SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
พ.อ. มารวย ส่งทานินทร์
ที่ปรึกษาศูนย์อานวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้า
12 สิงหาคม 2556
Adapted from:
A Framework for Leading the Transformation to Performance Excellence
(LTPE Framework)
By
John R. Latham, University of Northern Colorado, 2013
ทบทวนจากความตอนทีแล้ว
่
 กรอบการนาองค์กร (LTPE Framework) ประกอบด้วย 35 ปั จจัย
จัดได้เป็ น 5 กลุม
่
 ได้กล่าวถึงรายละเอียดใน 2 กลุมแรกแล้ว ที่เป็ นมุมมองด้าน
่
วิทยาศาสตร์ คือ
1.แรงผลักดันและผูประสานงานในการเปลี่ยนแปลง (5 Forces and
้
facilitators of change)
2.แนวทางการนาองค์กร (9 Leadership approaches)
มีอีก 3 กลุมที่จะกล่าวถึงต่อไป เป็ นมุมมองด้านศิลปะ ในการนา
่
องค์กร คือ
3.พฤติกรรมของผูนา (9 Leadership behaviors)
้
4.ลักษณะเฉพาะของผูนา (5 Individual leader characteristics)
้
5.วัฒนธรรมองค์กร (7 Organizational culture)




กว่า 20 ปี มาแล้ว ที่ 1,000 กว่าองค์กร สมัครเข้ารับรางวัล
Baldrige ซึ่งมีเพียงร้อยละ 10 เท่านั้นที่ประสบผลสาเร็จ
จุดประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อหาแนวทางที่ผนาสูงสุด 14
ู้
องค์กรที่ได้รบรางวัล ว่ามีวิธีการอย่างไร ในการปรับเปลี่ยน
ั
องค์กรไปสู่ องค์กรแห่งความเป็ นเลิศ
พฤติกรรมของผูนำ
้
 เป็ นแบบอย่ำงที่ดี (b1—Role model)
 กำรเคำรพกันและกัน (b2—Respect)
 ควำมร่วมมือ (b3—Collaborative)
 กำรติดต่อสื่อสำร (b4—Communication)
 ควำมพยำยำม (b5—Persistent)
 ควำมรับผิดชอบ (b6—Accountable)
 คิดอย่ำงเป็ นระบบ (b7—Systems thinking)
 กำรเข้ำไปเกี่ยวข้อง (b8—Personal involvement)
 รักกำรเรียนรู ้ (b9—Personal learning)
เป็ นแบบอย่ำงที่ดี (Role model)
 การเป็ นตัวอย่างที่ดี (setting the example) คือภาวะผูนา ที่คานธี
้
(Gandhi) กล่าวว่า ถ้าผูนาต้องการเห็นการเปลี่ยนแปลง ให้เริ่มที่
้
ตนเอง
 วิธีที่จะวัดการเป็ นแบบอย่างที่ดของผูนาคือ ดูว่าเขาใช้เวลา
ี
้
อย่างไร (a6)
 ที่ผนาสูงสุดคนหนึ่งกล่าวว่า การเป็ นแบบอย่างที่ดี เป็ นส่วนหนึ่ง
ู้
ของระบบการวัดภาวะผูนา โดยใช้ leadership scorecard
้
กำรเคำรพกันและกัน (Respect)
 วัฒนธรรมองค์กรที่ผคนเคารพศักดิ์ศรีของกันและกัน ไม่ว่าจะอยูใน
ู้
่
ตาแหน่งใด คือ การดูแลเอาใจใส่ ให้ความยุตธรรม และให้เกียรติกน
ิ
ั
 ความเห็นอกเห็นใจ (Empathy) เป็ นกุญแจสาคัญของผูนา ที่แสดงถึง
้
ความมีวุฒิภาวะทางอารมณ์
 ประโยชน์ของการเคารพกันและกันคือ เพิมความไว้วางใจ (c7)
่
สร้างความร่วมมือ (b3) ลดการต่อต้าน (f2) เพิ่มการทางานเป็ นทีม
(c3) ทั ่วทั้งองค์กร
 ผูนาทีอ่อนน้อมถ่อมตน (i2) มักมีการเคารพกันและกัน ทาให้เพิ่ม
้ ่
ความผูกพันของบุคลากร (a4)
ควำมร่วมมือ (Collaborative)
 ความร่วมมือมีประโยชน์ 2 ประการคือ เป็ นการยกระดับความเก่ง
และความหลากหลายของทีมในการแก้ปัญหา และหลีกเลี่ยง
ข้อผิดพลาดของความโอหัง (i2)
 การสร้างความร่วมมือและการมีทีมที่มีความหลากหลาย และมีผนา
ู้
ในการเปลี่ยนแปลง ทาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ที่ทาทายต่อ
้
ความคิดว่า ของเดิมก็ดอยูแล้ว (status quo)
ี ่
 ทักษะการสร้างความร่วมมือคือ การฟั ง (listening) ผูนาแบบผูรบใช้
้
้ั
นอกจากเป็ นผูฟังทีดีแล้ว ยังเป็ นผูทขอความร่วมมือจากผูอื่นด้วย
้ ่
้ ี่
้
 ประสิทธิผลของความร่วมมือ คือทาให้มีการติดต่อสองทิศทางอย่าง
ตรงไปตรงมา (frank two-way communication - b4)
การติดต่อสื่อสาร (Communication)
 ผูนาสูงสุดชี้ว่า ประเภทของการสื่อสารในองค์กรที่สาคัญมี 2 ประการ
้
คือ การชี้นาเรื่องทิศทางและเรืองกลยุทธ์ และการสื่อสาร 2 ทิศทาง
่
อย่างตรงไปตรงมาในทุกระดับขององค์กร
 การติดต่อสื่อสารเป็ นปั ญหาที่สาคัญ ของการนาและการบริหาร
องค์กรที่มีความซับซ้อน ดังนั้นการติดต่อสื่อสารที่ควรทาอย่าง
สมาเสมอและมุ่งมั ่น คือ การชี้นาทิศทางองค์กร (a2) และเรืองความ
่
่
เร่งด่วนและจุดเน้นของกลยุทธ์ (a3)
 การสื่อสารวิสยทัศน์ เป็ นหลักสาคัญของผูนาการเปลี่ยนแปลงและ
ั
้
ผูนาแบบผูรบใช้ (transformational leadership and servant leadership)
้
้ั
สื่อสารถึงบุคลากร รวมถึงสื่อสารไปยังผูมีสวนได้ส่วนเสีย (a1)
้ ่
ความพยายาม (Persistent)
 การเปลี่ยนแปลงระบบขององค์กร พฤติกรรมของมนุษย์ และ
วัฒนธรรม ต้องอาศัยเวลาและความพยายาม
 จะเปลี่ยนแปลงได้สาเร็จต้องอาศัย การชี้ทิศทาง (a2) กลยุทธ์
(a3) การปฏิบติ (a5) ที่สอดคล้องกัน (f3) เพื่อให้บุคลากรเห็น
ั
ความมุ่งมั ่นเอาจริงเอาจังของผูนา ในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้
้
 ความพยายามอย่างเดียวไม่พอ ผูนาต้องทาให้บุคลากรเกิดความ
้
รับผิดชอบ ต่อความจาเป็ นของการเปลี่ยนแปลง (b6)
ความรับผิดชอบ (Accountable)
 ผูนาต้องทาให้บุคลากร มีความรับผิดชอบด้วย จึงจะทาให้การ
้
เปลี่ยนแปลงเกิดความยั ่งยืน
 ผูถูกสัมภาษณ์ส่วนมาก มักทาการจาหน่าย (ไล่ออก) บุคคลที่ไม่
้
เห็นด้วยกับการเปลี่ยนแปลง (a8)
 นอกจากความรับผิดชอบ จะวิกฤตต่อการเปลี่ยนแปลงแล้ว ยัง
โยงกับความซื่อสัตย์ (integrity - i3) ที่เป็ นปั จจัยทาให้เกิดความ
ได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั ่งยืนขององค์กร
คิดอย่างเป็ นระบบ (Systems thinking )
 ผูนาควรมีความเข้าใจกระบวนการทางานต่าง ๆ ขององค์กร
้
อย่างเป็ นระบบ
 การมองอย่างเป็ นระบบ ทาให้ผนามีการจัดสรรทรัพยากรจาก
ู้
ระบบเกมกินรวบ (zero sum game) มาเป็ นการออกแบบระบบ
ใหม่ ที่สร้างคุณค่าให้กบผูมีส่วนได้ส่วนเสีย (a1)
ั ้
 Kaplan and Norton (1996) เสนอให้ใช้ comprehensive
scorecard (a6) จะช่วยให้ผนามีความเข้าใจระบบขององค์กร ทีมี
ู้
่
กิจกรรมเกี่ยวเนื่องซึ่งกันและกัน
กำรเข้ำไปเกี่ยวข้อง (Personal involvement)
 ผูนาในการศึกษานี้ ใช้เวลาด้วยตนเองกับผูมีสวนได้สวนเสีย รวมถึง
้
้ ่
่
บุคลากร ผูสงมอบและพันธมิตร ฯลฯ
้่
 ผูนาองค์กรที่มีความเป็ นเลิศ มักทาหน้าที่เป็ นผูประสานงานการ
้
้
ประชุม เรืองการพัฒนาแผนงานและการประเมินตนเอง ส่วนผูนา
่
้
องค์กรที่มีผลประกอบการไม่ดี มักมอบให้หวหน้าศูนย์คุณภาพ (chief
ั
quality officer - CQO) หรือที่ปรึกษา (f5) เป็ นผูรบผิดชอบ
้ั
 โดยย่อ ภาวะผูนาคือ การมีอิทธิพลเหนือผูตดตามและผูมีสวนได้สวน
้
้ ิ
้ ่
่
เสียอื่น ๆ
 การพัฒนาภาวะผูนาคือ การเรียนรูทจะเรียนรู ้ (learn to learn - b9)
้
้ ี่
รักการเรียนรู ้ (Personal learning)
 ผูนามีการเรียนรูได้หลายรูปแบบ ไม่ว่าจากประสบการณ์ การ
้
้
เรียนรูและฝึ กอบรมอย่างเป็ นทางการ ตารา พี่เลี้ยง หรือกิจกรรม
้
การแบ่งปั นความรูขององค์กร (a9)
้
 การเรียนรูของผูนา ทาให้เกิดความน่าเชื่อถือ และลดแรงต้าน
้
้
การเปลี่ยนแปลง (f2)
 ผูนาแบบผูรบใช้ มุ่งมั ่นกับการพัฒนาและการเรียนรู ้ โดยมี
้
้ั
แนวคิดว่า ผูนาคือผูเ้ รียนรู ้ (leader as learner) ในขณะที่ผนาการ
้
ู้
เปลี่ยนแปลง จะนาโดยการทาตนเป็ นแบบอย่างในการเรียนรู ้
(b1) เพื่อกระตุนให้ผอื่นปฏิบตตาม
้
ู้
ั ิ
ลักษณะเฉพำะของผูนำ
้
 มีจุดมุ่งหมำยและควำมหมำย (i1—Purpose and meaning)
 มีควำมนอบน้อมและเชื่ อมั่น (i2—Humble and confident)
 มีควำมซื่อสัตย์ (i3—Integrity)
 มีมุมมองเป็ นระบบ (i4—Systems perspective)
 มีทศนคติและแรงจูงใจ (i5—Attitudes and motivations)
ั
มีจุดมุ่งหมำยและควำมหมำย (Purpose and meaning )
 ต่อคาถามที่ว่า อะไรคือความภูมิใจที่ได้เป็ นผูนาสูงสุดขององค์กร
