆ ที่ยกมาเปนการยืนยันหลักฐาน เพื่อความนาเชื่อถือ (validation) 2. บอกแหลงที่มาของขอมูลหรือขอความตาง ๆ ที่ยกมาเปนการแสดงวา ผูเขียนไดนาขอมูลหรือขอความ ํ จะเปนโดยการคัดหรือโดยการสรุปก็ตามจากงานเขียนของผูอื่นมาใช เปนการใหเกียรติแกผลงานของผูไดทํามากอน (acknowledgement) 3. ขยายความคิดหรือขอมูลที่ทําไดไมเต็มที่ในสวนเนื้อหา เพราะอาจทําใหเกิดความสับสนหรือทําให กระแสความคิดขาดความตอเนื่อง จึงเขียนขยายประเด็นปญหา หรืออธิบายความเพิ่มเติมไวตางหาก (content footnote) 4. แจงใหผูอานอานเรื่องราวในรายละเอียดที่เกี่ยวของกับเนื้อเรื่องตอนนั้นจากหนาอื่นของวิทยานิพนธเลม เดียวกัน โดยไมตองกลาวซ้ําอีก (cross - reference) เพื่อใหผูอานติดตามความคิดหรือเนื้อเรื่องใหกระชับมากขึ้น การใหหมายเลขเชิงอรรถ การใหหมายเลขเชิงอรรถ ใหเรียงลําดับตั้งแต 1 ไปจนจบบท และเริ่มลําดับตั้งแต 1 อีก เมื่อขึ้นตนบท ใหม ในกรณีที่วิทยานิพนธมีความยาวไมมากนัก อาจเรียงลําดับเชิงอรรถตั้งแต 1 ไปจนจบเลมก็ได ไมใหมีการแทรก เลขลําดับของเชิงอรรถโดยการใชตัวเลขกับจุดทศนิยมหรือตัวเลขผสมกับตัวอักษร เชน 1.1 หรือ 1.ก ใหลงหมายเลข เชิงอรรถอยูเหนือบรรทัดทายขอความที่ตองมีเชิงอรรถ โดยไมตองเวนชองวางตัวอักษร และไมตองใสเครื่องหมายอื่น ใดอีก 19
  • 2. 20 ตําแหนงของเชิงอรรถ ตําแหนงของเชิงอรรถวางได 2 แบบคือ แบบที่ 1 วางเชิงอรรถไวสวนลางสุดของแตละหนาที่มีการอางอิง โดยคั่นเนื้อเรื่องกับเชิงอรรถดวยเสนขีด จากขอบกระดาษดานซายมือยาว 2 นิ้ว (ดูตัวอยางและการพิมพหนา 85) แบบที่ 2 รวมเชิงอรรถของแตละบทไวตอนทายของบทนั้น ๆ โดยขึ้นหนาใหม และเขียนคําวา “เชิงอรรถ ทายบทที่...” ไวกลางหนา (ในตําแหนงของชื่อบท) โดยไมตองขีดเสนใต แลวเรียงลําดับเชิงอรรถตั้งแตหมายเลข 1 ไปจนจบบท (ดูตัวอยางและการพิมพหนา 89) การวางเชิงอรรถรูปแบบที่ 2 นี้อาจไมเปนที่ยอมรับโดยทั่วไป นักศึกษา ควรปรึกษาผูควบคุมวิทยานิพนธและภาควิชาใหแนใจกอนตัดสินใจวางเชิงอรรถไวทายบทตามแบบที่ 2 นี้ ใหเลือกวางตําแหนงของเชิงอรรถแบบใดแบบหนึ่งเพียงแบบเดียวเทานั้น สวนประกอบของเชิงอรรถ สวนประกอบของเชิงอรรถอางอิงจะแตกตางกันไปตามประเภทของหลักฐานที่นํามาอางอิง ไดแก หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ วิทยานิพนธ ตนฉบับตัวเขียน เอกสารที่ไมตีพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส การสัมภาษณ เชนเดียวกับ สวนประกอบของบรรณานุกรม แตลักษณะที่แตกตางกัน ไดแก เครื่องหมายวรรคตอน รูปแบบในการพิมพ และการ อางหมายเลขหนาจากเอกสารเฉพาะหนาที่อางอิงมา (รวมถึงหมายเลขของเลม (volume) ถาเปนเอกสารเลมใดเลมหนึ่ง จากหนังสือชุดนั้น ๆ) เนื่องจากเอกสารเรื่องหนึ่ง ๆ อาจมีการอางอิงหลายครั้ง การเขียนเชิงอรรถจึงเปนไปได 2 แบบ ไดแก การเขียนเชิงอรรถแบบสมบูรณ สําหรับเอกสารที่อางถึงในวิทยานิพนธเปนครั้งแรกซึ่งจําเปนตองใสขอมูลที่เกี่ยวของ กับการพิมพเอกสารนั้นอยางครบถวน และการเขียนเชิงอรรถแบบยอสําหรับเอกสารที่ไดอางอิงมากอนแลว (second or later reference) เมื่อมีการอางถึงเอกสารเรื่องนั้นซ้ําอีก เชิงอรรถแบบสมบูรณ เชิงอรรถแบบสมบูรณสําหรับหนังสือ มีรูปแบบและการใชเครื่องหมายดังนี้ 1 ชื่อผูแตง, ชื่อหนังสือ, ครั้งที่พิมพ (เมืองที่พิมพ : สํานักพิมพ, ปที่พิมพ), เลขหนาที่อาง. ดังตัวอยางตอไปนี้ 1 เชิดชาย เหลาหลา, สังคมวิทยาชนบท, พิมพครั้งที่ 2* (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแพรพิทยา, 2519), 18. 2 * ชมพูนุท พงษประยูร, ศิลปกรรมสมัยอยุธยา (พระนคร : โรงพิมพกรมตํารวจ, 2514), 1-10. เอกสารภาษาไทยหลังพิมพครั้งที่ 2 ไมตองใสเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) แตเอกสารภาษาตางประเทศ หลัง 2nd ed. ตองใสเครื่องหมายมหัพภาค เพราะ ed. เปนตัวยอของ edition
  • 3. 21 เชิงอรรถแบบสมบูรณสําหรับบทความในวารสารภาษาไทย มีรูปแบบและการใชเครื่องหมายดังนี้ 1 ชื่อผูแตง, “ชื่อบทความ,” ชื่อวารสาร ปที่, ฉบับที่ (เดือน ป) : เลขหนาที่อาง. ดังตัวอยางตอไปนี้ 1 ศรีศักร วัลลิโภดม, “ขาวกับการพัฒนาของรัฐในประเทศไทย,” ศิลปวัฒนธรรม 6, 7 (พฤษภาคม 2528) : 114 – 118. เชิงอรรถแบบสมบูรณสําหรับบทความในวารสารภาษาตางประเทศ มีรูปแบบและการใชเครื่องหมายดังนี้ 1 ชื่อผูแตง, “ชื่อบทความ,” ชื่อวารสาร ปที่, ฉบับที่ (เดือน ป) : เลขหนาที่อาง. ดังตัวอยางตอไปนี้ 1 Joe F. Donaldson and Steve Graham, “A Model of College Outcomes for Adults,” Adult Education Quartery 50,1 (November 1999) : 24 – 40. ในกรณีที่วารสารไมระบุปที่ (volume number) แตระบุเฉพาะฉบับที่ (issue number) จะมีรูปแบบและ การใชเครื่องหมาย ดังนี้ 1 ชื่อผูแตง, “ชื่อบทความ,” ชื่อวารสาร, ฉบับที่ (ป) : เลขหนาที่อาง. ดังตัวอยางตอไปนี้ 1 Konrad Lorenz, “The Wisdom of Darwin,” Midway, no. 22 (1965) : 48. เนื่องจากเอกสารที่นํามาอางอิงอาจมีหลายประเภท และแมแตหนังสือก็มีหลากหลายชนิด เชน มีผูแตง มากกวา 1 คน หรือเปนหนังสือชุด หรือหนังสือหลายเลมจบ เปนตน ทั้งบทความก็มีปรากฏในเอกสารตาง ๆ เชน ในวารสาร นิตยสาร หนังสือรวมบทความ สารานุกรม หรือหนังสือพิมพรายวัน เปนตน ดังนั้นจะนําตัวอยางการเขียน เชิงอรรถของเอกสารชนิดตาง ๆ รวมไวตางหาก ตอไปนี้จะอธิบายหลักเกณฑทั่วไปของการเขียนสวนประกอบของ เชิงอรรถของหนังสือพอใหเขาใจ สวนตัวอยางโดยละเอียดใหดูจากหนา 28 การเขียนชื่อผูแตง ลําดับชื่อผูแตงตามปกตินิยมคือ ชื่อตามดวยชื่อสกุล ไมตองใสคํานําหนาชื่อ เชน นาย นาง นางสาว หรือตําแหนง เชน ดร. ศาสตราจารย นายแพทย แตใหใสคําเต็มของบรรดาศักดิ์ ยศ ฐานันดรศักดิ์ และสมณศักดิ์ ไว เชน พระยา หมอมราชวงศ สมเด็จพระพุฒาจารย ฯลฯ ไวเปนคํานําหนาชื่อผูแตง สวนชื่อสถาบัน องคกรหรือสวน ราชการในฐานะผูแตงใหขึ้นตนดวยชื่อของหนวยงานใหญตนสังกัดอยางนอยระดับกรมกอน แลวตามดวยชื่อของ หนวยงานยอยลงมาตามลําดับ ตามที่ปรากฏในหนาปกในของเอกสารนั้นๆ
