SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
5 มกราคม 2557
Steve Zaffron & Dave Logan



A Warren Bennis Book
Published by Jossey-Bass.
A Wiley Imprint, 2009

ขอขอบคุณ พันเอกหญิง อังคณา สุเมธสิทธิกุล
ที่กรุณาแนะนาหนังสือเล่มนี้ มาศึกษา


Steve Zaffron เป็ น CEO ของ
Vanto Group บริษัทที่ปรึกษาด้าน
ธุรกิจ เพื่อยกระดับผลงานของ
องค์กร
 Zaffron ได้พฒนาผลงานให้กบ
ั
ั
บริษัทกว่า 300 แห่ง ใน 20
ประเทศทั ่วโลก


Dave Logan เป็ นอาจารย์ที่
Marshall School of Business
มหาวิทยาลัย Southern California
และเคยดารงตาแหน่งรอง
คณบดี
 เขาเป็ นหุนส่วนกับ CultureSync
้
บริษัทที่ปรึกษาด้านการบริหาร
จัดการ และเขาได้ประพันธ์
หนังสือ 3 เล่ม รวมทั้ง Tribal
Leadership
หลักการ
 กฏข้อที่ 1 รูและเข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้น (First Law: How
้
people perform correlates to how situations occur to them)
 กฏข้อที่ 2 สามารถอธิบายสถานการณ์ได้ (Second Law: How a
situation occur arises in language)
 กฏข้อที่ 3 สร้างภาพอนาคตเป็ น (Third Law: Future-based
language transforms how situations occur to people)
เกริ่นนา
 กฏ ไม่ใช่ระเบียบ ข้อแนะนา หรือขั้นตอน แต่เป็ นสิ่งที่เป็ นอยู่
จริง ไม่ว่าใครจะเชื่อหรือไม่ ก็ไม่เปลี่ยนแปลง เช่น แรงโน้ม
ถ่วงของโลก
 กฏทั้ง 3 ข้อนี้ ไม่ใช่เป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็ นค่อยไป
เมื่อใช้ร่วมกัน จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในอนาคตที่
สามารถกาหนดได้
เมื่อพูดถึงอนาคตขององค์กร
 บุคลากร – ไม่สาเร็จหรอก เป็ นเรืองการเมือง สายเกินไปที่จะ
่
พูดถึง ไม่มีทางเปลี่ยนได้ ผูนาไม่นาจริงจัง เสียเวลา เดี๋ยวบริษท
้
ั
ก็ปิดตัว หรือไม่ก็ถูกคนอื่นมาซื้อกิจการ ฯลฯ
 ผูนา – ผูคนไม่สนใจหรอก ให้เสนอความคิดมาก็ไม่เห็นมีอะไรดี
้
้
เราไม่มีเงินจ้างคนเก่งเข้ามาทางานกับเรา มีแต่คนธรรมดา ๆ
เราทาดีที่สุดแล้ว ทาอย่างไรก็ไม่ประสบความสาเร็จ ฯลฯ
The Three Laws of Performance
ตอนแรก
 บทที่ 1-3 เป็ นการอธิบายกฏทั้ง 3 ข้อนี้ และการนาไปใช้
้
 เราจะได้ทราบว่า อะไรเป็ นตัวเหนี่ยวรังเราไว้ เราจะสร้างอนาคต
ได้อย่างไร ทั้งเรืองส่วนตัว และอาชีพการงาน
่