้
ที่มีความเป็ นเลิศ ทุกคนจะบอกถึงความภูมิใจลึก ๆ ที่ได้ช่วยทา
ให้ชีวิตของผูอื่นดีข้ ึน มากกว่าได้รบรางวัล หรือผลตอบแทนที่
้
ั
เป็ นตัวเงิน
 การช่วยเหลือให้ผตดตาม ค้นพบความหมายของชีวิตและการ
ู้ ิ
ทางาน เป็ นคุณลักษณะของผูนาการเปลี่ยนแปลง และผูนาแบบ
้
้
จิตวิญญาณ
 ถึงแม้เขาเหล่านั้นจะเป็ นผูนาที่ประสบความสาเร็จ เขายังคง
้
ความอ่อนน้อมแต่มีความมั ่นใจ
มีควำมนอบน้อมและเชื่อมั่น (Humble and confident )
 ความนอบน้อมของผูนาทีแสดงให้เห็นว่า ไม่ได้รูคาตอบไปทุกเรือง
้ ่
้
่
ทาให้เกิดความร่วมมือ (b3) และมีการสอบถาม ในขณะเดียวกัน
ความมั ่นใจ ทาให้เขาได้รบการสนับสนุน ในเรืองความคิดต่าง ๆ
ั
่
 ความสมดุลของการได้รบการสนับสนุนและการสอบถาม ทาให้เกิด
ั
ความร่วมมือ (b3) และการเรียนรู ้ (b9 และ a9)
 ความนอบน้อมทาให้เกิดการเรียนรู ้ (b9) ดังคากล่าวที่ว่า ถ้าคิดว่า
ตนเองรูแล้ว จะไม่เกิดการเรียนรูได้อีก (It is difficult to learn when
้
้
you think you know everything.)
 ผูนาการเปลี่ยนแปลงมีความมั ่นใจจึงมอบอานาจ ผูนาแบบผูรบใช้
้
้
้ั
แบ่งปั นอานาจและการควบคุม
มีควำมซื่อสัตย์ (Integrity)
 การทาในสิ่งทีถูกต้องต่อผูมีสวนได้ส่วนเสีย (a1) ร่วมกับความ
่
้ ่
สอดคล้องกันของคาพูด พฤติกรรม และการกระทาอย่างสมาเสมอ
่
เป็ นสิ่งจาเป็ นของความน่าเชื่อถือ และทาให้มีอิทธิพลต่อผูอื่น
้
 ความซื่อสัตย์ มีสวนสาคัญต่อการเป็ นแบบอย่างที่ดี (b1) ทาให้เป็ น
่
คนน่าไว้วางใจ (c7) ทาให้เกิดการทางานเป็ นทีม (c3) และเอาชนะ
แรงต้านได้ (f2)
 ความซื่อสัตย์และความไว้วางใจ เป็ นกุญแจสาคัญของผูนาแบบผูรบ
้
้ั
ใช้ และผูนาการเปลี่ยนแปลง
้
 การเดินสายพบปะผูคน (walk the talk) เป็ นสิ่งจาเป็ นที่ผนาต้อง
้
ู้
แสดงออก เพือให้ผคนรับทราบเรืองราวจากปากผูนาโดยตรง
่
ู้
่
้
มีมุมมองเป็ นระบบ (Systems perspective)
 ผูนาแทบทุกคนในการศึกษานี้ มององค์กรเป็ นพลวัตรแบบเปิ ด
้
คือสามารถสร้างหรือสร้างใหม่ ในการพัฒนาผลงานให้ดีข้ ึนเพื่อผู ้
มีส่วนได้ส่วนเสีย ต่างจากระบบปิ ดหรือระบบเกมกินรวบ
 มุมมองนี้จะมีการปรับเปลี่ยน เมื่อผูนาเกิดการเรียนรูระหว่างการ
้
้
เดินทาง (b9 และ a9)
 แม้ว่าการนาของผูนาการเปลี่ยนแปลง ผูนาแบบผูรบใช้ หรือผูนา
้
้
้ั
้
แบบจิตวิญญาณ จะไม่ได้ระบุเรือง การมีมุมมองอย่างเป็ นระบบ
่
แต่ก็ไม่มีอะไรขัดกัน ของการคิดอย่างเป็ นระบบ (b7) และการมี
มุมมองอย่างเป็ นระบบ (i4)
มีทศนคติและแรงจูงใจ (Attitudes and motivations)
ั
 แนวคิดหลายอย่างของกรอบการนาองค์กร LTPE มาจากทัศนคติ
และแรงจูงใจของผูนาสูงสุด
้
 ผูนาแบบ Baldrige ต่างจากผูนาระบอบอื่น 6 ประการ ซึ่ง
้
้
องค์ประกอบเหล่านั้น ล้วนมีอยูในองค์ประกอบของ LTPE
่
 นอกจากลักษณะเฉพาะของผูนาแล้ว วัฒนธรรมองค์กรมีอิทธิพล
้
ต่อพฤติกรรมของผูนา และพฤติกรรมของผูนาก็มีอิทธิพลต่อ
้
้
วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
 กำรเปลี่ ยนวัฒนธรรม (c1—Culture change)
 กำรขับเคลื่ อนด้วยค่ำนิยม (c2—Values driven)
 กำรทำงำนเป็ นทีม (c3—Teamwork)
 ควำมเป็ นเลิ ศ (c4—Excellence)
 กำรให้คุณค่ำบุคลำกร (c5—Valued employees)
 กำรมุ่งเน้นลูกค้ำ (c6—Customer focus)
 ควำมไว้วำงใจ (c7—Trust)
วัฒนธรรมองค์กร
 Schein (1992, 12) รูปแบบของสมมติฐานพื้นฐานที่ใช้รวมกัน
่
ของกลุม ที่ได้เรียนรูในการแก้ปัญหาจากการปรับตัวภายนอก
่
้
และบูรณาการภายใน ที่มีการทางานดีพอและได้รบการพิจารณา
ั
ว่าถูกต้อง แล้วจึงสอนให้กบสมาชิกใหม่ว่า เป็ นวิธีที่ถูกต้องใน
ั
การแก้ปัญหาเหล่านั้น
 Vera and Crossan (2004) วิธีที่ผคนทีนี่ทากัน
ู้ ่
กำรเปลี่ยนวัฒนธรรม (Culture change )
 การเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรคือประเด็นสาคัญที่สุดในการ
เปลี่ยนแปลงขององค์กร
 องค์กรเปลี่ยนไปแล้วอาจเปลี่ยนกลับมาเป็ นอย่างเดิมอีกก็ได้ ถ้า
ไม่ได้ปฏิบตอย่างต่อเนื่อง จนกระทั ่งกลายเป็ นนิสย
ั ิ
ั
 แต่ไม่ได้หมายความว่าเมื่อเปลี่ยนไปแล้ว จะเปลี่ยนแปลงอีกไม่ได้
เพราะองค์กรที่มีความเป็ นเลิศ สามารถปรับเปลี่ยนได้ตาม
สถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
 การเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร จึงการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญที่สุด
(Culture change is possibly the most important type of change in
achieving a high level of performance excellence.)
กำรขับเคลื่อนด้วยค่ำนิยม (Values driven )
 ค่านิยมองค์กร คือ องค์ประกอบสาคัญ ของการนาการเปลี่ยนแปลง
และการนาแบบจิตวิญาณ
 เป็ นเรืองสาคัญที่ค่านิยมที่ถูกต้อง ฝังตัวในวัฒนธรรมองค์กร
่
 ค่านิยมสู่ความเป็ นเลิศประกอบด้วย ความผูกพันของบุคลากร (c5)
ความไว้วางใจกันและกัน (c7) ทางานกันเป็ นทีม (c3) ในการสร้าง
ผลิตภัณฑ์และบริการที่เป็ นเลิศ (c4) เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดี
ให้กบลูกค้า (c6)
ั
 ค่านิยมเพียง 5 ข้อ ก็พอเพียงสาหรับกรอบการนาองค์กร LTPE ได้แก่
การทางานเป็ นทีม ความเป็ นเลิศ ให้คุณค่าบุคลากร การมุ่งเน้นลูกค้า
และความไว้วางใจ (teamwork, excellence, valued employees,
customer focus, and trust)
กำรทำงำนเป็ นทีม (Teamwork)
 การทางานเป็ นทีมแบบสหสาขา (Cross-functional teamwork)
และการแบ่งปั นความรู ้ เป็ นลักษณะที่สาคัญของทุกองค์กรที่มี
ความเป็ นเลิศ
 ความร่วมมือ (b3) และการทางานเป็ นทีม เป็ นส่วนสาคัญในการ
สร้างความสัมพันธ์ท้งภายในและภายนอก รวมถึงการออกแบบ
ั
กระบวนการใหม่ และการปรับปรุงพัฒนา
 องค์กรที่ศึกษา มีการแบ่งปั นความรูอย่างมากมาย และมีจดเน้น
้
ุ
ในการทางานเป็ นทีม
ควำมเป็ นเลิศ (Excellence)
 ทุกองค์กรกล่าวว่า คุณภาพและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เป็ น
ส่วนสาคัญของวัฒนธรรม ขององค์กรที่มีสมรรถนะสูง
 การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมประการหนี่ง ที่มีความสาคัญ คือการ
มุ่งเน้นลูกค้า (c6)
 วัฒนธรรรมเผ่า (clan cultures) มีกระทบด้านบวกต่อคุณภาพ
ของผลิตภัณฑ์ มากกว่าวัฒนธรรมการตลาด (market cultures)
กำรให้คุณค่ำบุคลำกร (Valued employees )
 วัฒนธรรมองค์กรเรื่องการให้คณค่ากับบุคลากร เป็ นเรื่องสาคัญที่ทุก
ุ
องค์กรกล่าวถึง
 วัฒนธรรมเผ่า (clan cultures) ประสบผลสาเร็จได้เพราะเป็ นสิ่งที่
ดึงดูด พัฒนา และธารงไว้ ซึ่งคนเก่ง (talented workforce)
 วัฒนธรรมเผ่า ทาให้เกิด ความร่วมมือ (b3) การแบ่งปั นความรู ้
(c3) การพัฒนาของผลิตภัณฑ์และกระบวนการ (a9) นอกจากนี้การ
ให้คณค่าบุคลากร ยังทาให้เกิดความไว้วางใจของบุคลากร (c7) ก่อ
ุ
เกิดการทางานเป็ นทีม (c3)
 การให้คณค่ากับบุคลากร ทาให้บุคลากรเกิดความพึงพอใจ และ
ุ
ส่งผลให้การดูแลลูกค้า เกิดความพึงพอใจเช่นเดียวกัน
การมุ่งเน้นลูกค้า (Customer focus )
 ผูนาสูงสุดหลายคนกล่าวว่า การอาศัยลูกค้าเป็ นตัวผลักดัน
้
(customer driven) เป็ นวัฒนธรรมองค์กรที่สาคัญ ซึ่งในเกณฑ์ได้
มีการมุ่งเน้น โดยมีหมวดที่กล่าวเฉพาะถึงการมุ่งเน้นลูกค้า ที่มา
จากค่านิยมและแนวคิดหลักของเกณฑ์คือ ความเป็ นเลิศที่
มุ่งเน้นลูกค้า (customer-driven excellence)
 การมุ่งเน้นลูกค้า (c6) มีความเชื่อมโยงกับการให้คณค่าบุคลากร
ุ
(c5) ดังที่ได้กล่าวก่อนหน้านี้ และวัฒนธรรมการตลาด (market
cultures - c6) ที่มีความสัมพันธ์กบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ (c4)
ั