  • 4. 22 การเขียนชื่อผูแตงในเชิงอรรถและในบรรณานุกรม มีขอสังเกตดังนี้ 1. ในเชิงอรรถ การเขียนชื่อผูแตงสําหรับหนังสือภาษาอังกฤษและภาษาตะวันตกอื่น ๆ จะเขียนชื่อตามดวย ชื่อสกุลตามปกติ แตในบรรณานุกรมจะเขียนขึ้นตนดวยชื่อสกุลกอน คั่นดวยเครื่องหมายจุลภาค ( , ) แลวตามดวยชื่อ และชื่อกลาง (ถามี) สวนผูแตงชาวตางประเทศอื่น ๆ คงเขียนตามความนิยมของชาตินั้น ๆ 2. ในเชิงอรรถ การเขียนชื่อผูแตงที่มีบรรดาศักดิ์ ฐานันดรศักดิ์ และสมณศักดิ์ คงเขียนบรรดาศักดิ์ ฐานันดรศักดิ์ และสมณศักดิ์ไวเปนคําประกอบหนาชื่อผูแตงตามปกติ แตในบรรณานุกรมจะเขียนคําประกอบเหลานี้ไว ทายรายการชื่อผูแตง โดยใชเครื่องหมายจุลภาค ( , ) คั่นเพื่อใหหาเอกสารอางอิงซึ่งลําดับไวตามอักษรของชื่อผูแตงได งายขึ้น 3. ในเชิงอรรถและบรรณานุกรม การเขียนชื่อผูแตงที่เปนสถาบัน ไดแก กระทรวง ทบวง กรม สถาบัน การศึกษา รัฐวิสาหกิจ สมาคม สโมสร โรงพยาบาล ธนาคาร ฯลฯ ใหเขียนชื่อสถาบันนั้น ๆ ตามปกติ 4. การเรียงลําดับรายการในเชิงอรรถจะเรียงลําดับตามการอางอิงที่ปรากฏ สวนการเรียงลําดับรายการใน บรรณานุกรม กรณีเอกสารอางอิงภาษาไทยจะเรียงลําดับเอกสารตามลําดับอักษรของชื่อผูแตง สําหรับเอกสารอางอิง ภาษาอังกฤษหรือภาษาตะวันตกอื่น ๆ จะเรียงลําดับเอกสารตามลําดับอักษรของชื่อสกุลของผูแตง ทั้งนี้เพื่อความสะดวก ในการหาเอกสารอางอิงแตละเรื่อง การเขียนชื่อเอกสาร การเขียนชื่อเอกสารในเชิงอรรถใหเขียนดังนี้ หนังสือ เขียนชื่อหนังสือ (Title) ตามที่ปรากฏในหนาปกใน (Title page) และขีดเสนใตชื่อหนังสือ หนังสือที่มีชื่อรอง (Subtitle) ซึ่งเปนคําอธิบายชื่อหนังสือใหชัดเจนขึ้น ใหเขียนตอจากชื่อหนังสือ คั่น ดวยเครื่องหมายวรรคตอนตามที่ปรากฏในหนาปกใน ถาชื่อรองในตนฉบับไมมีเครื่องหมายวรรคตอนกํากับ ใหใช เครื่องหมายมหัพภาพคู ( : ) สําหรับหนังสือภาษาตางประเทศ สวนในภาษาไทยใชการเวนวรรคระหวางชื่อหนังสือ และชื่อรอง การเขียนชื่อหนังสือหรือบทความที่เปนภาษาตางประเทศ ใหใชตัวอักษรตัวใหญขึ้นตนคําแรกของชื่อ หนังสือรวมทั้งชื่อรองดวย และใชขึ้นตนคําทุกคํา ยกเวนคํานําหนานาม บุพบทและสันธาน ถาบุพบทและสันธาน ประกอบดวยตัวอักษรตั้งแต 6 ตัวขึ้นไป ใหใชอักษรตัวใหญขึ้นตน การใชเครื่องหมายวรรคตอนหลังชื่อหนังสือ ถาหลังชื่อหนังสือตามดวยครั้งที่พิมพ (edition) ใหใช เครื่องหมายจุลภาค ( , ) ระหวางชื่อหนังสือและครั้งที่พิมพ แตถาหลังชื่อหนังสือตามดวยเมืองที่พิมพ สํานักพิมพ และ ปที่พิมพ ซึ่งเขียนอยูในเครื่องหมายวงเล็บอยูแลว ก็ไมตองใสเครื่องหมายใด ๆ อีก บทความในหนังสือ เขียนชื่อของบทความที่อางในลําดับตอจากผูแตง โดยใสชื่อบทความไวในเครื่องหมาย อัญประกาศ ตามดวยเครื่องหมายจุลภาค โดยใสเครื่องหมายจุลภาคกอนอัญประกาศปด (“....,”) ตามดวยคําวา “ใน” ถาเปนหนังสือภาษาไทย และ “in” ถาเปนหนังสือภาษาอังกฤษ แลวจึงเขียนชื่อหนังสือและขีดเสนใต
  • 5. 23 บทความจากวารสาร เขียนชื่อบทความจากวารสารในลําดับตอจากผูแตง ใหใสชื่อบทความนั้นไวใน เครื่องหมายอัญประกาศ ตามดวยเครื่องหมายจุลภาค โดยใสเครื่องหมายจุลภาคกอนอัญประกาศปด (“.....,”) เขียนชื่อ วารสารและขีดเสนใตชื่อวารสาร ไมตองใสเครื่องหมายวรรคตอนทายชื่อของวารสาร ถารายการตอมาเปนปที่ของ วารสาร (volume number) แตถาวารสารนั้นไมระบุปที่ของวารสาร ระบุเพียงฉบับที่ (issue number) จึงจะใสเครื่องหมาย จุลภาคตอจากชื่อของวารสารกอนระบุฉบับที่ ครั้งที่พิมพ (Edition) การอางถึงหนังสือที่พิมพครั้งแรกไมตองระบุครั้งที่พิมพ แตถาอางถึงหนังสือที่มี  การพิมพแลวหลายครั้ง ตองระบุครั้งที่พิมพดวย เชน พิมพครั้งที่ 2 (2nd ed.) พิมพแกไขครั้งที่ 3 (3rd ed., rev.) พิมพครั้งที่ 4 แกไขและเพิ่มเติม (4th ed., rev. and enl.) new ed. new rev. ed. การเขียนขอมูลเกี่ยวกับการพิมพ ใสขอมูลเกี่ยวกับการพิมพทั้งหมด ไดแก เมืองที่พิมพ สํานักพิมพ และปที่พิมพ ในเครื่องหมายวงเล็บ ตามดวยเครื่องหมายจุลภาค ( , ) สิ่งพิมพบางชนิด เวนการระบุรายละเอียดในการพิมพบางประการ เชน ก. วารสารและหนังสือพิมพโดยทั่วไปจะไมระบุ เมืองที่พิมพ และสํานักพิมพ แตจะระบุรายละเอียดของ วัน เดือน ปที่พิมพ ข. พจนานุกรม สารานุกรม และแผนที่ จะระบุครั้งที่พิมพและปที่พิมพ เปนสําคัญ เมืองที่พิมพ (Place of publication) ถาปรากฏชื่อเมืองหลายเมือง ใหใสชื่อเมืองแรกชื่อเดียวเทานั้น ตาม ดวยเครื่องหมายมหัพภาคคู ( : ) ถาไมปรากฏเมืองที่พิมพใหระบุดวยอักษรยอ “ม.ป.ท.” (ไมปรากฏสถานที่พิมพ) ในภาษาอังกฤษใช “n.p.” (no place) สํานักพิมพ (Publisher) ใหลงชื่อเต็มของสํานักพิมพตามที่ปรากฏตามดวยเครื่องหมายจุลภาค ( , ) สํานัก พิมพมีหนาที่รับผิดชอบจัดหาเรื่องที่จะพิมพและเปนผูจัดจําหนาย สวนโรงพิมพนั้นเปนเพียงผูรับพิมพหนังสือจาก สํานักพิมพ จึงตองลงชื่อสํานักพิมพไมใชโรงพิมพ หากไมมชื่อสํานักพิมพ มีแตชื่อโรงพิมพจึงใสชื่อโรงพิมพแทน ี ถาในหนังสือไมปรากฏสํานักพิมพใหระบุดวยอักษร “ม.ป.ท.” (ไมปรากฏสํานักพิมพ) ในภาษาอังกฤษใช “ n.p.” (no publisher) ถาในหนังสือไมปรากฏทั้งเมืองที่พิมพและสํานักพิมพใหระบุดวยอักษรยอ “ม.ป.ท.” สําหรับหนังสือภาษา ไทย และ “n.p.” สําหรับหนังสือภาษาอังกฤษ แทนเพียงครั้งเดียว
