SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
ทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภท : วัสดุตีพิมพ์
รายการทรัพยากร : หนังสือ
ความหมาย
หนังสือเป็นสิ่งพิมพ์ที่รวบรวมสารสนเทศทั้งทางด้านวิชาการ สารคดีและบันเทิงคดี ให้เนื้อหาที่จบ
บริบูรณ์ในเล่มเดียวหรือหลายเล่มที่เรียกว่า หนังสือชุด
ประเภท
ประเภทของหนังสือจัดแยกตามลักษณะเนื้อหา ดังนี้
1. หนังสือวิชาการหรือหนังสือตารา (TEXT BOOK)
2. หนังสือสารคดี
3. หนังสือแบบเรียน
4. หนังสืออ้างอิง (REFERENCE BOOKS)
5. วิทยานิพนธ์หรือปริญญานิพนธ์ (THESIS OR DISSERTATION)
6. รายงานการวิจัย (RESEARCH REPORT)
7. รายงานการประชุมทางวิชาการ (PROCEEDINGS)
8. นวนิยายและเรื่องสั้น (SHORT STORY COLLECTION)
ประเภท
1. หนังสือวิชาการหรือหนังสือตารา (TEXT BOOK)
หมายถึง หนังสือที่ให้ความรู้ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง โดยผู้แต่งที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา
การนาเสนอเนื้อหามักใช้คาศัพท์เฉพาะทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง มีภาพประกอบ ตาราง แผนภูมิ แผนที่
แผนผัง เพื่อการอธิบายเรื่องราวให้ละเอียดชัดเจน
2. หนังสือสารคดี
หมายถึง หนังสือที่นาเสนอเรื่องราวกึ่งวิชาการเพื่อความเพลิดเพลินในการอ่าน และหลีกเลี่ยงการใช้
คาศัพท์เฉพาะทางวิชาการเพื่อให้เข้าใจเนื้อหาสาระได้โดยง่าย เช่น หนังสือนาเที่ยว หนังสือสรรพสาระ
(READER DIJET) เป็นต้น
3. หนังสือแบบเรียน
หมายถึง หนังสือที่จัดทาขึ้นตามหลักสูตรรายวิชาเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนของนักเรียนนักศึกษา
ในระดับต่าง ๆ นาเสนอเนื้อหาตามข้อกาหนดในหลักสูตร ต่างจากหนังสือตาราทั่วไปที่มีคาถามท้ายบท
เพื่อให้ผู้เรียนได้ประเมินผลการเรียนและทบทวนบทเรียน
4. หนังสืออ้างอิง (REFERENCE BOOKS)
หมายถึง หนังสือที่รวบรวมเรื่องราวข้อเท็จจริงในสาขาวิชาต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า เช่น
หนังสือสารานุกรม พจนานุกรม นามานุกรม หนังสืออ้างอิงชีวประวัติ หนังสืออ้างอิงภูมิศาสตร์ หนังสือรายปี
หนังสือบรรณานุกรม หนังสือดัชนีและสาระสังเขป และหนังสือคู่มือ เป็นต้น โดยทั่วไปทางห้องสมุดจะจัดแยก
หนังสืออ้างอิงออกจากหนังสือทั่วไป เพื่อความสะดวกในการเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว และมักจะ
ไม่ให้ยืมออกจากห้องสมุด ทั้งนี้เพราะผู้ค้นคว้าต้องการคาตอบในปัญหาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยไม่จาเป็นต้องอ่านตลอด
เล่ม และเพื่อให้สามารถเรียกใช้ได้ตลอดเวลา
5. วิทยานิพนธ์หรือปริญญานิพนธ์
(THESIS OR DISSERTATION)
เป็นรายงานผลการค้นคว้าวิจัยเพื่อขอรับปริญญาตามหลักสูตรในระดับปริญญาโท (THESIS) และ
ปริญญาเอก (DISSERTATION) เนื่องจากเป็นรายงานผลการค้นพบสาระความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ
ที่ได้จากการสารวจ ทดลอง วิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างเป็นระบบภายใต้การให้คาปรึกษาจากอาจารย์ที่
ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่าง ๆ จึงเหมาะสาหรับการใช้เป็นข้อมูลประกอบการเขียนเอกสารตารา
วิชาการ หรือรายงานภาคนิพนธ์
6. รายงานการวิจัย (RESEARCH REPORT)
เสนอสารสนเทศที่เป็นผลผลิตจากการศึกษา ค้นคว้าวิจัยเนื้อหามักประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ข้อความเกี่ยวกับ
ผู้เขียน สาระสังเขป บทนา วัตถุประสงค์ ขอบเขต และวิธีดาเนินการวิจัย ผลการวิจัย บทสรุป และ รายการ
อ้างอิง
7. รายงานการประชุมทางวิชาการ
(PROCEEDINGS)
ให้สารสนเทศที่ได้จากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของนักวิชาการที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจเป็นข้อสรุปในการ
แก้ปัญหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความรู้ใหม่ที่ค้นพบ หรือข้อตกลงในแผนงานหรือนโยบายใหม่ ที่นักวิชาการ
นาเสนอในการประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ
8. นวนิยายและเรื่องสั้น (SHORT STORY
COLLECTION)
เป็นหนังสือที่แต่งขึ้นตามจินตนาการ เน้นความสนุกความเพลิดเพลิน และความซาบซึ้งในอรรถรส
วรรณกรรม สารสนเทศจากนวนิยายนามาใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงข้อเท็จจริงไม่ได้
รายละเอียดของหนังสือ
1. หนังสือทั่วไป (GENERAL BOOKS) แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
1.1 หนังสือสารคดี (NON-FICTION BOOK) คือ หนังสือที่ใช้อ่านเพื่อความรู้ และ
ข้อเท็จจริงในเรื่องต่างๆ เช่น หนังสือตารา แบบเรียน
1.2 หนังสือบันเทิงคดี (FICTION BOOK) เป็นหนังสือที่เขียนขึ้นจากจินตนาการ อ่านเพื่อความ
สนุกเพลิดเพลิน เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น
คุณลักษณะและการใช้งานของหนังสือทั่วไปในแต่ละประเภทย่อยของหนังสือเล่มต่างๆ ก็จะมี
ลักษณะเฉพาะ เช่น หนังสือสาหรับเด็กก็มักมีภาพมากและใช้ตัวหนังสือตัวโต ส่วนหนังสือแบบฝึกหัดที่
นักเรียนต้องเขียนคาตอบในเล่ม มักเป็นหนังสือปกอ่อน ใช้กระดาษไม่ต้องดีมาก พอให้เขียนตอบได้ เพราะใช้
เขียนกันครั้งเดียว ราคาไม่แพง เพื่อให้นักเรียนสามารถซื้อได้ เป็นต้น
หนังสือทั่วไป (General Books)
รายละเอียดของหนังสือ
2. หนังสืออ้างอิง (REFERENCE BOOKS) คือ หนังสือที่รวบรวมข้อเท็จจริงเพื่อใช้ประโยชน์ได้
อย่างรวดเร็ว เป็นหนังสือที่อ่านเฉพาะตอนที่ต้องการ ไม่จาเป็นต้องอ่านตลอดทั้งเล่ม มีวัตถุประสงค์ในการ
จัดทาเพื่อเป็นแหล่งความรู้และการค้นหาข้อเท็จจริงอย่างสั้นๆ มีประโยชน์ในการค้นคว้าวิจัยและการเรียนการ
สอน
คุณลักษณะและการใช้งานของหนังสืออ้างอิง
1. พิจารณาเรื่องที่ต้องการสืบค้นให้แน่ชัดว่าต้องการเรื่องอะไรแล้วจึงเลือกประเภทหนังสืออ้างอิงที่คาดว่า
จะให้คาตอบเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการนั้น
2. อ่านคาชี้แจงหรือวิธีใช้ก่อนการใช้งาน คาอธิบายวิธีใช้มักจะปรากฏอยู่ในส่วนนาเรื่องหรือเล่มแรกของ
หนังสือชุด
3. พิจารณาการเรียบเรียงเนื้อหาของหนังสืออ้างอิง โดยทั่วไปหนังสืออ้างอิงจะจัดเรียงเนื้อหาตามลาดับ
ตัวอักษร ตามลาดับหัวเรื่อง หรือตามลาดับเหตุการณ์
4. ศึกษาเครื่องหมายและอักษรย่อที่ใช้ในเล่ม หนังสืออ้างอิงมักใช้สัญลักษณ์พิเศษหรืออักษรย่อ เช่น
สัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับการออกเสียงคา อักษรย่อ สาหรับบอกลักษณะและหน้าที่ของคาในหนังสืออ้างอิง
ประเภทพจนานุกรม เป็นต้น
5. ใช้เครื่องมือช่วยค้นที่มีในหนังสืออ้างอิง
คุณลักษณะและการใช้งานของหนังสืออ้างอิง
คุณลักษณะของหนังสือ
ควรพิจารณาในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. เนื้อหาดี กล่าวคือ เป็นเนื้อหาที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อ่าน มีเนื้อหาแปลกใหม่ นาเสนอข้อมูลทันสมัย
เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ที่สาคัญต้องมีเนื้อหาที่ถูกต้องและได้รับการยอมรับว่าเชื่อถือได้
2. แนวคิดดี กล่าวคือ เป็นแนวคิดที่มีความสร้างสรรค์ พัฒนาศักยภาพของความเป็นมนุษย์ได้
3. ภาษาดี กล่าวคือ ใช้ถ้อยคาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย สอดคล้องกับเรื่องราวที่
นาเสนอ
4. รูปแบบดี กล่าวคือ สามารถเลือกรูปแบบการน าเสนอได้สอดคล้องกับเรื่องราว เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
5. กลวิธีการนาเสนอเป็นไปโดยลาดับ กล่าวคือ มีวิธีการเขียนที่เป็นลาดับ ลาดับขั้นตอน หรืออาจเป็นไปตาม
ช่วงเวลา โดยไม่ก่อให้เกิดความสับสนกับผู้อ่าน แต่อย่างไรก็ตามยังอาจขึ้นอยู่กับเนื้อหาและรูปแบบการแต่งด้วย
6. การจัดพิมพ์มีคุณภาพ ทั้งในด้านรูปเล่ม การสะกดถ้อยคา และการเลือกใช้ภาพที่เหมาะสม
คุณลักษณะของหนังสือ
จุดเด่น
1. หนังสือสะดวกต่อการใช้ สามารถอ่านได้ตลอดเวลาโดยไม่จากัดสถานที่ ซึ่งต่างกับ