วัฒนธรรมเผ่า (clan culture) สะท้อนได้โดย การให้คณค่า
ุ
บุคลากร (c5) ความไว้วางใจ (c7) และการทางานเป็ นทีม (c3)
วัฒนธรรมการตลาด (market culture) สะท้อนโดยการมุ่งเน้น
ลูกค้า (c6) และความเป็ นเลิศ (c4)
Cameron and Quinn (1999) ให้กรอบเรืองค่านิยมของการ
่
แข่งขัน (competing values framework - CVF) เพื่อความเข้าใจ
เรืองวัฒนธรรมที่มี 2 มิติคือ : ความยืดหยุนกับความมั ่นคง
่
่
(flexibility vs. stability) และ การมุ่งเน้นภายในกับมุ่งเน้น
ภายนอก (internal vs. external focus)
ความไว้วางใจ (Trust)
 ความไว้วางใจกันของบุคลากรและผูนา เป็ นวัฒนธรรมที่สาคัญของ
้
องค์กร
 ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน ก่อเกิดพันธะสัญญาระหว่างกัน ซึ่งเป็ น
ลักษณะสาคัญของการนาทุกระบบ
 มีการเชื่อมโยงกันของ ความไว้วางใจ (c7) การเป็ นแบบอย่างทีดี
่
(b1) และความซื่อสัตย์ (i3) ที่ยงคงใช้ยนยันอีกครั้งว่า การกระทาดัง
ั
ื
กว่าคาพูด (actions speak louder than words)
 บุคลากรที่มีความผูกพันและมีแรงจูงใจ (c5) ประกอบกับมีความ
ไว้วางใจสูงซึ่งกันและกัน (c7) คือกุญแจสาคัญของการทางานเป็ นทีม
(c3)
ผลกระทบทางทฤษฎี
 ภาคแรก เป็ นการบอกรายละเอียดเรื่องแรงผลักดันและบทบาทผู ้
ประสานงาน ต่อการเปลี่ยนแปลง ของระบบการนาอย่างมีกลยุทธ์ ใน
มุมมองของผูนาสูงสุด
้
 ภาคที่สอง ประกอบด้วยพฤติกรรมผูนา 9 ข้อ ลักษณะเฉพาะผูนา 5
้
้
ข้อ และ วัฒนธรรมองค์กร 7 ข้อ ที่เกี่ยวข้องกับกรอบการนาองค์กร
LTPE
 กรอบการนาองค์กร LTPE framework เป็ นการเปลี่ยนแปลงองค์กร
เพื่อความเป็ นเลิศ
 ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงเพือความเป็ นเลิศ จึงเป็ นกระบวนการการนา
่
องค์กรอย่างมีกลยุทธ์