  • 6. 24 ปที่พิมพ (Date of publication) ปที่พิมพของหนังสือจะปรากฏเปนรายการสุดทายของขอมูลเกี่ยวกับการ พิมพที่อยูในเครื่องหมายวงเล็บ ใหลงปที่พิมพของหนังสือตามที่ปรากฏในหนาปกใน ถาปกในของหนังสือไมระบุปที่ พิมพ ใหใชปที่พิมพในหนาหลังของปกใน หรือถาไมมีใหใชปที่พิมพซึ่งอยูกับชื่อของโรงพิมพ หรือใชปลิขสิทธิ์แทน ถาไมปรากฏปที่พิมพใหระบุดวยอักษร “ม.ป.ป.” (ไมปรากฏปที่พิมพ) สําหรับภาษาอังกฤษใช “n.d.” (no date) ในกรณีที่หาปที่พิมพไดจากบัตรรายการของหองสมุดใหใชปที่พิมพที่คนไดไวในเครื่องหมาย [ ] ถาไมปรากฏทั้งเมืองที่พิมพ สถานที่พิมพ และปที่พิมพ หนังสือภาษาไทยใช ม.ป.ท., ม.ป.ป. สําหรับ หนังสือภาษาอังกฤษใช “n.p., n.d.” การเขียนหมายเลขหนา ใสหมายเลขหนาของหนังสือที่ปรากฏขอความที่ยกมาอางหรือที่อางถึงโดยไมตองใชคําวา “หนา” นําหนา หมายเลขของหนานั้น ปดทายดวยเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) ในภาษาอังกฤษไมตองใชตัวยอ “ p.” (page) หรือ “pp.” (pages) ในกรณีไมปรากฏหมายเลขหนา ใชคําวา “ไมปรากฏเลขหนา” สําหรับเอกสารภาษาไทย และใชคําวา “n. pag.” (no page) สําหรับเอกสารภาษาตางประเทศ การเขียนหมายเลขหนาของวารสาร หนังสือพิมพ สารานุกรมและราชกิจจานุเบกษา ใสเฉพาะหมายเลข ของหนาที่อางไมตองใชคําวา “หนา” หรือ “p.” และ “pp.” นําหนาหมายเลขหนา* เชิงอรรถแบบยอ การเขียนเชิงอรรถแบบยอ ใชในกรณีที่ตองการอางอิงซ้ําถึงเอกสารที่ไดเคยอางมาแลว เนื่องจากการเขียน เชิงอรรถของเอกสารที่อางถึงในครั้งแรกไดลงรายการเกี่ยวกับการพิมพของสิ่งพิมพนั้นอยางครบถวนสมบูรณแลว เมื่อ มีการอางเอกสารนั้นซ้ําอีกจึงสามารถตัดรายละเอียดเกี่ยวกับครั้งที่พิมพ เมืองที่พิมพ สํานักพิมพ และปที่พิมพออกไป ได เชิงอรรถแบบยอจะเขียนแตกตางกันไปดังนี้ 1. การอางเอกสารนั้นซ้ําโดยไมมีเอกสารอื่นมาคั่น ใหใช “เรื่องเดียวกัน” สําหรับเอกสารภาษาไทย เอกสารภาษาตางประเทศใช “Ibid.” (ยอมาจากภาษาละติน “Ibidem” ซึ่งแปลเปนภาษาอังกฤษวา “in the same place”) โดยไมตองขีดเสนใตที่ “เรื่องเดียวกัน” และที่ “Ibid.” เนื่องจาก “Ibid.” เปนการยอคําจึงตองเขียน เครื่องหมายมหัพภาค ( . ) ไวทายคําดวยเสมอ 2. การอางเอกสารนั้นซ้ําโดยไมมีเอกสารอื่นมาคั่น แตขอความที่นํามาอางปรากฏอยูในตนฉบับตางเลข หนากัน ใหระบุหมายเลขหนาที่อางดวย เชน เรื่องเดียวกัน, 20. หรือ Ibid., 20. หรือ Ibid., 20-21. * ดูเพิ่มเติมหนา 20-21
  • 7. 25 ตัวอยาง 1 หมอมเจา สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, พิมพครั้งที่ 2 (พระนคร :โรงพิมพกรุงสยาม, 2518), 27. 2 แสง มนวิทูร, ศาสนาพราหมณ (พระนคร : โรงพิมพมหาดไทย, 2510), 100. เรื่องเดียวกัน. 4 เรื่องเดียวกัน, 120. 5 Martin Luther King, Jr., Why We Can’t Wait (New York : New American Library, 1954), 78. 6 Ibid. 7 Ibid., 80-82. 3 3. การอางเอกสารนั้นซ้ําในบทเดียวกันและมีเอกสารอื่นมาคั่น ใหเขียนเชิงอรรถแบบยอ โดยระบุเพียง รายการที่เกี่ยวกับผูแตง ชื่อเรื่องและหนาที่อางถึงเทานั้น ในกรณีที่อางอิงจากหนังสือเลมใดเลมหนึ่งของชุด ใหระบุเลมที่ (volume) ประกอบกับหมายเลขหนาที่ อางดวย ตัวอยาง 1 แสง มนวิทูร, ศาสนาพราหมณ (พระนคร : โรงพิมพมหาดไทย, 2510), 10. 2 พิทูร มลิวัลย, วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพกรมการศาสนา, 2522), 30. 3 แสง มนวิทูร, ศาสนาพราหมณ, 13. 4 พระบริหารเทพธานี, พงศาวดารชาติไทย ความเปนมาของชาติแตยุคดึกดําบรรพ (พระนคร : โรงพิมพ ส.ธรรมภักดี, 2519), 3 : 63 – 64. หนังสือภาษาอังกฤษและภาษาตะวันตกอื่น ๆ การอางซ้ําถึงหนังสือภาษาอังกฤษและภาษาตะวันตกอื่น ๆ ในรายการที่เกี่ยวกับผูแตงคงพิมพเฉพาะชื่อ สกุลของผูแตงเทานั้น ไมตองระบุชื่อดวย เวนแตผูแตงที่มีชื่อสกุลซ้ํากัน ตองระบุชื่อ โดยเขียนคําเต็มหรืออักษรยอ ของชื่อไวดวยเสมอ ตัวอยาง 1 Martin Luther King, Jr., Why We Can’t Wait (New York : New American Library, 1954), 78. 2 Arthur Judson Brown, Memoirs (New York : Wonder Books, 1957), 18 – 19. 3 King, Why We Can’t Wait, 108 – 109. 4 Beverly Brown, The Wounded Heart (Danville, Ill. : Interstate Printers and Publishers, 1958), 60.
  • 8. 26 5 Arthur John Brown, Conspiracy : Confusion and Crisis (London : Lockwood, Crosby & Son, 1959), 31. 6 Arthur Judson Brown, Memoirs, 25. Christopher Alexander, “A City Is Not A Tree,” Architectural Forum 122 (April 1965) : 60. 8 B. Brown, The Wounded Heart, 61 – 62. 9 Alexander, “A City Is Not A Tree,” 62. 10 Arthur John Brown, Conspiracy, 35 – 37. 7 ผูแตงคนเดียวกันมากกวาหนึ่งเรื่อง 1 นิธิ เอียวศรีวงศ, การเมืองไทยสมัยพระนารายณ (กรุงเทพมหานคร : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร, 2523), 30. 2 Martin Luther King, Jr., Why We Can’t Wait (New York : New American Library, 1964), 78. 3 Ibid. 4 นิธิ เอียวศรีวงศ, ประวัติศาสตรนิพนธตะวันตก (กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตร และมนุษยศาสตร, 2525), 59. 5 Arthur Judson Brown, Memoirs (New York : Wonder Books, 1957), 18. 6 นิธิ เอียวศรีวงศ, การเมืองไทยสมัยพระนารายณ, 40 – 41. 7 เรื่องเดียวกัน, 45. 8 นิธิ เอียวศรีวงศ, ประวัติศาสตรนิพนธตะวันตก, 60. งานที่ไมปรากฏชื่อผูแตง การอางถึงงานที่ไมปรากฏชื่อผูแตง โดยปกติจะระบุชื่อเรื่องแทนในรายการผูแตง ดังนั้นเมื่อมีการอางซ้ํา ถึงงานที่ไมปรากฏชื่อผูแตง จึงใหระบุชื่อเรื่องทุกครั้งตามดวยหนาที่อาง ตัดสวนที่เกี่ยวกับครั้งที่พิมพ เมืองที่พิมพ สํานักพิมพ และปที่พิมพออกไป ตัวอยาง 1 ถนอม อานามวัฒน และคนอื่น ๆ , ประวัติศาสตรไทยยุคกอนประวัติศาสตรถึงสิ้นอยุธยา (พระนคร : กรุงสยามการพิมพ, 2518), 15. 2 ลิลิตพระลอ (พระนคร : โรงพิมพไทย, 2458), 21 – 22. 3 “พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2518,” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 92, ตอนที่ 81 (6 กุมภาพันธ 2518) : 50. 4 “การกอสราง,” วารสารบัณฑิตวิทยาลัย 3, 1 (มกราคม – มิถุนายน 2514) : 50 – 51. 5 ลิลิตพระลอ, 23.