กฏข้อที่ 1 รูและเข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้น (First Law: How
้
people perform correlates to how situations occur to them)
ผูคนแสดงออกตามสถานการณ์ทเกิดขึ้นกับพวกเขา นั ่นคือถ้าเรา
้
ี่
ทาตนให้เป็ นเขาบ้าง แล้วเจอสภาพแบบนั้น เราก็จะเข้าใจว่า
ทาไมเขาจึงแสดงออกมาแบบนั้น
สถานการณ์ที่เกิดขึ้น รวมถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาในอดีต และ
คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต
เมื่อกลุมบุคคลมีสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเหมือนกัน อคติจะเกิดขึ้น
่
เกิดเป็ น ภาพหลอน (Reality Illusion) ที่ทุกคนคิดแบบเดียวกัน
อนาคตตามยถากรรม
 ถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลงให้ดีข้ ึน สถานการณ์แย่ ๆ ที่เกิดขึ้น จะ
นาไปสู่ อนาคตตามยถากรรม (Default Future)
 เราต้องคิดใหม่ว่า นี่เป็ นความท้าทาย ที่เราต้องทาอะไรสักอย่าง
เพื่อเปลี่ยนแปลงอนาคตให้ดีข้ ึน
 ตามตาราบริหาร ที่มีทฤษฎีว่า บุคคลแสดงออกตามความเชื่อ
ดังนั้นเราต้องเพิ่มทักษะ ความรู ้ ค่านิยม ทัศนคติ ฯลฯ แต่การ
พิจารณาค่อย ๆ ทาไป อาจจะสายเกินการ เพราะพูดง่ายกว่าทา
 เพื่อการอยูรอด ต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป
่
ความท้าทายที่ซบซ้อน
ั
 วัฒนธรรมองค์กร คือ การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง เมื่อฝ่ าย
บริหารแนะนาเครืองมือการบริหารองค์กรใหม่เข้ามา บุคลากรจะ
่
มีปฏิกิรยาต่อต้าน เพราะยังไม่เข้าใจ และกลัวไปต่าง ๆ นา ๆ
ิ
 ผูบริหารต้องยืนหยัด (เช่นเดียวกับการลดน้ าหนัก ถ้าใม่แน่วแน่
้
จริง มีหวังล้มเหลวมากกว่าเดิม) และบริหารการต่อต้านการ
เปลี่ยนแปลง โดยสร้างความรู ้ ความเข้าใจ
 ผูบริหารต้องสร้างความไว้วางใจ และเอาใจใส่ ไม่ควรใช้ การสั ่ง
้
การแล้วควบคุม (Command & Control) เพราะจะไม่ได้รบความ
ั
ร่วมมือ ให้พยายามหาความร่วมมือร่วมใจกัน แล้วก้าวไปด้วยกัน
Appreciate, Influence, Control (AIC) (ไม่มีในหนังสือ ผมเพิ่มเติมให้เอง)
 AIC เป็ นกระบวนการในการกาหนดอนาคตใหม่ เริ่มต้นที่ผนาจัดการ
ู้
ประชุมบุคลากรที่เลือกสรรเข้ามา แล้วให้แสดงความคิดเห็น
สถานการณ์ปัจจุบน (โดยมากมักจะแย่ ๆ ที่ส่งผลให้เกิดอนาคตตาม
ั
ยถากรรม) จากนั้นให้ทุกคนมีสวนร่วมในการเสนอภาพอนาคตที่ทุก
่
คนอยากเห็นอยากเป็ น (ภาพอนาคตที่ด)
ี
 แล้วมีการสรุปแผนงานหรือโครงการ ทีบุคลากรและผูนามีความเห็น
่
้
พ้องกัน ร่วมมือกัน ทาให้เกิดขึ้นในองค์กร
 ความสาเร็จ ขึ้นกับผูนาต้องมีความอดทน อดกลั้น ไม่โกรธ ผูเข้า
้
้
ประชุมต้องเคารพความเห็นของกันและกัน มีกฏกติกาการประชุม
กฏข้อที่ 2 สามารถอธิบายสถานการณ์ได้ (Second Law: How a
situation occur arises in language)
 ใช้ภาษาอธิบายสถานการณ์ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร (การสื่อสาร)
 คาว่าภาษานี้มีความหมายกว้างขวาง รวมถึงคาพูด การเขียน
ภาษาท่าทาง หน้าตาที่แสดงออก น้ าเสียง รูปภาพ ดนตรี การ
แต่งกาย กิรยา และทุกสิ่งที่สื่อออกไป (วจนะ และ อวจนะ)
ิ
 อวจนะ (unsaid and communicated without awareness) เป็ นสิ่ง
สาคัญกว่าคาพูด แสดงให้เห็นความสาคัญของสารที่ตองการสื่อ
้
การอาพราง (Rackets)
 การอาพราง คือการไม่แสดงออกอย่างแท้จริง มี 4 องค์ประกอบคือ