การเดินทางสู่ความเป็ นเลิศแบบ Baldrige
เป็ นการปรับปรุงกระบวนการภายใน เพื่อ
รองรับกลยุทธ์ขององค์กร
 ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงเพื่อความเป็ นเลิศ
จึงเป็ นปรากฏการณ์ ในการบูรณาการการ
จัดการ โดยใช้กลยุทธ์ร่วมกับการนาอย่างมี
กลยุทธ์ เพื่อความเป็ นเลิศตามเกณฑ์ของ
Baldrige
 การเปลี่ยนแปลงเพื่อความเป็ นเลิศ จึงเป็ น
กระบวนการการนาองค์กรอย่างมีกลยุทธ์
ผลกระทบต่อการนาไปปฏิบติ
ั
 ความเข้าใจเรื่องแรงผลักดันและผูประสานงานต่อการเปลี่ยนแปลง
้
ช่วยผูนาได้ เช่น ถ้าความตึงเครียดน้อยไป (f1) ผูนาก็เพิ่มระดับการ
้
้
วัดผลงาน (a6) และใช้การเทียบเคียงกับองค์กรที่เป็ นเลิศ เพือชี้
่
ทิศทาง (a2) ในการดึงองค์กร
 ถ้าการเปลี่ยนแปลงช้าหรือแทบจะไม่เกิดขึ้น ให้เพิ่มความสอดคล้อง
ของกลยุทธ์ กิจกรรม และผลลัพธ์ (f3) บวกกับการใช้เกณฑ์และการ
ใช้ที่ปรึกษา (f4 + f5) เป็ นตัวเร่ง
 คาอธิบายเรื่องแนวทางการนา (a1 – a9) ช่วยออกแบบการนา
องค์กรและปั จจัยประกอบการนาได้
ข้อจากัด
 การศึกษานี้จาเพาะผูนาสูงสุดเท่านั้น
้
 ไม่มีเพศหญิง
 ศึกษากับกลุมธุรกิจ การศึกษา และการดูแลรักษาพยาบาล แต่
่
ไม่มีหน่วยงานราชการหรือองค์กรไม่แสวงหากาไร
 มีการศึกษาเพียง 14 องค์กร
 ทุกองค์กรล้วนมีสานักงานใหญ่ในอเมริกา
สรุป
 ไม่มีสูตรสาเร็จดอกจะบอกให้ (There are no silver bullets.)
 การศึกษานี้เป็ นการเริมต้น เพื่อความเข้าใจการเปลียนแปลง
่
่
องค์กรโดยผูนาระดับสูงสุด กรอบการนาองค์กร LTPE นี้ มีความ
้
ครอบคลุมมากขึ้นกว่าการศึกษาก่อนหน้านี้ เพราะไม่ได้เน้นถึง
ความแตกต่าง แต่เป็ นกรอบที่มีความครอบคลุมส่วนประกอบที่
สาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงองค์กร ในมุมมองของผูนาสูงสุด
้
ถ้ามีคนเคยทาแล้ว แสดงว่ามันเป็ นไปได้
(If it has been done, it must be possible.)
Nelson Mandela

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมายทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมายHling Jung
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behaviortltutortutor
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรsukanya56106930005
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟThida Noodaeng
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร Prathum Charoenroop
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำklarharn
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)Ritthiporn Lekdee
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organizationwiraja
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การwanna2728
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตProud N. Boonrak
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theorieswiraja
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 

What's hot (20)

Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมายทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
Vunst dr delek
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
ทฤษฎีองค์การ
 ทฤษฎีองค์การ  ทฤษฎีองค์การ
ทฤษฎีองค์การ
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 

Viewers also liked

Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0
Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0
Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0maruay songtanin
 
BCM - Business Continuity Management การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
BCM - Business Continuity Management  การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่องBCM - Business Continuity Management  การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
BCM - Business Continuity Management การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่องmaruay songtanin
 
Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย
Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย
Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย maruay songtanin
 
Health care strategy กลยุทธ์ด้านการรักษาพยาบาลในอนาคต
Health care strategy กลยุทธ์ด้านการรักษาพยาบาลในอนาคตHealth care strategy กลยุทธ์ด้านการรักษาพยาบาลในอนาคต
Health care strategy กลยุทธ์ด้านการรักษาพยาบาลในอนาคตmaruay songtanin
 
Decision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอ
Decision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอDecision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอ
Decision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอmaruay songtanin
 
Mind of the giver แค่คิดก็ได้บุญแล้ว
Mind of the giver แค่คิดก็ได้บุญแล้วMind of the giver แค่คิดก็ได้บุญแล้ว
Mind of the giver แค่คิดก็ได้บุญแล้วmaruay songtanin
 
Built to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน
Built to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืนBuilt to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน
Built to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืนmaruay songtanin
 
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1maruay songtanin
 
The 2013 baldrige award recipients รางวัล baldrige award 2013
The 2013 baldrige award recipients รางวัล baldrige award 2013The 2013 baldrige award recipients รางวัล baldrige award 2013
The 2013 baldrige award recipients รางวัล baldrige award 2013maruay songtanin
 
The laws of leadership กฏของภาวะผู้นำ
The laws of leadership กฏของภาวะผู้นำThe laws of leadership กฏของภาวะผู้นำ
The laws of leadership กฏของภาวะผู้นำmaruay songtanin
 
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กรmaruay songtanin
 
Getting to yes เจรจาต่อรองให้สำเร็จ
Getting to yes เจรจาต่อรองให้สำเร็จGetting to yes เจรจาต่อรองให้สำเร็จ
Getting to yes เจรจาต่อรองให้สำเร็จmaruay songtanin
 
The secret ความลับ ผู้นำที่ยิ่งใหญ่รู้และปฏิบัติ
The secret ความลับ ผู้นำที่ยิ่งใหญ่รู้และปฏิบัติThe secret ความลับ ผู้นำที่ยิ่งใหญ่รู้และปฏิบัติ
The secret ความลับ ผู้นำที่ยิ่งใหญ่รู้และปฏิบัติmaruay songtanin
 
Kpi and csf: KPI และ CSF
Kpi and csf: KPI และ CSFKpi and csf: KPI และ CSF
Kpi and csf: KPI และ CSFmaruay songtanin
 
29 leadership secrets 29 ความลับผู้นำ
29 leadership secrets 29 ความลับผู้นำ29 leadership secrets 29 ความลับผู้นำ
29 leadership secrets 29 ความลับผู้นำmaruay songtanin
 
Kpi ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ
Kpi ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ Kpi ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ
Kpi ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ maruay songtanin
 
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหารPeter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหารmaruay songtanin
 
Talent management การบริหารคนเก่ง
Talent management การบริหารคนเก่งTalent management การบริหารคนเก่ง
Talent management การบริหารคนเก่งmaruay songtanin
 
Hr for neophytes การบริหารบุคคลสำหรับคนเก่งในยุคใหม่
Hr for neophytes การบริหารบุคคลสำหรับคนเก่งในยุคใหม่Hr for neophytes การบริหารบุคคลสำหรับคนเก่งในยุคใหม่
Hr for neophytes การบริหารบุคคลสำหรับคนเก่งในยุคใหม่maruay songtanin
 
The 100 greatest leadership principles of all time หลักการผู้นำ 100 ประการ
The 100 greatest leadership principles of all time หลักการผู้นำ 100 ประการThe 100 greatest leadership principles of all time หลักการผู้นำ 100 ประการ
The 100 greatest leadership principles of all time หลักการผู้นำ 100 ประการmaruay songtanin
 

Viewers also liked (20)

Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0
Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0
Leadership 2.0 (adaptive leadership) ภาวะผู้นำ 2.0
 
BCM - Business Continuity Management การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
BCM - Business Continuity Management  การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่องBCM - Business Continuity Management  การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
BCM - Business Continuity Management การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
 
Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย
Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย
Decision making 3 ค้นหาแนวความคิดที่มีความหลากหลาย
 
Health care strategy กลยุทธ์ด้านการรักษาพยาบาลในอนาคต
Health care strategy กลยุทธ์ด้านการรักษาพยาบาลในอนาคตHealth care strategy กลยุทธ์ด้านการรักษาพยาบาลในอนาคต
Health care strategy กลยุทธ์ด้านการรักษาพยาบาลในอนาคต
 
Decision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอ
Decision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอDecision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอ
Decision making 2 ต้องกล้า อย่าอ่อนแอ
 
Mind of the giver แค่คิดก็ได้บุญแล้ว
Mind of the giver แค่คิดก็ได้บุญแล้วMind of the giver แค่คิดก็ได้บุญแล้ว
Mind of the giver แค่คิดก็ได้บุญแล้ว
 
Built to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน
Built to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืนBuilt to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน
Built to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน
 
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 1
 
The 2013 baldrige award recipients รางวัล baldrige award 2013
The 2013 baldrige award recipients รางวัล baldrige award 2013The 2013 baldrige award recipients รางวัล baldrige award 2013
The 2013 baldrige award recipients รางวัล baldrige award 2013
 
The laws of leadership กฏของภาวะผู้นำ
The laws of leadership กฏของภาวะผู้นำThe laws of leadership กฏของภาวะผู้นำ
The laws of leadership กฏของภาวะผู้นำ
 
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
 
Getting to yes เจรจาต่อรองให้สำเร็จ
Getting to yes เจรจาต่อรองให้สำเร็จGetting to yes เจรจาต่อรองให้สำเร็จ
Getting to yes เจรจาต่อรองให้สำเร็จ
 
The secret ความลับ ผู้นำที่ยิ่งใหญ่รู้และปฏิบัติ
The secret ความลับ ผู้นำที่ยิ่งใหญ่รู้และปฏิบัติThe secret ความลับ ผู้นำที่ยิ่งใหญ่รู้และปฏิบัติ
The secret ความลับ ผู้นำที่ยิ่งใหญ่รู้และปฏิบัติ
 
Kpi and csf: KPI และ CSF
Kpi and csf: KPI และ CSFKpi and csf: KPI และ CSF
Kpi and csf: KPI และ CSF
 
29 leadership secrets 29 ความลับผู้นำ
29 leadership secrets 29 ความลับผู้นำ29 leadership secrets 29 ความลับผู้นำ
29 leadership secrets 29 ความลับผู้นำ
 
Kpi ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ
Kpi ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ Kpi ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ
Kpi ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ
 
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหารPeter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร
 
Talent management การบริหารคนเก่ง
Talent management การบริหารคนเก่งTalent management การบริหารคนเก่ง
Talent management การบริหารคนเก่ง
 
Hr for neophytes การบริหารบุคคลสำหรับคนเก่งในยุคใหม่
Hr for neophytes การบริหารบุคคลสำหรับคนเก่งในยุคใหม่Hr for neophytes การบริหารบุคคลสำหรับคนเก่งในยุคใหม่
Hr for neophytes การบริหารบุคคลสำหรับคนเก่งในยุคใหม่
 
The 100 greatest leadership principles of all time หลักการผู้นำ 100 ประการ
The 100 greatest leadership principles of all time หลักการผู้นำ 100 ประการThe 100 greatest leadership principles of all time หลักการผู้นำ 100 ประการ
The 100 greatest leadership principles of all time หลักการผู้นำ 100 ประการ
 

Similar to Strategic leadership system 2 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 2

การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6kanwan0429
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6kanwan0429
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUpantapong
 
ปัจจัยภายในองค์กรกับการเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยภายในองค์กรกับการเปลี่ยนแปลงปัจจัยภายในองค์กรกับการเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยภายในองค์กรกับการเปลี่ยนแปลงSansana Siritarm
 
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำLeadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำmaruay songtanin
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพChalermpon Dondee
 

Similar to Strategic leadership system 2 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 2 (20)

การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RU
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
 
Execution
ExecutionExecution
Execution
 
ปัจจัยภายในองค์กรกับการเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยภายในองค์กรกับการเปลี่ยนแปลงปัจจัยภายในองค์กรกับการเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยภายในองค์กรกับการเปลี่ยนแปลง
 
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำLeadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
 
Make better decisions
Make better decisionsMake better decisions
Make better decisions
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
University system
University systemUniversity system
University system
 
Km
KmKm
Km
 
การนำเสนอในการฝึกอบรม
การนำเสนอในการฝึกอบรมการนำเสนอในการฝึกอบรม
การนำเสนอในการฝึกอบรม
 
Action learning
Action learningAction learning
Action learning
 
Art of asking
Art of askingArt of asking
Art of asking
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
 

More from maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

Strategic leadership system 2 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคที่ 2