  • 9. 27 การอางอิงจากหลักฐานทุติยภูมิ การอางอิงขอเขียนที่ผูเขียนวิทยานิพนธไมไดนํามาจากตนฉบับเดิมโดยตรง แตไดยกมาจากขอเขียนของ ผูอื่นอีกทอดหนึ่ง ตองระบุที่มาใหชัดเจน การเขียนเชิงอรรถสําหรับกรณีเชนนี้เขียนได 2 แบบดังนี้ 1. ถาขึ้นตนดวยชื่อผูแตงและชื่อเรื่องของเอกสารปฐมภูมิ ใหใช “อางถึงใน” (quoted in) หรือ “กลาวถึง ใน” (cited by) นําชื่อผูแตงของเอกสารทุติยภูมิ ตัวอยาง 1 พระยาอนุมานราชธน, แหลมอินโดจีนสมัยโบราณ (พระนคร : สํานักพิมพคลังวิทยา, 2497), 15, อางถึงใน สายจิตต เหมินทร, “การเสียรัฐไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู และปะลิส ของไทยใหแกอังกฤษในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต แผนกวิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2507), 101. 2 เจาพระยาทิพากรวงศ, พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทรรัชกาลที่ 4 (พระนคร : องคการคาของคุรุสภา, 2504), 1 : 205, กลาวถึงใน สุรัตน วรางครัตน, “ไทย-พมา : ปญหาการเผชิญหนาการคุกคามของตะวันตกใน คริสตศตวรรษที่ 19” (วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2521), 198. 3 Jesuit Relations and Allied Documents, vol.59, n.41*, quoted in Archer Butler Hulbert, Portage Paths (Cleveland : Arthur H. Clark, 1903), 181. 4 H. Taylor, “Freedom and Authority on the Campus,” in The American College, ed. R.N. Sanford (New York : Wiley, 1962), 802, cited by George G. Stern, “Measuring Noncognitive Variables in Research on Teaching,” in Handbook of Research on Teaching, ed. N. L. Gage (Chicago : Rand McNally, 1963), 433 – 434. 2. ถาขึ้นตนดวยชื่อผูแตงและชื่อเรื่องของเอกสารทุติยภูมิ ใหใช “อางจาก” (quoting) หรือ “กลาวจาก” (citing) นําชื่อผูแตงของเอกสารปฐมภูมิ ตัวอยาง 1 สายจิตต เหมินทร, “การเสียรัฐไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู และปะลิส ของไทยใหแกอังกฤษในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต แผนกวิชาประวัติศาสตร คณะ อักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2507), 101, อางจาก พระยาอนุมานราชธน, แหลมอินโดจีนสมัยโบราณ (พระนคร : สํานักพิมพคลังวิทยา, 2497), 15. *n เปนตัวยอของ note, footnote พหูพจนใช nn.
  • 10. 28 2 สุรัตน วรางครัตน, “ไทย – พมา : ปญหาการเผชิญหนาการคุกคามของตะวันตกในคริสตศตวรรษที่ 19” (วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2521), 198, กลาวจาก เจาพระยาทิพากรวงศ, พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทรรัชกาลที่ 4 (พระนคร : องคการคาของคุรุสภา, 2504), 1 : 205. 3 Archer Butler Hulbert, Portage Paths (Cleveland : Arthur H. Clark, 1903), 181, quoting Jesuit Relations and Allied Documents, vol. 59, n. 41. 4 George G. Stern, “Measuring Noncognitive Variables in Research on Teaching,” in Handbook of Research on Teaching, ed. N. L. Gage (Chicago : Rand McNally, 1963), 433-434, citing H. Taylor, “Freedom and Authority on the Campus,” in The American College, ed. R.N. Sanford (New York : Wiley, 1962), 802. โดยทั่วไปการอางอิงหลักฐานปฐมภูมิจากหลักฐานทุติยภูมิควรจะใชตามตัวอยางในแบบที่ 1 ซึ่งเนน ขอความที่ถูกอางอิงถึง หรือถือความสําคัญของหลักฐานเลมเดิม มากกวาตัวอยางในแบบที่ 2 ซึ่งเนนความสําคัญของ หลักฐานทุติยภูมิมาก ผูเขียนวิทยานิพนธควรพิจารณาเลือกแบบแผนการเขียนที่จะมีความเหมาะสมกับเนื้อหาใน วิทยานิพนธของตนใหมากที่สุด อนึ่ง การใชวิธีอางเอกสารปฐมภูมิจากหลักฐานทุติยภูมิควรใชเมื่อไมสามารถติดตามอานเอกสารปฐมภูมิ นั้น ๆ ได เพราะเหตุผลที่เปนหนังสือหายาก (rare book) หรือเปนเอกสารที่ไมไดพิมพขึ้นเพื่อการจําหนาย จึงไมอาจ หาตนฉบับเดิมมาอานไดเทานั้น ตัวอยางการเขียนเชิงอรรถของเอกสารชนิดตาง ๆ หนังสือ ผูแตงคนเดียว 1 พิทูร มลิวัลย, วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา (กรุงเทพฯ : โรงพิมพกรมการศาสนา, 2522), 30. 2 Joy Hendry, Marriage in Changing Japan : Community and Society (London : Croom Helm, 1980), 105. 3 John H. Postley, Report on a Study of Behavioral Factors in Information Systems (Los Angeles : Hughes Dynamics, [1960] ), 15.* * รายงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการ ที่ตีพิมพแลว (reports and proceedings published) เขียน เชิงอรรถและบรรณานุกรมเชนเดียวกับหนังสือ
  • 11. 29 4 Joseph Conrad, Heart of Darkness (New York : Doubleday, Page & Co., 1903), chap. 3, p. 45.* 5 John Cheever, Bullett Park (New York : Alfred A. Knopf, 1969), 130. ผูแตงสองคน 1 สมิทธิ ศิริภัทร และ อุไรศรี วรศะริน, วัดสม (กรุงเทพฯ : โรงพิมพอัสสัมชัญพาณิชย, 2520), 59. 2 William G. Campbell and Stephen V. Ballou, Form and Style : Theses Reports, Term Papers, 4th ed. (Boston : Houghton Mifflin Co., 1974), 57 – 59. ผูแตงสามคน 1 นฤมิตร ลิ่วชนมงคล, สุภาพ แสงบุญไท และ ถาวร เก็งวินิจ, คูมือตึกแถว (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ นําอักษรการพิมพ, 2527), 70. 2 George Z.F. Beredy, William W. Brickman, and Gerald H. Head, The Changing Soviet School (Boston : Houghton Mifflin Co., 1960), 45. ผูแตงมากกวาสามคน** 1 ถนอม อานามวัฒน และคนอื่น ๆ, ประวัติศาสตรไทยยุคกอนประวัติศาสตรถึงสิ้นอยุธยา (พระนคร : กรุงสยามการพิมพ, 2518), 101 – 104. 2 Marion C. Sheridon and others, The Motion Picture and the Teaching of English (New York : Appleton - Century – Crofts, n.d.), 39. ไมปรากฏชื่อผูแตง 1 ลิลิตพระลอ (พระนคร : โรงพิมพไทย, 2458), 121 – 125. 2 The International Who’s Who 1981 – 1982 (London : Europa, 1983), 25. ไมปรากฏชื่อผูแตง หาชื่อได 1 [ตรี อมาตยกุล], นําชมหอสมุดดํารงราชานุภาพ (พระนคร : กรมศิลปากร, 2494), 4 – 5. 2 [C.S. Northup], Register of Bibliographies of the English Language and Literature, Cornell Studies in English, no. 9 (New Haven : Yale University Press, 1925), 81. * นวนิยายอาจพิมพขึ้นหลายครั้งโดยหลายสํานักพิมพ จึงควรอางอิงโดยระบุ “บท” หรือ “ตอน” หรือ “เลมที่” ดวย สวนนวนิยายเรื่องใหม ๆ ที่เริ่มพิมพออกวางตลาดระบุเฉพาะ “เลขหนา” ตามปกติดูตัวอยางเชิงอรรถที่ 5 หนา 29 ** ผูแตงมากกวาสามคน สําหรับการเขียนเชิงอรรถภาษาไทยใหใสเฉพาะชื่อผูแตงคนแรกตามดวยคําวา “และคนอื่นๆ” หรือ “และคณะ” ในเชิงอรรถภาษาอังกฤษตามดวยคําวา “and others” หรือ “et al.” แบบใดแบบ หนึ่งใหเปนแบบแผนเดียวกันตลอดเลม