 1.การบ่น (complaint) ที่สะสมมานาน เช่น ไม่ได้ผลหรอก เสียเวลา ไม่
มีใครมาช่วยเหลือเลย (ผูบนคือผูทตองการอานาจ)
้ ่
้ ี่ ้
 2.การแสดงออก (behavior) ที่มาพร้อมการบ่นเสมอ เช่น การหลบหลีก
การทะเลาะเบาะแว้ง
สองประการแรกเป็ นสิ่งที่สงเกตได้ไม่ยาก
ั
 3.ค่าสินไหมทดแทน (payoff) สิ่งที่จะทาให้เลิกบ่น เช่น ความต้องการ
เป็ นผูทถูก เป็ นผูทอยูเหนือกว่า
้ ี่
้ ี่ ่
 4.ราคา (cost) หมายถึงผลกระทบที่ตองเป็ นค่าใช้จาย เช่น ทาให้เกิด
้
่
ความเหินห่าง การแตกคอกัน การทาร้ายกัน
สองประการสุดท้ายเป็ นสิ่งที่มองไม่เห็น
การเรียนรูภาษา
้
 เราต้องรูเท่าทันเรื่องการอาพรางในการสนทนา จะได้รูว่ามีประเด็น
้
้
ใดอยูเบื้องหลัง (กรุณาย้อนกลับไปอ่านอีกครั้ง)
่
 ให้ทาการเปลี่ยนประเด็นโดยใช้ 2 องค์ประกอบหลังมาเจรจากัน
หาทางออกใหม่รวมกัน (new space) เพื่อให้เกิดการเจรจาที่เป็ น
่
ประโยชน์ตอไปได้ เพราะองค์ประกอบ 2 ประเด็นแรก เป็ นเรืองที่ไม่
่
่
เป็ นเรือง
่
 องค์ประกอบ 3-4 เป็ นการปลดตนเองจากการเห็นแก่ตว และให้
ั
ความร่วมมือกับผูอื่น เป็ นการเปลี่ยนความคิด และกาหนดอนาคต
้
ใหม่รวมกัน เพราะถ้าขืนยังเป็ นอยูดงเดิม ความสูญเสียจะยิงเพิ่มขึ้น
่
่ ั
่
เรื่อย ๆ (แตกความสามัคคี)
ข้อสังเกต กฏข้อที่ 2
 ให้ระวังการบ่นและการแสดงออกของตนเอง ไม่ว่าเรืองของคน
่
และสถานการณ์
 มองการอาพรางทั้ง 4 ข้อให้ออก รวมถึงมองตนเองด้วย
 มองสถานการณ์ให้ถวนทั ่ว เช่น ใช้การเขียนทุกสิ่งที่คุณต้องการ
้
บอกผูอื่น ไม่ว่าการขอโทษ สิ่งที่คณต้องรับผิดชอบ สิ่งที่คุณ
้
ุ
ต้องการให้อภัย ฯลฯ
 บอกเล่าสิ่งที่คุณได้คนพบเป็ นประสบการณ์ ในการงานและใน
้
ชีวิต ให้กบผูอื่นได้รวมเรียนรูดวย
ั ้
่
้ ้
กฏข้อที่ 3 สร้างภาพอนาคตเป็ น (Third Law: Future-based
language transforms how situations occur to people)
 พลังของการใช้ภาษาอนาคต (Power of Future-Based Language)
เป็ นภาษาทีใช้เพื่อสร้างอนาคต ไม่ปล่อยไปตามยถากรรม
่
 ภาษาดังกล่าว เป็ นจุดหันเห หรือเปลี่ยนแปลงประวัตศาสตร์ ที่
ิ
เมื่อผูคนได้ยนได้ฟังแล้ว สามารถมองเห็นอนาคตใหม่ที่ดีกว่า
้
ิ
เดิม ก่อเกิดการกระทาเพือสูจดมุ่งหมายนั้น
่ ุ่
เงื่อนไขในการสร้างภาษาของอนาคต
 1. รูว่าอะไรคือสิ่งที่สร้างความผูกพันและข้อบังคับ นั ่นคือ เป็ น
้
ถ้อยความทีบรรยายออกมา ไม่ใช่ใช้ขอเท็จจริง
่
้
 2. ชี้ให้เห็นอนาคตแบบยถากรรม แล้วถามว่า นี่คือสิ่งที่เรา
ต้องการหรือ?
 3. ให้ลืมประเด็นที่เคยเกิดมาในอดีต มองไปในอนาคตที่ดี
กว่าเดิม โดยการพูดคุยกับผูเกี่ยวข้องหรือผูแทน (ในกรณีที่
้
้
คู่กรณีเสียชีวิตไปแล้ว) มีการขอโทษขอโพย การให้อภัยซึ่งกัน
และกัน เรื่องที่แล้วก็แล้วกันไป อย่าถือสาหาความกันเลย
หลักการสร้างอนาคตใหม่
 1. อนาคตกระตุนให้เกิดการกระทา โดยคนหมู่มากที่เกี่ยวข้อง
้
 2. ทุกคนที่เกี่ยวข้องในกระบวนการ รูเรื่องเกี่ยวกับอนาคตเป็ น
้
อย่างดี และเป็ นเรืองที่ตรงกับความสนใจของทุกคน
่
 3. อนาคตกลายเป็ นจริงได้ เมื่อได้รบการเอ่ยถึง ก่อเกิดเป็ นพลัง
ั
มีชีวิตชีวา
The Three Laws of Performance
ตอนที่สอง
 บทที่ 4-5 เป็ นบทบาทของผูนา ที่จะนากฏทั้ง 3 ข้อนี้ ไปใช้
้
ประโยชน์
 รวมถึงบทบาทขององค์กร ต่อการทางานในประเทศที่กาลัง
พัฒนา ความยั ่งยืนของชุมชน และการเฉลี่ยความสมบูรณ์พูนสุข
(ทั้งวัตถุและสุขภาวะของประชาชน)