  • 2. Adapted from: A Framework for Leading the Transformation to Performance Excellence (LTPE Framework) By John R. Latham, University of Northern Colorado, 2013
  • 3.
  • 4. ทบทวนจากความตอนทีแล้ว ่  กรอบการนาองค์กร (LTPE Framework) ประกอบด้วย 35 ปั จจัย จัดได้เป็ น 5 กลุม ่  ได้กล่าวถึงรายละเอียดใน 2 กลุมแรกแล้ว ที่เป็ นมุมมองด้าน ่ วิทยาศาสตร์ คือ 1.แรงผลักดันและผูประสานงานในการเปลี่ยนแปลง (5 Forces and ้ facilitators of change) 2.แนวทางการนาองค์กร (9 Leadership approaches)
  • 5.
  • 6.
  • 7. มีอีก 3 กลุมที่จะกล่าวถึงต่อไป เป็ นมุมมองด้านศิลปะ ในการนา ่ องค์กร คือ 3.พฤติกรรมของผูนา (9 Leadership behaviors) ้ 4.ลักษณะเฉพาะของผูนา (5 Individual leader characteristics) ้ 5.วัฒนธรรมองค์กร (7 Organizational culture)
  • 8.
  • 9.   กว่า 20 ปี มาแล้ว ที่ 1,000 กว่าองค์กร สมัครเข้ารับรางวัล Baldrige ซึ่งมีเพียงร้อยละ 10 เท่านั้นที่ประสบผลสาเร็จ จุดประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อหาแนวทางที่ผนาสูงสุด 14 ู้ องค์กรที่ได้รบรางวัล ว่ามีวิธีการอย่างไร ในการปรับเปลี่ยน ั องค์กรไปสู่ องค์กรแห่งความเป็ นเลิศ
  • 10. พฤติกรรมของผูนำ ้  เป็ นแบบอย่ำงที่ดี (b1—Role model)  กำรเคำรพกันและกัน (b2—Respect)  ควำมร่วมมือ (b3—Collaborative)  กำรติดต่อสื่อสำร (b4—Communication)  ควำมพยำยำม (b5—Persistent)  ควำมรับผิดชอบ (b6—Accountable)  คิดอย่ำงเป็ นระบบ (b7—Systems thinking)  กำรเข้ำไปเกี่ยวข้อง (b8—Personal involvement)  รักกำรเรียนรู ้ (b9—Personal learning)
  • 11.
  • 12. เป็ นแบบอย่ำงที่ดี (Role model)  การเป็ นตัวอย่างที่ดี (setting the example) คือภาวะผูนา ที่คานธี ้ (Gandhi) กล่าวว่า ถ้าผูนาต้องการเห็นการเปลี่ยนแปลง ให้เริ่มที่ ้ ตนเอง  วิธีที่จะวัดการเป็ นแบบอย่างที่ดของผูนาคือ ดูว่าเขาใช้เวลา ี ้ อย่างไร (a6)  ที่ผนาสูงสุดคนหนึ่งกล่าวว่า การเป็ นแบบอย่างที่ดี เป็ นส่วนหนึ่ง ู้ ของระบบการวัดภาวะผูนา โดยใช้ leadership scorecard ้
  • 13. กำรเคำรพกันและกัน (Respect)  วัฒนธรรมองค์กรที่ผคนเคารพศักดิ์ศรีของกันและกัน ไม่ว่าจะอยูใน ู้ ่ ตาแหน่งใด คือ การดูแลเอาใจใส่ ให้ความยุตธรรม และให้เกียรติกน ิ ั  ความเห็นอกเห็นใจ (Empathy) เป็ นกุญแจสาคัญของผูนา ที่แสดงถึง ้ ความมีวุฒิภาวะทางอารมณ์  ประโยชน์ของการเคารพกันและกันคือ เพิมความไว้วางใจ (c7) ่ สร้างความร่วมมือ (b3) ลดการต่อต้าน (f2) เพิ่มการทางานเป็ นทีม (c3) ทั ่วทั้งองค์กร  ผูนาทีอ่อนน้อมถ่อมตน (i2) มักมีการเคารพกันและกัน ทาให้เพิ่ม ้ ่ ความผูกพันของบุคลากร (a4)
  • 14. ควำมร่วมมือ (Collaborative)  ความร่วมมือมีประโยชน์ 2 ประการคือ เป็ นการยกระดับความเก่ง และความหลากหลายของทีมในการแก้ปัญหา และหลีกเลี่ยง ข้อผิดพลาดของความโอหัง (i2)  การสร้างความร่วมมือและการมีทีมที่มีความหลากหลาย และมีผนา ู้ ในการเปลี่ยนแปลง ทาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ที่ทาทายต่อ ้ ความคิดว่า ของเดิมก็ดอยูแล้ว (status quo) ี ่  ทักษะการสร้างความร่วมมือคือ การฟั ง (listening) ผูนาแบบผูรบใช้ ้ ้ั นอกจากเป็ นผูฟังทีดีแล้ว ยังเป็ นผูทขอความร่วมมือจากผูอื่นด้วย ้ ่ ้ ี่ ้  ประสิทธิผลของความร่วมมือ คือทาให้มีการติดต่อสองทิศทางอย่าง ตรงไปตรงมา (frank two-way communication - b4)
  • 15. การติดต่อสื่อสาร (Communication)  ผูนาสูงสุดชี้ว่า ประเภทของการสื่อสารในองค์กรที่สาคัญมี 2 ประการ ้ คือ การชี้นาเรื่องทิศทางและเรืองกลยุทธ์ และการสื่อสาร 2 ทิศทาง ่ อย่างตรงไปตรงมาในทุกระดับขององค์กร  การติดต่อสื่อสารเป็ นปั ญหาที่สาคัญ ของการนาและการบริหาร องค์กรที่มีความซับซ้อน ดังนั้นการติดต่อสื่อสารที่ควรทาอย่าง สมาเสมอและมุ่งมั ่น คือ การชี้นาทิศทางองค์กร (a2) และเรืองความ ่ ่ เร่งด่วนและจุดเน้นของกลยุทธ์ (a3)  การสื่อสารวิสยทัศน์ เป็ นหลักสาคัญของผูนาการเปลี่ยนแปลงและ ั ้ ผูนาแบบผูรบใช้ (transformational leadership and servant leadership) ้ ้ั สื่อสารถึงบุคลากร รวมถึงสื่อสารไปยังผูมีสวนได้ส่วนเสีย (a1) ้ ่
  • 16. ความพยายาม (Persistent)  การเปลี่ยนแปลงระบบขององค์กร พฤติกรรมของมนุษย์ และ วัฒนธรรม ต้องอาศัยเวลาและความพยายาม  จะเปลี่ยนแปลงได้สาเร็จต้องอาศัย การชี้ทิศทาง (a2) กลยุทธ์ (a3) การปฏิบติ (a5) ที่สอดคล้องกัน (f3) เพื่อให้บุคลากรเห็น ั ความมุ่งมั ่นเอาจริงเอาจังของผูนา ในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ ้  ความพยายามอย่างเดียวไม่พอ ผูนาต้องทาให้บุคลากรเกิดความ ้ รับผิดชอบ ต่อความจาเป็ นของการเปลี่ยนแปลง (b6)
  • 17. ความรับผิดชอบ (Accountable)  ผูนาต้องทาให้บุคลากร มีความรับผิดชอบด้วย จึงจะทาให้การ ้ เปลี่ยนแปลงเกิดความยั ่งยืน  ผูถูกสัมภาษณ์ส่วนมาก มักทาการจาหน่าย (ไล่ออก) บุคคลที่ไม่ ้ เห็นด้วยกับการเปลี่ยนแปลง (a8)  นอกจากความรับผิดชอบ จะวิกฤตต่อการเปลี่ยนแปลงแล้ว ยัง โยงกับความซื่อสัตย์ (integrity - i3) ที่เป็ นปั จจัยทาให้เกิดความ ได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั ่งยืนขององค์กร
  • 18. คิดอย่างเป็ นระบบ (Systems thinking )  ผูนาควรมีความเข้าใจกระบวนการทางานต่าง ๆ ขององค์กร ้ อย่างเป็ นระบบ  การมองอย่างเป็ นระบบ ทาให้ผนามีการจัดสรรทรัพยากรจาก ู้ ระบบเกมกินรวบ (zero sum game) มาเป็ นการออกแบบระบบ ใหม่ ที่สร้างคุณค่าให้กบผูมีส่วนได้ส่วนเสีย (a1) ั ้  Kaplan and Norton (1996) เสนอให้ใช้ comprehensive scorecard (a6) จะช่วยให้ผนามีความเข้าใจระบบขององค์กร ทีมี ู้ ่ กิจกรรมเกี่ยวเนื่องซึ่งกันและกัน
  • 19. กำรเข้ำไปเกี่ยวข้อง (Personal involvement)  ผูนาในการศึกษานี้ ใช้เวลาด้วยตนเองกับผูมีสวนได้สวนเสีย รวมถึง ้ ้ ่ ่ บุคลากร ผูสงมอบและพันธมิตร ฯลฯ ้่  ผูนาองค์กรที่มีความเป็ นเลิศ มักทาหน้าที่เป็ นผูประสานงานการ ้ ้ ประชุม เรืองการพัฒนาแผนงานและการประเมินตนเอง ส่วนผูนา ่ ้ องค์กรที่มีผลประกอบการไม่ดี มักมอบให้หวหน้าศูนย์คุณภาพ (chief ั quality officer - CQO) หรือที่ปรึกษา (f5) เป็ นผูรบผิดชอบ ้ั  โดยย่อ ภาวะผูนาคือ การมีอิทธิพลเหนือผูตดตามและผูมีสวนได้สวน ้ ้ ิ ้ ่ ่ เสียอื่น ๆ  การพัฒนาภาวะผูนาคือ การเรียนรูทจะเรียนรู ้ (learn to learn - b9) ้ ้ ี่