  • 12. 30 นามแฝง หานามจริงได 1 กรมหมื่นพิทยาลงกรณ [น.ม.ส.], นิทานของ น.ม.ส., พิมพครั้งที่ 3 (พระนคร : คลังวิทยา, 2494), 12 - 28. 2 Elizabeth Cartright Penrose [Mrs. Markham], A History of France (London : John Murray, 1872), 9. 3 King Vajiravudh of Thailand [Sri Ayudhya], The Earl of Claverhouse : A Farcical Comedy in 3 Acts (n.p., n.d.), 1. นามแฝง หานามจริงไมได 1 นุชนาถ [นามแฝง], วิธีปลูกไมประดับบาน (พระนคร : แมบานการเรือน, 2505), 40. 2 Alison [pseud.], So Near and Yet So Far (New York : James Munro & Co., 1884), 50 – 59. งานบรรณาธิการ สําหรับหนังสือที่ปรากฏชื่อผูแตง 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก, ชุมนุมพระราชนิพนธและบทประพันธ, รวบรวมและจัดพิมพ โดย ทวน วิริยาภรณ (ธนบุรี : ป. พิศนาคะการพิมพ, 2507), 159 – 176. 2 William C. Hayes, Most Ancient Egypt, ed. Keith C. Seale (Chicago : University of Chicago Press, 1965), 5. ผูรวบรวม ผูจัดพิมพ บรรณาธิการ ในตําแหนงของชื่อผูแตง 1 สุลักษณ ศิวรักษ, ผูรวบรวม, อยูอยางไทยในสมัยศตวรรษที่สามแหงกรุงรัตนโกสินทร รวมปาฐกถาที่ แสดงใน ร.ศ. 199 (กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย, 2525), 123. 2 ทวน วิริยาภรณ, ผูจัดพิมพ, ไกลกังวล (ธนบุรี : ป. พิศนาคะการพิมพ, 2505), 7. 3 คุณวรุณยุพา สนิทวงศ ณ อยุธยา และ วุฒิชัย มูลศิลป, บรรณาธิการ, อนุสรณศาสตราจารย ขจร สุขพานิช (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2521), 147. 4 Medhi Krongkaew, ed., Current Development in Thai – Japanese Economic Relations : Trade and Investment (Bangkok : Thammasat University, 1980), 276. 5 Japan Textile Color Design Center, comp., Textile Designs of Japan (Tokyo : Kodanshu International, 1980), 48. สถาบันในฐานะผูแตง 1 สมาคมหองสมุดแหงประเทศไทย, บรรณารักษศาสตรชุดประโยคครูมัธยม (พระนคร : สมาคมหองสมุด แหงประเทศไทย, 2507), 1 – 7. 2 National Education Television and Radio Center, The Impact of Educational Television (Urbana : University of Illinois Press, 1960), 20. สถาบันในฐานะผูพิมพโฆษณา 1 บรรจบ พันธุเมธา, กาเลหมานไต (พระนคร : สมาคมภาษาและหนังสือ, 2504), 40 – 42. 2 Richard F. Watsan, Prison Libraries (London : Library Association, 1951), 1.
  • 13. 31 หนังสือแปลที่ระบุชื่อผูแตงในภาษาเดิม 1 มารตัน เบทส, มนุษยกับธรรมชาติ, แปลโดย ประชา จันทรเวคิน และ ชูศรี กี่ดํารงกุล (กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2523), 154. 2 Richard Wilhelm, Lectures on the I Ching : Constancy and Change, trans. Irene Eber (New Jersey : Princeton University Press, 1979), 127. หนังสือแปลที่ไมระบุชื่อผูแตงในภาษาเดิม 1 เดือน บุนนาค, ผูแปล, เศรษฐศาสตร, พิมพครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2511), 1 : 98. 2 Suzette Macedo, trans., Diagnosis of the Brazilian Crisis, 3rd ed. (Berkeley : University of California Press, 1965), 147 – 153. หนังสือฉบับพิมพตั้งแตครั้งที่สอง 1 ประเสริฐ ณ นคร, โคลงนิราศหริภุญชัย, พิมพครั้งที่ 2 (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพทาพระจันทร, 2516), 26. 2 Jean Peters, The Bookman’s Glossary, 5th ed. (New York : Bowker, 1975), 15. 3 Charles E. Merriam, New Aspects of Politics, 3rd ed., enl., with a Foreword by Barry D. Karl (Chicago : University of Chicago Press, 1972), 46. 4 John Wight Duff, A Literary History of Rome from the Origins to the Close of the Golden Age, 2 nd ed., edited by A.M. Duff (New York : Barnes and Noble, 1964), 86. หนังสือมีชื่อชุดและลําดับที่ในชุด 1 พระยาอนุมานราชธน [เสฐียรโกเศศ], ประเพณีเนื่องในการแตงงานและประเพณีเนื่องในการปลูกเรือน, หนังสือชุดประเพณีไทย, อันดับที่ 2 (พระนคร : สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2509), 20 – 21. 2 Verner W. Clapp, The Future of the Research Library, Phineas W.Windsor Series in Librarianship, no. 8 (Urbana : University of Illinois Press, 1964), 92. 3 A.S. Arya, Protection of Educational Buildings Against Earthquake, A Manual for Designers and Builders, Educational Building Report 13 (Bangkok : Unesco, Principal Regional Office for Asia and the Pacific, 1987), 15. หนังสือไมปรากฏสถานที่พิมพ และ/หรือ ปที่พิมพ 1 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว, ขอมดําดินแถลงเรื่องตามตํานานและสันนิษฐานโบราณคดีและ เปนบทกลอนละคร (ม.ป.ท., 2456), หนาปกใน. 2 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว, ภาพฝพระหัตถ ภาพลอเสนหมึก พ.ศ. 2461-62-63 (ม.ป.ท., ม.ป.ป.). 3 The Lottery (n.p. : J. Watts, 1931), 20.
  • 14. 32 4 Stuart Piggott, Approach to Archaeology (n.p., 1965), 15. Gordon N. Ray, An Introduction to Literature (New York : Grosset & Dunlap, n.d.), 65. 6 King Vajiravudh of Thailand [Sri Ayudhya], The Earl of Claverhouse : A Farcical Comedy in 3 Acts (n.p., n.d.), 1. หนังสือที่พิมพในโอกาสพิเศษ 1 ประชุมพงศาวดารภาคที่ 31 จดหมายเหตุเรื่องมิชชันนารี อเมริกันเขามาประเทศสยาม (พระนคร : โรงพิมพโสภณพิพรรฒธนากร, 2468. พิมพในงานศพพระยาสารสินสวามิภักดิ์ (เทียนฮี้ สารสิน) ตุลาคม 2468), 59. หนังสือหลายเลมจบของผูแตงคนเดียวกัน ชื่อแตละเลมอยางเดียวกัน 1 กรมพระนราธิปประพันธพงศ, พงศาวดารไทยใหญ (พระนคร : องคการคาของคุรุสภา, 2505), 2 : 10 – 21. 2 William A. Katz, Introduction to Reference Work, 2nd ed. (New York : McGraw – Hill Book Co., 1974), 1 : 13. 3 William M. Bowsky, ed., Studies in Medieval and Renaissance History (Lincoln : University of Nebraska Press, 1965), 2 : 273 – 296. หนังสือหลายเลมจบของผูแตงคนเดียวกัน แตละเลมมีชื่อเฉพาะ 1 หลวงวิจิตรวาทการ, ศาสนาสากล : เปรียบเทียบศาสนาลัทธิและปรัชญาตาง ๆ ทั่วโลก, เลม 1, วาดวยยุค ดึกดําบรรพ (พระนคร : ส.ธรรมภักดี, 2524), 213 – 345. 2 Will Durant, The Story of Civilization, vol. 1, Our Oriental Heritage (New York : Simon & Schuster, 1942), 38. 3 Samuel Taylor Coleridge, The Complete Works of Samuel Taylor Coleridge, ed. W.G.T. Shedd, vol. 1, Aids to Reflection (New York : Harper & Bros., 1884), 18. 4 James A. Crutchfield, ed., The Fisheries : Problems in Resource Management, vol. 1, Studies on Public Policy Issues in Resource Management (Seattle : University of Washington Press, 1965), 67. หนังสือชุดชื่อเรื่องเดียวกัน มีผูแตงหลายคนและมีชื่อเรื่องแยกเฉพาะเลม 1 คุรุสภา, วิชาชุดครูประกาศนียบัตรครูมัธยมของคุรุสภา วิชาภาษาไทย (พระนคร : องคการคาของคุรุสภา, 2505 – 2517), ตอน 6, คูมือลิลิตพระลอ, โดย เรืองอุไร กุศลาศัย, 145. 2 Gordon N. Ray, gen. ed., An Introduction to Literature, 4 vols. (Boston : Houghton Mifflin Co., 1959), vol. 2, The Nature of Drama, by Hubert Hefner, 47 – 49. 5