โสตทัศนวัสดุที่ต้องอาศัยเครื่องช่วยการใช้ และมีสถานที่เฉพาะ เช่น ภาพยนตร์ แถบภาพ
หรือแถบเสียง เป็นต้น
2. หนังสือให้รายละเอียด เนื้อหาได้มากและลึกซึ้งกว่าสื่ออื่น ๆ
3. หนังสือราคาถูกกว่า ถ้าเปรียบเทียบในคุณภาพเดียวกัน แต่หนังสือที่ราคาสูง คุณภาพและ
ประโยชน์จะมากกว่าสื่ออื่น ๆ โดยเฉพาะคุณค่าในด้านอนุรักษ์ความรู้
4. หนังสือช่วยสื่อความหมายและถ่ายทอดได้อย่างถูกต้อง เพราะเป็นลายลักษณ์อักษร ตลอดจนเร้าให้เกิด
ความอยากทดลองปฏิบัติตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ ซึ่งผู้อ่านสามารถทบทวนตามได้ โดยไม่เร่งรีบ ต่างกับ
การใช้สื่อประเภทภาพยนตร์ หรือแถบภาพ ซึ่งต้องปฏิบัติให้ทันในเวลาจากัด
5. หนังสือจะส่งเสริมการสร้างนิสัยรักการอ่าน และศึกษาค้นคว้าได้มากกว่าสื่ออื่น ๆ เพราะสามารถสัมผัสได้
ด้วยตนเอง ทาให้เกิดอารมณ์และความคิดคล้อยตาม
6. การเก็บและบารุงรักษาหนังสือจะสะดวกกว่าสื่ออื่น ๆ เพราะไม่ต้องมีเทคนิคและวิธีการที่ซับซ้อน
จุดเด่น
7. แม้ปัจจุบันวัสดุย่อส่วนต่าง ๆ จะอนุรักษ์หนังสือเก่าไว้ได้ แต่ก็ยังอาศัยรูปแบบจากต้นฉบับหนังสือเดิม
และวิธีการใช้ก็ยุ่งยากมากกว่า ถ้าเปรียบเทียบกับการอ่านจากหนังสือ
จุดเด่น
ประโยชน์และความสาคัญ
1. บันทึกเรื่องราวต่างๆ ไว้อย่างละเอียดชัดเจน
2. เป็นหลักฐานที่ทาให้มนุษย์ได้รับทราบเรื่องราวที่เกิดขึ้นในอดีต ถ่ายทอดวัฒนธรรมและเรื่องราวจากอดีต
ถึงปัจจุบัน
3. เป็นแหล่งถ่ายทอดความรู้เรื่องราวต่างๆ ให้ผู้คนได้ศึกษา ให้ความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนข้อเท็จจริงต่างๆ
แก่มนุษย์เพื่อทาให้เกิดความเจริญงอกงามทางด้านปัญญา
4. ส่งเสริมความใฝ่ รู้ให้แก่ผู้อ่านด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย และรูปเล่มที่ดึงดูดความสนใจ
5. สร้างนิสัยรักการอ่าน และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ผ่อนคลายอารมณ์
6. ทาให้เกิดความเจริญงอกงามทางด้านจิตใจ เกิดความงามหรือสุนทรียภาพทางอารมณ์แก่มนุษย์
ประโยชน์และความสาคัญ
1. หนังสือ ตารา แบบเรียน เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่แสดงเนื้อหาวิชาการในศาสตร์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อสื่อให้ผู้อ่าน
เข้าใจความหมาย ด้วยความรู้ที่เป็นจริง จึงเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่เน้นความรู้อย่างถูกต้อง จึงจัดได้ว่าเป็นสื่อ
สิ่งพิมพ์ที่ถูกนาไปใช้ในสถานศึกษาโดยทั่วไป
บทบาทในปัจจุบัน
2. ในปัจจุบันนี้ หนังสือเรียนเป็นสื่อที่มีบทบาทสาคัญต่อการจัดการเรียนการสอนของทั้งผู้สอนและผู้เรียน
หนังสือถือเป็นสิ่งที่ช่วยให้ผู้เรียนนั้นเกิดการเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น ประหยัดเวลา ช่วยถ่ายทอดความรู้สึกความคิด
ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ช่วยให้ความเข้าใจและจดจาได้อย่างรวดเร็ว แน่นอนว่าหนังสือเรียนต้องมีอิทธิพล
ต่อทุกคนอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นผู้สอนหรือผู้เรียน เพราะว่าหนังสือที่พวกเราได้นามาเล่าเรียน หรือนามาศึกษา
นั้นก็เรียกกันว่าหนังสือเรียน คนทุกคนที่ไม่ว่าจะเข้าเรียนในโรงเรียนหรือว่าเรียนพิเศษ ทุกคนก็ต้องมีหนังสือ
เรียนมาใช้ในการประกอบการเรียนการสอน อย่างเวลาที่เราต้องสอบ เราทุกคนก็จะต้องอ่านและทบทวน
บทเรียนในหนังสือเรียน หนังสือเรียนส่วนใหญ่นั้นนักเรียนจะมองว่าเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ เพราะบางวิชาเนื้อหาจะ
ค่อนข้างเยอะและยาก สาหรับนักเรียนที่จะอ่านเข้าใจได้เอง การเรียนการสอนส่วนใหญ่นั้น ผู้สอนจะอาศัย
หนังสือเรียนเป็นแนวทางในการเรียนการสอน
จัดทาโดย
นางสาวปรางวดี มณีพรหม รหัสนักศึกษา 405904003 สาขา คณิตศาสตร์
นายอิลยัส แวยะโก๊ะ รหัสนักศึกษา 405904011 สาขา คณิตศาสตร์
นายมุคนี หัดดนหละ รหัสนักศึกษา 405904024 สาขา คณิตศาสตร์
นางสาวตัสนีม มะซู รหัสนักศึกษา 405904032 สาขา คณิตศาสตร์
G.14 (25.หนังสือ)