กฏข้อที่ 1 เข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ผูนำเข้ำใจและใช้
้
ประโยชน์จำกสถำนกำรณ์ (Leaders have a say, and give others
a say, in how situations occur)
กฏข้อที่ 2 อธิบายสถานการณ์ได้ ผูนำสำมำรถอธิบำยให้ผอ่ืน
้
ู้
เข้ำใจสถำนกำรณ์ตำมได้ (Leaders master the conversational
environment)
กฏข้อที่ 3 สร้างภาพอนาคตเป็ น ผูนำฟั ง แล้วสำมำรถอธิบำยให้
้
ผูอ่ืนเข้ำใจอนำคตได้ (Leaders listen for the future of their
้
organization)





ผูนำเข้ำใจและใช้ประโยชน์จำกสถำนกำรณ์ (Leaders have a say,
้
and give others a say, in how situations occur)
ผูนารูขอจากัดของตนเอง รูจกใช้ประโยชน์จากบุคลากรที่มีความ
้ ้ ้
้ั
หลากหลายเพื่อหาแนวคิดร่วม ในการเขียนอนาคตใหม่ของ
องค์กร
ผูนาที่มอบอานาจให้ผอื่นร่วมร่างอนาคต สามารถแปรเปลี่ยนทุก
้
ู้
สถานการณ์ได้ ไม่ว่าจะยากลาบากเพียงใด (โดยใช้กระบวนการ
การสนทนา การประชุม ที่ทาให้ผคนมีความรูสึกร่วมในการเขียน
ู้
้
อนาคต)




ผูนำสำมำรถอธิบำยให้ผอ่ืนเข้ำใจสถำนกำรณ์ตำมได้ (Leaders
้
ู้
master the conversational environment)
ผูนาเป็ นผูกาหนดการสนทนาให้มีทิศทาง ให้รูจกอดีตที่มี
้
้
้ั
ข้อบกพร่องอยู่ มุ่งไปสูการสร้างอนาคตที่ดีกว่า
่
ผูนาต้องมีความซื่อสัตย์ รักษาคาพูด ทาในสิ่งที่สมควรทาแม้ไม่มี
้
ใครบอก และมีแนวทางการทางานที่เป็ นไปได้