  • 15. 33 บทความเฉพาะบางเรื่องในหนังสือรวมเลม สืบศักดิ์ สนธิรัตน และ พงศพันธุ เธียรหิรัญ, “ความรูทั่วไปเกี่ยวกับศัตรูพืช,” ใน เอกสารการสอนชุด วิชาการจัดการศัตรูพืช หนวยที่ 1-7 สาขาวิชาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (นนทบุรี : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2539), 1 – 40. 2 วุฒิชัย มูลศิลป, “กบฏอายสาเกียดโงง : วิเคราะหจากเอกสารพื้นเวียง,” ใน กบฏชาวนา , วุฒิชัย มูลศิลป และ ธรรมนิตย วราภรณ, บรรณาธิการ (กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2525), 45. 3 Richard Wright, “Bright and Morning Star,” in Short Stories : A Critical Anthology, ed. Ensaf Thune and Ruth Prigozy (New York : Macmillan, 1973), 370 – 384. คํานําในหนังสือซึ่งเขียนโดยบุคคลอื่น 1 สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, “คํานํา,” ใน จดหมายเหตุเรื่องไตสวนนายกุหลาบ ซึ่งแตงประวัติ สมเด็จพระสังฆราชขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย (พระนคร : หอพระสมุดวชิรญาณ, 2472), ก – ง. บทละครและกวีนิพนธ 1 Louis O. Coxe and Robert Chapman, Billy Budd (Princeton : Princeton University Press, 1951), act 1, sc 2, line 83.* 2 Francis Thompson, “The Hound of Heaven,” in The Oxford Book of Modern Verse (New York : Oxford University Press, 1937), stanza 3, lines 11 – 21.** 3 เสภาเรื่องขุนชาง – ขุนแผนฉบับหอสมุดแหงชาติ, ตอนที่ 16, บรรทัดที่ 1 – 8. 4 พระสมณกุลวงศ, ขุนทึง, ตรวจชําระโดย พิทูร มลิวัลย (ธนบุรี : โรงพิมพประยูรวงศ, [2511] ), โคลงที่ 1 – 5, บรรทัดที่ 1 – 10. 5 อังคาร กัลยาณพงศ, “อยุธยา,” ใน กวีนิพนธของอังคาร กัลยาณพงศ (พระนคร : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัย สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2507), โคลงที่ 1 – 3, บรรทัดที่ 10 –21. 6 Romeo and Juliet, act 3, sc. 2, lines 1 – 30.*** 7 Paradise Lost, bk 1, lines 83 – 86. 8 โคลงนิราศนรินทร, โคลงที่ 1 – 2, บรรทัดที่ 1 – 8. 1 * บทละครและกวีนิพนธสมัยใหมเขียนเชิงอรรถเชนเดียวกับเชิงอรรถของหนังสือโดยทั่วไป แตเพิ่มองค ฉาก หรือบรรทัดแทนหนา ** เปนตัวอยางของการอางบทกวีนิพนธสั้น ๆ ที่คัดจากหนังสือรวมบทกวีนิพนธ *** บทละครและกวีนิพนธที่ไดรับการยกยองวาดีและเปนที่รูจักกันอยางแพรหลายมาตั้งแตอดีตจนสมัย ปจจุบัน (English Classics) และผูแตงมีชื่อเสียงเปนที่รูจักกันดี เชน William Shakespeare ในเชิงอรรถใหเขียนชื่อเรื่อง ขึ้นตนไดเลย โดยไมตองระบุชื่อผูแตง และตัดรายการเกี่ยวกับการพิมพออกได
  • 16. 34 การอางเอกสารปฐมภูมิจากเอกสารทุติยภูมิ* 1 สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, ตํานานหอพระสมุด หอพระมณเฑียรธรรม หอวชิรญาณ หอ พุทธศาสนสังคหะ และหอสมุดสําหรับพระนคร (พระนคร : โรงพิมพโสภณพิพรรฒธนากร, 2459), 110, อางถึงใน แมนมาส ชวลิต, ประวัติหอสมุดแหงชาติ (พระนคร : กรมศิลปากร, 2509), 38. 2 สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, ตํานานหอพระสมุด หอพระมณเฑียรธรรม หอวชิรญาณ หอพุทธศาสนสังคหะ และหอสมุดสําหรับพระนคร, 110, อางถึงใน แมนมาส ชวลิต, ประวัติหอสมุดแหงชาติ (พระนคร: กรมศิลปากร, 2509), 38. 3 Jesuit Relations and Allied Documents, vol. 59, n. 41, quoted in Archer Butler Hulbert, Portage Paths (Cleveland : Arthur H. Clark, 1903), 181. 4 Gamaliel Bradford, The Journals of Garmaliel Bradford, 1883 – 1932, quoted in Monroe E. Deutsch, The Letter and the Spirit (Berkeley : University of California Press, 1943), 134. การอางอิงเอกสารหลายเรื่องในเชิงอรรถเดียวกัน** 1 See Samuel P. Langley, James Smithson (Washington, D.C. : Smithsonian Institution, 1904), 18 - 19 ; Paul Oehser, Sons of Science (New York : Henry Schuman, 1949), 1, 9 – 11 ; and Webster True, The First Hundred Years of the Smithsonian Institution : 1846 – 1964 (Washington, D.C. : Smithsonian Institution, 1946), 2. การอางอิงเอกสารในเชิงอรรถเสริมความ 1 Detailed evidence of the great increase in the array of goods and services bought as income increases is shown in S.J. Prais and H.S. Honthaker, The Analysis of Family Budgets (Cambridge : Cambridge University Press, 1955), table 5, p. 52. 2 In 1962 the premium income received by all voluntary health insurance organizations in the United States was $ 9.3 billion, while the benefits paid out were $ 7.1 billion. See Health Insurance Institute, Source Book of Health Insurance Data (New York : The Institute, 1963), 36, 46. * การอางเอกสารปฐมภูมิจากเอกสารทุติยภูมิ อาจเลือกแบบการเขียนเชิงอรรถตามตัวอยางเชิงอรรถที่ 1 ซึ่ง เขียนขอมูลเกี่ยวกับการพิมพสําหรับเอกสารปฐมภูมิอยางครบถวน แตในกรณีที่เอกสารทุติยภูมิไมไดระบุขอมูล เกี่ยวกับการพิมพของเอกสารปฐมภูมิ ใหเลือกแบบการเขียนเชิงอรรถตามตัวอยางเชิงอรรถที่ 2, 3 และ 4 ซึ่งตัดขอมูล เกี่ยวกับการพิมพของเอกสารปฐมภูมิออกไป ** ในเชิงอรรถใชเครื่องหมายอัฒภาค ( ; ) คั่นระหวางเอกสารแตละเรื่อง แตในหนาบรรณานุกรมตองเขียน เปนบรรณานุกรมของเอกสารแตละเรื่องแยกจากกัน แลวเรียงไวตามลําดับอักษรของผูแตงรวมกับเอกสารอื่น ๆ เชนเดียวกับการเขียนบรรณานุกรมโดยทั่วไป ตัวอยางจาก Michael K. Buckland, Library Services in Theory and Context (New York : Pergamon Press, 1983), 12.
  • 17. 35 3 Professor D.T. Suzuki brings this out with great clarity in his discussion of “stopping” and “no – mindedness” ; see, e.g., his chapter entitled “Swordsmanship” in Zen Buddhism and Its Influence on Japanese Culture (Kyoto : Eastern Buddhist Society, 1983). วารสาร บทความในวารสารภาษาไทย 1 คม ทองพูล, “ทําไมครูไมใชอุปกรณการสอน?,” ประชาศึกษา 33, 6 (มีนาคม 2525) : 5. 2 สายสุนีย สุขนคร, “ราชธานีแหงดอกบัว,” อนุสาร อ.ส.ท. 7, 3 (2510) : 12. 3 สมชัย ฤชุพันธุ, “หลักการในการจัดเก็บภาษีมรดกและภาษีการให,” สรรพากรสาสน 23, 3 (พฤษภาคม – มิถุนายน 2519) : 20 ; 4 (กรกฎาคม – สิงหาคม 2519) : 41. 4 “ขวัญของขาราชการกับความมั่นคงของชาติ,” วารสารพัฒนบริหารศาสตร 10, 1 (มกราคม 2523) : 176. บทความในวารสารภาษาตางประเทศ 1 Joe F. Donaldson and Steve Graham, “A Model of College Outcomes for Adults,” Adult Education Quartery 50,1 (November 1999) : 24 – 40. 2 William C. Hayes, “Most Ancient Egypt,” Journal of Near East Studies 23 (October 1964) : 217. 3 Konrad Loreng, “The Wisdom of Darwin,” Midway, no. 22 (1965) : 48. 4 Katie Wilson, “Rights and Responsibilities in Interlibrary Cooperative Ventures,” Southeastern Librarian 30 (Spring 1980) : 22. 5 American Library Association, Reference and Adult Services Division, Standard Committee, “A Commitment to Information Services,” Library Journal 101 (15 April 1976) : 973. 6 “Air Thermometers,” Consumer Reports 5 (February 1966) : 74. บทวิจารณ 1 ชํานาญ นาคประสม, วิจารณเรื่อง ลายสือสยาม, โดย ส. ศิวรักษ, สังคมศาสตรปริทัศน 5, 1 (มิถุนายน สิงหาคม 2510) : 139 – 141. 2 Harold Ostvold, review of The Future of the Research Library, by Verner W. Clapp, Library Journal 89 (1 June 1964) : 2320 – 2321. สารานุกรม 1 ประพัฒน ตรีณรงค, “ชอฟา,” สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน 10 (2513) : 6078. 2 “ปฏิทิน มาตราวัดเวลา,” สารานุกรมวิทยาศาสตร โดยสาขาครูวิทยาศาสตร สมาคมวิทยาศาสตรแหง ประเทศไทย (2508) : 91 – 92. 3 David P. Ausubel, “Emotional Development,” Encyclopedia of Educational Research, 3rd ed., edited by Chester W. Harris (1960) : 449.