  • 20. รักการเรียนรู ้ (Personal learning)  ผูนามีการเรียนรูได้หลายรูปแบบ ไม่ว่าจากประสบการณ์ การ ้ ้ เรียนรูและฝึ กอบรมอย่างเป็ นทางการ ตารา พี่เลี้ยง หรือกิจกรรม ้ การแบ่งปั นความรูขององค์กร (a9) ้  การเรียนรูของผูนา ทาให้เกิดความน่าเชื่อถือ และลดแรงต้าน ้ ้ การเปลี่ยนแปลง (f2)  ผูนาแบบผูรบใช้ มุ่งมั ่นกับการพัฒนาและการเรียนรู ้ โดยมี ้ ้ั แนวคิดว่า ผูนาคือผูเ้ รียนรู ้ (leader as learner) ในขณะที่ผนาการ ้ ู้ เปลี่ยนแปลง จะนาโดยการทาตนเป็ นแบบอย่างในการเรียนรู ้ (b1) เพื่อกระตุนให้ผอื่นปฏิบตตาม ้ ู้ ั ิ
  • 21.
  • 22. ลักษณะเฉพำะของผูนำ ้  มีจุดมุ่งหมำยและควำมหมำย (i1—Purpose and meaning)  มีควำมนอบน้อมและเชื่ อมั่น (i2—Humble and confident)  มีควำมซื่อสัตย์ (i3—Integrity)  มีมุมมองเป็ นระบบ (i4—Systems perspective)  มีทศนคติและแรงจูงใจ (i5—Attitudes and motivations) ั
  • 23. มีจุดมุ่งหมำยและควำมหมำย (Purpose and meaning )  ต่อคาถามที่ว่า อะไรคือความภูมิใจที่ได้เป็ นผูนาสูงสุดขององค์กร ้ ที่มีความเป็ นเลิศ ทุกคนจะบอกถึงความภูมิใจลึก ๆ ที่ได้ช่วยทา ให้ชีวิตของผูอื่นดีข้ ึน มากกว่าได้รบรางวัล หรือผลตอบแทนที่ ้ ั เป็ นตัวเงิน  การช่วยเหลือให้ผตดตาม ค้นพบความหมายของชีวิตและการ ู้ ิ ทางาน เป็ นคุณลักษณะของผูนาการเปลี่ยนแปลง และผูนาแบบ ้ ้ จิตวิญญาณ  ถึงแม้เขาเหล่านั้นจะเป็ นผูนาที่ประสบความสาเร็จ เขายังคง ้ ความอ่อนน้อมแต่มีความมั ่นใจ
  • 24. มีควำมนอบน้อมและเชื่อมั่น (Humble and confident )  ความนอบน้อมของผูนาทีแสดงให้เห็นว่า ไม่ได้รูคาตอบไปทุกเรือง ้ ่ ้ ่ ทาให้เกิดความร่วมมือ (b3) และมีการสอบถาม ในขณะเดียวกัน ความมั ่นใจ ทาให้เขาได้รบการสนับสนุน ในเรืองความคิดต่าง ๆ ั ่  ความสมดุลของการได้รบการสนับสนุนและการสอบถาม ทาให้เกิด ั ความร่วมมือ (b3) และการเรียนรู ้ (b9 และ a9)  ความนอบน้อมทาให้เกิดการเรียนรู ้ (b9) ดังคากล่าวที่ว่า ถ้าคิดว่า ตนเองรูแล้ว จะไม่เกิดการเรียนรูได้อีก (It is difficult to learn when ้ ้ you think you know everything.)  ผูนาการเปลี่ยนแปลงมีความมั ่นใจจึงมอบอานาจ ผูนาแบบผูรบใช้ ้ ้ ้ั แบ่งปั นอานาจและการควบคุม
  • 25. มีควำมซื่อสัตย์ (Integrity)  การทาในสิ่งทีถูกต้องต่อผูมีสวนได้ส่วนเสีย (a1) ร่วมกับความ ่ ้ ่ สอดคล้องกันของคาพูด พฤติกรรม และการกระทาอย่างสมาเสมอ ่ เป็ นสิ่งจาเป็ นของความน่าเชื่อถือ และทาให้มีอิทธิพลต่อผูอื่น ้  ความซื่อสัตย์ มีสวนสาคัญต่อการเป็ นแบบอย่างที่ดี (b1) ทาให้เป็ น ่ คนน่าไว้วางใจ (c7) ทาให้เกิดการทางานเป็ นทีม (c3) และเอาชนะ แรงต้านได้ (f2)  ความซื่อสัตย์และความไว้วางใจ เป็ นกุญแจสาคัญของผูนาแบบผูรบ ้ ้ั ใช้ และผูนาการเปลี่ยนแปลง ้  การเดินสายพบปะผูคน (walk the talk) เป็ นสิ่งจาเป็ นที่ผนาต้อง ้ ู้ แสดงออก เพือให้ผคนรับทราบเรืองราวจากปากผูนาโดยตรง ่ ู้ ่ ้
  • 26. มีมุมมองเป็ นระบบ (Systems perspective)  ผูนาแทบทุกคนในการศึกษานี้ มององค์กรเป็ นพลวัตรแบบเปิ ด ้ คือสามารถสร้างหรือสร้างใหม่ ในการพัฒนาผลงานให้ดีข้ ึนเพื่อผู ้ มีส่วนได้ส่วนเสีย ต่างจากระบบปิ ดหรือระบบเกมกินรวบ  มุมมองนี้จะมีการปรับเปลี่ยน เมื่อผูนาเกิดการเรียนรูระหว่างการ ้ ้ เดินทาง (b9 และ a9)  แม้ว่าการนาของผูนาการเปลี่ยนแปลง ผูนาแบบผูรบใช้ หรือผูนา ้ ้ ้ั ้ แบบจิตวิญญาณ จะไม่ได้ระบุเรือง การมีมุมมองอย่างเป็ นระบบ ่ แต่ก็ไม่มีอะไรขัดกัน ของการคิดอย่างเป็ นระบบ (b7) และการมี มุมมองอย่างเป็ นระบบ (i4)
  • 27. มีทศนคติและแรงจูงใจ (Attitudes and motivations) ั  แนวคิดหลายอย่างของกรอบการนาองค์กร LTPE มาจากทัศนคติ และแรงจูงใจของผูนาสูงสุด ้  ผูนาแบบ Baldrige ต่างจากผูนาระบอบอื่น 6 ประการ ซึ่ง ้ ้ องค์ประกอบเหล่านั้น ล้วนมีอยูในองค์ประกอบของ LTPE ่  นอกจากลักษณะเฉพาะของผูนาแล้ว วัฒนธรรมองค์กรมีอิทธิพล ้ ต่อพฤติกรรมของผูนา และพฤติกรรมของผูนาก็มีอิทธิพลต่อ ้ ้ วัฒนธรรมองค์กร
  • 28. วัฒนธรรมองค์กร  กำรเปลี่ ยนวัฒนธรรม (c1—Culture change)  กำรขับเคลื่ อนด้วยค่ำนิยม (c2—Values driven)  กำรทำงำนเป็ นทีม (c3—Teamwork)  ควำมเป็ นเลิ ศ (c4—Excellence)  กำรให้คุณค่ำบุคลำกร (c5—Valued employees)  กำรมุ่งเน้นลูกค้ำ (c6—Customer focus)  ควำมไว้วำงใจ (c7—Trust)
  • 29. วัฒนธรรมองค์กร  Schein (1992, 12) รูปแบบของสมมติฐานพื้นฐานที่ใช้รวมกัน ่ ของกลุม ที่ได้เรียนรูในการแก้ปัญหาจากการปรับตัวภายนอก ่ ้ และบูรณาการภายใน ที่มีการทางานดีพอและได้รบการพิจารณา ั ว่าถูกต้อง แล้วจึงสอนให้กบสมาชิกใหม่ว่า เป็ นวิธีที่ถูกต้องใน ั การแก้ปัญหาเหล่านั้น  Vera and Crossan (2004) วิธีที่ผคนทีนี่ทากัน ู้ ่
  • 30.
  • 31. กำรเปลี่ยนวัฒนธรรม (Culture change )  การเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรคือประเด็นสาคัญที่สุดในการ เปลี่ยนแปลงขององค์กร  องค์กรเปลี่ยนไปแล้วอาจเปลี่ยนกลับมาเป็ นอย่างเดิมอีกก็ได้ ถ้า ไม่ได้ปฏิบตอย่างต่อเนื่อง จนกระทั ่งกลายเป็ นนิสย ั ิ ั  แต่ไม่ได้หมายความว่าเมื่อเปลี่ยนไปแล้ว จะเปลี่ยนแปลงอีกไม่ได้ เพราะองค์กรที่มีความเป็ นเลิศ สามารถปรับเปลี่ยนได้ตาม สถานการณ์ที่เปลี่ยนไป  การเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร จึงการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญที่สุด (Culture change is possibly the most important type of change in achieving a high level of performance excellence.)
  • 32. กำรขับเคลื่อนด้วยค่ำนิยม (Values driven )  ค่านิยมองค์กร คือ องค์ประกอบสาคัญ ของการนาการเปลี่ยนแปลง และการนาแบบจิตวิญาณ  เป็ นเรืองสาคัญที่ค่านิยมที่ถูกต้อง ฝังตัวในวัฒนธรรมองค์กร ่  ค่านิยมสู่ความเป็ นเลิศประกอบด้วย ความผูกพันของบุคลากร (c5) ความไว้วางใจกันและกัน (c7) ทางานกันเป็ นทีม (c3) ในการสร้าง ผลิตภัณฑ์และบริการที่เป็ นเลิศ (c4) เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดี ให้กบลูกค้า (c6) ั  ค่านิยมเพียง 5 ข้อ ก็พอเพียงสาหรับกรอบการนาองค์กร LTPE ได้แก่ การทางานเป็ นทีม ความเป็ นเลิศ ให้คุณค่าบุคลากร การมุ่งเน้นลูกค้า และความไว้วางใจ (teamwork, excellence, valued employees, customer focus, and trust)