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงSupaporn Khiewwan
 
หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงSupaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศfaida student
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงนาเดีย น่ารัก
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความmayavee16
 
หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงSuriyapong
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยnoinasang
 
Lesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปLesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปSamorn Tara
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)Asmataa
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์เล็ก เล็ก
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 

What's hot (20)

ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
 
หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิง
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความ
 
หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิง
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
Lesson4 refer11
Lesson4 refer11Lesson4 refer11
Lesson4 refer11
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
 
หนังสือ
หนังสือหนังสือ
หนังสือ
 
Lesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปLesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุป
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
 
Academic article
Academic articleAcademic article
Academic article
 
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
แบบฝึกเล่ม 1
แบบฝึกเล่ม 1แบบฝึกเล่ม 1
แบบฝึกเล่ม 1
 

Similar to G.14 (25.หนังสือ)

Related literature
Related literatureRelated literature
Related literatureiamthesisTH
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยsanya111
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)Asmataa
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธkhaowpun
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องDuangdenSandee
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc newsunshine515
 
ScienceDirect...New
ScienceDirect...NewScienceDirect...New
ScienceDirect...Newsunshine515
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc newsunshine515
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc newsunshine515
 
ScienceDirect New
ScienceDirect NewScienceDirect New
ScienceDirect Newsunshine515
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc newsunshine515
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
G.14 (7.จุลสาร)
G.14 (7.จุลสาร)G.14 (7.จุลสาร)
G.14 (7.จุลสาร)FadilJeje
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือsutthirat
 

Similar to G.14 (25.หนังสือ) (20)

Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
Related literature
Related literatureRelated literature
Related literature
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธ
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc new
 
ScienceDirect...New
ScienceDirect...NewScienceDirect...New
ScienceDirect...New
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc new
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc new
 
ScienceDirect New
ScienceDirect NewScienceDirect New
ScienceDirect New
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc new
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
Printed Meterial
Printed MeterialPrinted Meterial
Printed Meterial
 
G.14 (7.จุลสาร)
G.14 (7.จุลสาร)G.14 (7.จุลสาร)
G.14 (7.จุลสาร)
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
 

G.14 (25.หนังสือ)