  • 18. 36 4 Robert K. Lane and Daniel A. Livingtone, “Lake and Lake Systems,” Encyclopaedia Britannica (Macropaedia) 10 (1974) : 600 - 616. 5 William Markowitz, “Time, Measurement and Determination of,” Encyclopedia Americana 16 (1965) : 633 a. หนังสือพิมพ บทความในหนังสือพิมพ 1 สวัสดิ์ นิเทศวรวิทย, “ขอคิดบางประการจากคําสั่งที่ 65/2525,” สยามรัฐ, 13 สิงหาคม 2525, 3. 2 Theh Chongkhadikij, “Prasong Warns Vietnam of Russian Threat,” Bangkok Post, 31 August 1982, 1. 3 “Behind that Nobel Prize,” Nation Review, 12 December 1976, 6. การติดตามขาวและขอเท็จจริงในระยะเวลาหนึ่ง 1 สยามรัฐ, 13 สิงหาคม 2525. 2 สยามรัฐ, 4 มกราคม – 5 กุมภาพันธ 2531. 3 สยามรัฐ, 2, 16, 30 กรกฎาคม ; 2, 20, 27 สิงหาคม 2531. 4 Bangkok Post, 16 August 1982. 5 Times (London), 4 January – 6 June 1964. 6 Saturday Review, 2, 6, 30 July ; 2, 20, 27 August 1966. จุลสาร* 1 กรมศิลปากร, 2 เมษายน วันอนุรักษมรดกไทย (กรุงเทพมหานคร : กรมศิลปากร, 2531), 3. นิยะดา ทาสุคนธ, หลักเกณฑการทําบรรณานุกรมและเชิงอรรถเอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทย กระดาษเพลา กระดาษฝรั่ง สมุดฝรั่ง และใบจุม, เอกสารวิชาการงานบริการหนังสือภาษาโบราณ หมายเลข 1/2529 (กรุงเทพมหานคร : หอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร, 2529), 3. สูจิบัตร** 1 ปญญา วิจินธนสาร, “ค้ําจุน, สีอะคริลิค,” ใน 55 ป คณะจิตรกรรม, การแสดงศิลปกรรมครั้งที่ 14 ใน วาระครบรอบ 55 ป คณะจิตรกรรมฯ ของอาจารยคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ หอศิลป คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระ, 15 กันยายน – 5 ตุลาคม 2540 (ม.ป.ท., 2540), 33. 2 * จุลสาร ใชแบบแผนเดียวกับหนังสือ สูจิบัตร ใชแบบแผนเดียวกับหนังสือ **
  • 19. 37 2 55 ป คณะจิตรกรรม, การแสดงศิลปกรรมครั้งที่ 14 ในวาระครบรอบ 55 ป คณะจิตรกรรมฯ ของ อาจารยคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ หอศิลป คณะจิตรกรรมประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระ, 15 กันยายน – 5 ตุลาคม 2540 (ม.ป.ท., 2540). เอกสารอัดสําเนาและเอกสารที่ไมไดตีพิมพอื่น ๆ 1 “รายงานการสํารวจรานขายหนังสือเกาทองสนามหลวง,” เอกสารประกอบวิชา 118 654 หนังสือหายาก และหนังสือตัวเขียน ภาควิชาบรรณารักษศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2522. (อัดสําเนา) 2 ธนาคารแหงประเทศไทย, “ประกาศเรื่องรับสมัครสอบคัดเลือกเพื่อบรรจุเปนบรรณสารารักษผูชวย,” กันยายน 2523. (พิมพดีด) 3 ปวย อึ๊งภากรณ, “การพัฒนาชาติไทย,” ปาฐกถาในงานชาเตอรไนทที่สโมสรไลออนสตรัง, 18 พฤษภาคม 2517. (อัดสําเนา)* 4 นิคม จันทรวิทูร, “การกระจายรายไดและแรงงาน,” เอกสารในการสัมมนาเรื่องสถานการณทางเศรษฐกิจ ในรอบป 2519 และแนวโนมในอนาคตป 2520 เสนอที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 24 กุมภาพันธ 2520. 5 “บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,” (ม.ป.ท., ม.ป.ป.). (แผนพับ) 6 J.R. Nichols, “Opiates as Reinforcing Agents : Some Variables Which Influence Drug – Seeking in Animals,” paper presented at the meeting of the American Psychological Association, Washington, D.C., 24 September 1967. 7 Max Lerner, “Can We Claim the Future?” Opinion expressed at California State University, Fresno, 14 July 1964. (Mimeographed) 8 American Institute of Planners, Chicago Chapter, “Regional Shopping Centers Planning Symposium,” Chicago, 1942. (Mimeographed) 9 Morristown (Kansas) Children’s Home, “Minutes of Meetings of the Board of Managers, 1945 - 55,” meeting of 6 May 1950. (Typewritten) วิทยานิพนธ 1 มนตรี มีเนียม, “บทบาทของพราหมณในวรรณคดีไทย” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2531), 49. * รายงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการที่ยังไมไดจัดพิมพเปนรูปเลม (unpublished reports and proceedings) ถาชื่อของเอกสารยังไมระบุวาเปนเอกสารรายงานการประชุมสัมมนาตองเขียน (อัดสําเนา) หรือ (mimeographed/ photocopied) และ (พิมพดีด) หรือ (Typewritten) ประกอบไวขางทายของรายการเชิงอรรถและ บรรณานุกรมดวย
  • 20. 38 2 Marilyn Rosenthal, “Poetry of the Spanish Civil War” (Ph.D. dissertation, New York University, 1972), 27. สิ่งพิมพรัฐบาลและเอกสารอื่น ๆ ของทางราชการ 1 สํานักงานเลขาธิการรัฐสภา, รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎรครั้งที่ 8 - ครั้งที่ 9 (สมัยวิสามัญ) (กรุงเทพฯ : โรงพิมพสํานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2522), 3 : 223. 2 มหาวิทยาลัยศิลปากร, “ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง ปฏิทินการศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2525,” 1 เมษายน 2525. 3 กระทรวงศึกษาธิการ, “ระเบียบคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติวาดวยกลุมโรงเรียนประถมศึกษา พ.ศ. 2523,” 27 พฤศจิกายน 2523. 4 ทบวงมหาวิทยาลัย, “รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาใชคอมพิวเตอรในหองสมุด, ครั้งที่ 5/2528,” 27 มิถุนายน 2528. 5 มหาวิทยาลัยศิลปากร, บัณฑิตวิทยาลัย, “รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย, ครั้งที่ 9/2531,” 29 กรกฎาคม 2531. 6 คณะกรรมาธิการการศึกษาและวัฒนธรรม (สภานิติบัญญัติแหงชาติ), “บันทึกการประชุมพิจารณาราง พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ..., ครั้งที่ 5/2521,” 2 สิงหาคม 2521. 7 สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, “มติคณะรัฐมนตรี ที่ สร. 0401/ว.50 เรื่องการลงโทษขาราชการที่กระทํา ความผิดวินัยกรณีทุจริตในการสอบ,” 12 เมษายน 2511. 8 กรมสรรพากร, “หนังสือที่ กค. 0802/10123,” 22 สิงหาคม 2531. 9 “พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. 2523,” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 97, ตอนที่ 158 (13 ตุลาคม 2523) : 10 –13. 10 U.S., Department of Interior, Office of Indian Affairs, Annual Report of the Commissioner of Indian Affairs to the Secretary of the Interior, for the Fiscal Year Ended 30 June 1932, 24. 11 U.S., Department of Commerce, Bureau of the Census, United States Census of Population : 1960, vol. 1, Characteristics of the Population, pt. 6, California. การสัมภาษณ 1 สัมภาษณ หมอมเจา สุภัทรดิศ ดิศกุล, คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2 กันยายน 2525. 2 Interview with Edward Teller, nuclear scientist, Livermore, California, 12 July 1962. 3 Interview with Patya Saihoo, Director, Social Research Institute, Chulalongkorn University, 25 August 1978.