  • 33. กำรทำงำนเป็ นทีม (Teamwork)  การทางานเป็ นทีมแบบสหสาขา (Cross-functional teamwork) และการแบ่งปั นความรู ้ เป็ นลักษณะที่สาคัญของทุกองค์กรที่มี ความเป็ นเลิศ  ความร่วมมือ (b3) และการทางานเป็ นทีม เป็ นส่วนสาคัญในการ สร้างความสัมพันธ์ท้งภายในและภายนอก รวมถึงการออกแบบ ั กระบวนการใหม่ และการปรับปรุงพัฒนา  องค์กรที่ศึกษา มีการแบ่งปั นความรูอย่างมากมาย และมีจดเน้น ้ ุ ในการทางานเป็ นทีม
  • 34. ควำมเป็ นเลิศ (Excellence)  ทุกองค์กรกล่าวว่า คุณภาพและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เป็ น ส่วนสาคัญของวัฒนธรรม ขององค์กรที่มีสมรรถนะสูง  การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมประการหนี่ง ที่มีความสาคัญ คือการ มุ่งเน้นลูกค้า (c6)  วัฒนธรรรมเผ่า (clan cultures) มีกระทบด้านบวกต่อคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์ มากกว่าวัฒนธรรมการตลาด (market cultures)
  • 35. กำรให้คุณค่ำบุคลำกร (Valued employees )  วัฒนธรรมองค์กรเรื่องการให้คณค่ากับบุคลากร เป็ นเรื่องสาคัญที่ทุก ุ องค์กรกล่าวถึง  วัฒนธรรมเผ่า (clan cultures) ประสบผลสาเร็จได้เพราะเป็ นสิ่งที่ ดึงดูด พัฒนา และธารงไว้ ซึ่งคนเก่ง (talented workforce)  วัฒนธรรมเผ่า ทาให้เกิด ความร่วมมือ (b3) การแบ่งปั นความรู ้ (c3) การพัฒนาของผลิตภัณฑ์และกระบวนการ (a9) นอกจากนี้การ ให้คณค่าบุคลากร ยังทาให้เกิดความไว้วางใจของบุคลากร (c7) ก่อ ุ เกิดการทางานเป็ นทีม (c3)  การให้คณค่ากับบุคลากร ทาให้บุคลากรเกิดความพึงพอใจ และ ุ ส่งผลให้การดูแลลูกค้า เกิดความพึงพอใจเช่นเดียวกัน
  • 36. การมุ่งเน้นลูกค้า (Customer focus )  ผูนาสูงสุดหลายคนกล่าวว่า การอาศัยลูกค้าเป็ นตัวผลักดัน ้ (customer driven) เป็ นวัฒนธรรมองค์กรที่สาคัญ ซึ่งในเกณฑ์ได้ มีการมุ่งเน้น โดยมีหมวดที่กล่าวเฉพาะถึงการมุ่งเน้นลูกค้า ที่มา จากค่านิยมและแนวคิดหลักของเกณฑ์คือ ความเป็ นเลิศที่ มุ่งเน้นลูกค้า (customer-driven excellence)  การมุ่งเน้นลูกค้า (c6) มีความเชื่อมโยงกับการให้คณค่าบุคลากร ุ (c5) ดังที่ได้กล่าวก่อนหน้านี้ และวัฒนธรรมการตลาด (market cultures - c6) ที่มีความสัมพันธ์กบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ (c4) ั
  • 37.    วัฒนธรรมเผ่า (clan culture) สะท้อนได้โดย การให้คณค่า ุ บุคลากร (c5) ความไว้วางใจ (c7) และการทางานเป็ นทีม (c3) วัฒนธรรมการตลาด (market culture) สะท้อนโดยการมุ่งเน้น ลูกค้า (c6) และความเป็ นเลิศ (c4) Cameron and Quinn (1999) ให้กรอบเรืองค่านิยมของการ ่ แข่งขัน (competing values framework - CVF) เพื่อความเข้าใจ เรืองวัฒนธรรมที่มี 2 มิติคือ : ความยืดหยุนกับความมั ่นคง ่ ่ (flexibility vs. stability) และ การมุ่งเน้นภายในกับมุ่งเน้น ภายนอก (internal vs. external focus)
  • 38.
  • 39. ความไว้วางใจ (Trust)  ความไว้วางใจกันของบุคลากรและผูนา เป็ นวัฒนธรรมที่สาคัญของ ้ องค์กร  ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน ก่อเกิดพันธะสัญญาระหว่างกัน ซึ่งเป็ น ลักษณะสาคัญของการนาทุกระบบ  มีการเชื่อมโยงกันของ ความไว้วางใจ (c7) การเป็ นแบบอย่างทีดี ่ (b1) และความซื่อสัตย์ (i3) ที่ยงคงใช้ยนยันอีกครั้งว่า การกระทาดัง ั ื กว่าคาพูด (actions speak louder than words)  บุคลากรที่มีความผูกพันและมีแรงจูงใจ (c5) ประกอบกับมีความ ไว้วางใจสูงซึ่งกันและกัน (c7) คือกุญแจสาคัญของการทางานเป็ นทีม (c3)
  • 40.
  • 41. ผลกระทบทางทฤษฎี  ภาคแรก เป็ นการบอกรายละเอียดเรื่องแรงผลักดันและบทบาทผู ้ ประสานงาน ต่อการเปลี่ยนแปลง ของระบบการนาอย่างมีกลยุทธ์ ใน มุมมองของผูนาสูงสุด ้  ภาคที่สอง ประกอบด้วยพฤติกรรมผูนา 9 ข้อ ลักษณะเฉพาะผูนา 5 ้ ้ ข้อ และ วัฒนธรรมองค์กร 7 ข้อ ที่เกี่ยวข้องกับกรอบการนาองค์กร LTPE  กรอบการนาองค์กร LTPE framework เป็ นการเปลี่ยนแปลงองค์กร เพื่อความเป็ นเลิศ  ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงเพือความเป็ นเลิศ จึงเป็ นกระบวนการการนา ่ องค์กรอย่างมีกลยุทธ์
  • 42.  การเดินทางสู่ความเป็ นเลิศแบบ Baldrige เป็ นการปรับปรุงกระบวนการภายใน เพื่อ รองรับกลยุทธ์ขององค์กร  ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงเพื่อความเป็ นเลิศ จึงเป็ นปรากฏการณ์ ในการบูรณาการการ จัดการ โดยใช้กลยุทธ์ร่วมกับการนาอย่างมี กลยุทธ์ เพื่อความเป็ นเลิศตามเกณฑ์ของ Baldrige  การเปลี่ยนแปลงเพื่อความเป็ นเลิศ จึงเป็ น กระบวนการการนาองค์กรอย่างมีกลยุทธ์
  • 43. ผลกระทบต่อการนาไปปฏิบติ ั  ความเข้าใจเรื่องแรงผลักดันและผูประสานงานต่อการเปลี่ยนแปลง ้ ช่วยผูนาได้ เช่น ถ้าความตึงเครียดน้อยไป (f1) ผูนาก็เพิ่มระดับการ ้ ้ วัดผลงาน (a6) และใช้การเทียบเคียงกับองค์กรที่เป็ นเลิศ เพือชี้ ่ ทิศทาง (a2) ในการดึงองค์กร  ถ้าการเปลี่ยนแปลงช้าหรือแทบจะไม่เกิดขึ้น ให้เพิ่มความสอดคล้อง ของกลยุทธ์ กิจกรรม และผลลัพธ์ (f3) บวกกับการใช้เกณฑ์และการ ใช้ที่ปรึกษา (f4 + f5) เป็ นตัวเร่ง  คาอธิบายเรื่องแนวทางการนา (a1 – a9) ช่วยออกแบบการนา องค์กรและปั จจัยประกอบการนาได้
  • 44. ข้อจากัด  การศึกษานี้จาเพาะผูนาสูงสุดเท่านั้น ้  ไม่มีเพศหญิง  ศึกษากับกลุมธุรกิจ การศึกษา และการดูแลรักษาพยาบาล แต่ ่ ไม่มีหน่วยงานราชการหรือองค์กรไม่แสวงหากาไร  มีการศึกษาเพียง 14 องค์กร  ทุกองค์กรล้วนมีสานักงานใหญ่ในอเมริกา
  • 45. สรุป  ไม่มีสูตรสาเร็จดอกจะบอกให้ (There are no silver bullets.)  การศึกษานี้เป็ นการเริมต้น เพื่อความเข้าใจการเปลียนแปลง ่ ่ องค์กรโดยผูนาระดับสูงสุด กรอบการนาองค์กร LTPE นี้ มีความ ้ ครอบคลุมมากขึ้นกว่าการศึกษาก่อนหน้านี้ เพราะไม่ได้เน้นถึง ความแตกต่าง แต่เป็ นกรอบที่มีความครอบคลุมส่วนประกอบที่ สาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงองค์กร ในมุมมองของผูนาสูงสุด ้ ถ้ามีคนเคยทาแล้ว แสดงว่ามันเป็ นไปได้ (If it has been done, it must be possible.)
  • 46.
  • 47.