  • 21. 39 ตนฉบับตัวเขียน* 1 “ความทรงจําเรื่องกรุงเกาเสียแลว เจาตากมาตั้งเมืองธนบุรี,” หอสมุดแหงชาติ, สมุดไทยดํา, อักษรไทย, ภาษาไทย, เสนขาว, จ.ศ. 1129, เลขที่ 28, หนาตน 2 – 3.** 2 “ตําราพิไชยสงครามเลม 1,” หอสมุดแหงชาติ, สมุดไทยดํา, อักษรไทย, ภาษาไทย, เสนรงค, รัชกาลที่ 3, เลขที่ 46, หนาตน 2 – 3. 3 “ตําราพิไชยสงครามเลม 5,” หอสมุดแหงชาติ, สมุดไทยขาว, อักษรขอม – ไทย, ภาษาบาลี – ไทย, เสน หรดาล, ม.ป.ป., เลขที่ 217, หนาปลาย 45.*** 4 “กฎกระทรวงกลาโหมใหแกพระยานครศรีธรรมราช จ.ศ. 1173,” หอสมุดแหงชาติ, กระดาษเพลา, อักษรไทย, ภาษาไทย, เสนดินสอ, จ.ศ. 1173, เลขที่ 15, หนาตน 4 – 5. 5 “มูลยมก,” วัดไหลหิน อ.เกาะคา จ.ลําปาง, หนังสือใบลาน, อักษรธรรมลานนา, ภาษาบาลี, เสนจาร, จ.ศ. 859, ฉบับชาดทึบ, เลขที่ 4. 6 “สําเนาพระบรมราชโองการ จ.ศ. 1138,” หอสมุดแหงชาติ, กระดาษฝรั่ง, อักษรไทย, ภาษาไทย, เสนหมึก, จ.ศ. 1138, เลขที่ 7/ก. 7 “จดหมายเหตุรัชกาลที่ 5,” หอสมุดแหงชาติ, สมุดไทยดํา, เสนดินสอขาว, มัดที่ 102, เลมที่ 19, ฉบับที่ 1. 8 London, British Library, Arundel MSS, 285, fol. 165 b. 9 Stimson Diary and War Letters, February 1981, Henry L. Stimson Papers, Yale University, New Haven, Conn. 10 Gen. Joseph G. Castner, “Report to the War Department,” 17 January 1927, Modern Military Records Division, Record Group 94, National Archives, Wasington, D.C. 11 Washington, D.C., National Archives, Modern Military Records Division, Record Group 94. * ตนฉบับตัวเขียนแตละฉบับมีลักษณะพิเศษแตกตางกัน การเขียนเชิงอรรถและบรรณานุกรมใหมี หลักเกณฑเดียวกันเปนไปไดยาก ดังนั้นจึงใหบันทึกรายการทางบรรณานุกรมเทาที่จะทําใหผูอานทราบไดวาเปน เอกสารชิ้นใดและเก็บไวที่ใด ** หนาตน หมายถึง ดานหนาของหนังสือสมุดไทยหรือกระดาษเพลา ดังนั้น หนาตน 2 – 3 ในตัวอยางนี้ จึงหมายถึง หนาที่ 2 – 3 ของดานหนาของหนังสือสมุดไทย *** หนาปลาย หมายถึง ดานหลังของหนังสือสมุดไทยหรือกระดาษเพลา ดังนั้น หนาปลาย 45 ใน ตัวอยางนี้จึงหมายถึง หนาที่ 45 ของดานหลังของหนังสือสมุดไทย
  • 22. 40 เอกสารของหอจดหมายเหตุแหงชาติ เอกสาร : อางอิงทุกฉบับ 1 “เรื่องโรงเรียนกฎหมาย,” 24 กุมภาพันธ 2452 – 1 ตุลาคม 2461, เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 6 กระทรวงยุติธรรม, ร.6 ย. 1/1,* หอจดหมายเหตุแหงชาติ. เอกสาร : อางอิงเฉพาะบางเอกสาร 1 “หนังสือกระทรวงยุติธรรมที่ 93/3368, 24 กุมภาพันธ ร.ศ. 128, หมอมเจา จรูญศักดิ์ กฤษดากร กราบ บังคมทูล พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว,” เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 6 กระทรวงยุติธรรม, ร.6 ย. 1/1, หอจดหมายเหตุแหงชาติ. เอกสารเย็บเลม : อางอิงทั้งเลม 1 หอจดหมายเหตุแหงชาติ, เอกสารเย็บเลม กรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 5 กระทรวงมหาดไทย (จ.ศ. 1229 – 1230), ร.5 รล. มท. เลม 1 . เอกสารเย็บเลม : อางอิงเฉพาะบางเอกสาร 1 “เรื่องนําตั้งหลวงบริบูรณสุรากรเปนที่พระบริบูรณโกษากรเจาภาษีฝน จ.ศ. 1229,” เอกสารเย็บเลม กรม ราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 5 กระทรวงมหาดไทย, ร.5 รล. มท. เลม 1, หอจดหมายเหตุแหงชาติ, หนา 1. แผนที่ 1 “แผนที่แสดงที่พักทหารฝายสยามจับพวกขบถปาหัง, พ.ศ. 2438,” แผนที่กรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 5 กระทรวงมหาดไทย, ผ.ร. 5 ม. 25, หอจดหมายเหตุแหงชาติ. ภาพ 1 “พระบรมฉายาลักษณพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว, พ.ศ. 2476,” ภาพสวนบุคคล, ภ.สบ. 20.1/1, หอจดหมายเหตุแหงชาติ. แถบบันทึกเสียง 1 สัมภาษณ นายจาย แซตั้ง, 22 กรกฎาคม 2522. แถบบันทึกเสียงสวนบุคคล, ถ.สบ. 212, หอจดหมายเหตุ แหงชาติ. เอกสารไมตีพิมพ (Nonprint sources) ฟลมสตริป ภาพยนตร 1 “Orchids, Encyclopaedia,” Britannica Films, 1972. (Filmstrip) col., 25 fr. 2 “The Origins of Man,” Paramount Films, 1965. (Film) 16 mm., col., sd., 28 min. * ร.6 ย. 1 / 1 เปนสัญลักษณที่หอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร กําหนดขึ้นเพื่อจัดเก็บเอกสาร จดหมายเหตุภายในหอจดหมายเหตุแหงชาติ
  • 23. 41 รายการวิทยุ รายการโทรทัศน 1 พจน สารสิน, “ความอยูรอดของเศรษฐกิจไทย,” บทวิทยุออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแหง ประเทศไทย, 13 เมษายน 2520. 2 “สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ,” ภาพยนตรชุดมรดกของไทย เสนอทางโทรทัศน ชอง 4, 22 มิถุนายน 2505. แถบเสียง 1 หมอมหลวง จอย นันทิวัชรินทร, “การเขียนตํารา,” บรรยายที่วิทยาลัยครูธนบุรี, 8 กันยายน 2523. (เทปตลับ) 2 ตลับ 7½ น/ว. 2 Harold C. Holland, “Dynamics : Some New Perspcetives,” Lecture Given at University of Southern California, Los Angeles, 11 June 1973. (Phono tape) 1 reel 3¼ i.p.s. แผนที่ภาพถายทางอากาศและภาพถายดาวเทียม 1 กรมแผนที่ทหาร, “ดอยปาซาง,” ระวาง 4840 II, พิมพครั้งที่ 1 – RTSD. แผนที่ประเทศไทย ลําดับชุด L 7017, 2527. มาตราสวน 1 : 50,000. 2 กรมแผนที่ทหาร, “ภาพถายทางอากาศชุด WWS,” M 100, no. 1737, 2 February 1954. 3 กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและการพลังงาน, สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กองสํารวจ ทรัพยากรธรรมชาติดวยดาวเทียม, “เมืองพิษณุโลกจากอากาศ ภาพถายทอดดาวเทียมแลนดแซท ระบบ ธีแมติคแมบเปอร (TM),” ภาพสีผสม, 17 มกราคม 2531, มาตราสวน 1 : 50,000. ไมโครฟอรม 1 Godwin C. Chu and Wilbur Schramm, Learning From Television : What the Research Says (Bethesda, Md. : ERIC Document Reproduction Service, ED 014 900* , 1967), 3. ผลงานศิลปะ 1 ศิลป พีระศรี, คุณมาลินี พีระศรี, ปลาสเตอร, 2502, พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระนคร. สื่ออิเล็กทรอนิกส การอางอิงขอมูลหรือสารสนเทศที่คนไดจากสื่ออิเล็กทรอนิกส ซึ่งในที่นี้ประกอบดวย การอางอิงขอมูล จากบริการตางๆ บนอินเทอรเน็ต การอางอิงจากฐานขอมูลออนไลน และซีดีรอม มีรูปแบบการเขียนรายการอางอิง ดังนี้ 1 ผูแตงหรือผูรับผิดชอบ, ชื่อเรื่อง [ประเภทของสื่อ], ปพิมพหรือวันเดือนปที่อางอิง. แหลงที่มาของขอมูล หรือสารสนเทศ * อันดับที่ผลิต