ผูนำฟั ง แล้วสำมำรถอธิบำยให้ผอ่ืนเข้ำใจอนำคตได้ (Leaders
้
ู้
listen for the future of their organization)
ผูนาจะไม่เขียนอนาคตด้วยตนเอง แต่เขาจะฟั งอย่างตั้งใจ
้
เช่นเดียวกับแพทย์ฟังเสียงต่าง ๆ และใช้การสังเกต เพื่อการ
วินิจฉัยโรค
โดยการจัดกลุมคนที่ได้รบมอบหมาย มีเวทีให้คนเหล่านั้นมีสวน
่
ั
่
ร่วมในการเขียนอนาคตขององค์กร เพราะพวกเขาจะรูสึกถึง
้
ความเป็ นเจ้าของ และปฏิบตตามนั้น
ั ิ
จากการฟั ง ผูนาจะเกิดความคิดปิ๊ งขึ้นมา และใช้ประโยชน์ได้จริง
้
The Three Laws of Performance
ตอนที่สาม
 เป็ นบทบาทของปั จเจกบุคคล
 บทที่ 6 การนากฏทั้ง 3 ข้อ เพื่อใช้เพิมภาวะผูนาของตนเอง
่
้
 บทที่ 7 การใช้ประโยชน์จากกฏทั้ง 3 ข้อ
 บทที่ 8 แนวทางการนาความคิดใหม่สูการปฏิบติ
่
ั
ใครหรืออะไร เป็ นผูกาหนดชีวิตคุณ
้
 เป็ นการนากฏทั้ง 3 ข้อมาใช้เพื่อพัฒนาภาวะผูนาของแต่ละคน
้
 โดยวิเคราะห์ตนเอง ว่ามีอะไรเป็ นสาเหตุลึก ๆ ที่ทาให้เรามี
พฤติกรรม ที่แม้แต่ตวเราเองก็อยากจะปรับเปลี่ยนให้ดีข้ ึน
ั
 พยายามหาสาเหตุให้ได้จากสถานการณ์วิกฤตที่ผ่านมา ไม่ว่าจะ
ผ่านมานานเท่าใด ที่สงผลให้เราแสดงออกพฤติกรรมเช่นนั้น เช่น
่
มีสาเหตุจากการดุดาของครู ผูปกครอง พี่นอง เพื่อน ที่ยงฝั งใจอยู่
่
้
้
ั
 เพื่ออนาคตที่ดีกว่าเดิม ให้ทาการปรับความคิดใหม่ เช่น เลิก
อาฆาตมาเป็ นการให้อภัย มีการขอโทษถ้าเคยผิดพลาด
หนทางสูเป็ นผูเชี่ยวชาญ
่
้
 การใช้กฏทั้งสามได้อย่างผูเชี่ยวชาญ (มองสถานการณ์ผานกฏทั้ง
้
่
สามข้อพร้อมกัน โดยไม่ตองตั้งกระบวนท่า) มีข้นตอนดังนี้
้
ั
 1. รูตวว่าใช้มุมมองแบบใดอยู่ (ที่เรารูดี เป็ นพื้นฐานของเรา)
้ ั
้
 2. สร้างมุมมองใหม่ที่ตางจากเดิม (เป็ นจุดวิกฤตของกฏทั้ง 3)
่
 3. มองเห็นโอกาสใหม่ ๆ (ที่แตกต่างจากอดีตเคยมอง เคยใช้)
 4. สอนหรือแนะนาผูอื่น (ทาให้ได้ประสบการณ์ และเชี่ยวชาญ
้
ในกฏทั้งสามข้อมากขึ้น)
การฝ่ าฟั นอุปสรรคของการสร้างผลงาน
 1. เป็ นผูเล่นเกมเอง อย่าเพียงเป็ นผูชม
้
้
 2. กาหนดเกมใหม่ เน้นเฉพาะเกมที่สาคัญเท่านั้น
 3. อย่าแก้ตว พยายามฝ่ าฟั นอุปสรรคให้ได้
ั
 4. ขยายแนวคิด ให้หาแนวร่วม
 5. มองหาโค้ช ที่จะช่วยแก้เกม ทาให้เราให้ชนะได้
 6. ลืมสิ่งในอดีตที่แย่ ๆ เพื่ออนาคตทีดีกว่า
่
 7. เล่นเกมแบบสุดตัว สุดชีวิต
เกมก็คือเกม ไม่ใช่สิ่งสาคัญสูงสุด จงเล่นอย่างใจรัก เต็มที่






กฏทั้งสามข้อนี้ ต้องอาศัยความร่วมมือของผูนาและบุคลากร ใน
้
การกาหนดอนาคตขององค์กร
กฏข้อที่ 1 กล่าวถึงสถานการณ์ปัจจุบน ว่าถ้าไม่ทาอะไร อนาคต
ั
จะเป็ นไปตามยถากรรม เราต้องการอย่างนั้นหรือ
กฏข้อที่ 2 และ 3 ใช้รวมกันคือ อย่าเสียเวลาแก้ปัญหาด้วย
่
วิธีการเดิม ๆ ให้ใช้มุมมองใหม่หาโอกาส แล้วจัดทาโครงการ
เพื่อสร้างอนาคตขององค์กรที่ดีกว่าเดิม
สิ่งหนึ่งที่เป็ นพื้นฐานภาวะผูนา คือ การฟั ง
้
Lao-tse
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร

More Related Content

Similar to 3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร

ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2krubuatoom
 
เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1Prapaporn Boonplord
 
ความเฉื่อยในองค์กร
ความเฉื่อยในองค์กรความเฉื่อยในองค์กร
ความเฉื่อยในองค์กรLomony Tempopo
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1Sarawut Messi Single
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์ออร์คิด คุง
 
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allKruKaiNui
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
N310552 5
N310552 5N310552 5
N310552 5Moo Ect
 
เร ยงความ
เร ยงความเร ยงความ
เร ยงความpapontee
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์ออร์คิด คุง
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjornT
 
Controversymanage
ControversymanageControversymanage
Controversymanagemymy2536
 

Similar to 3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร (20)

360 degree leader
360 degree leader360 degree leader
360 degree leader
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1
 
Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
Vunst dr delek
 
ความเฉื่อยในองค์กร
ความเฉื่อยในองค์กรความเฉื่อยในองค์กร
ความเฉื่อยในองค์กร
 
When things go wrong
When things go wrongWhen things go wrong
When things go wrong
 
Ar tof facilitator
Ar tof facilitatorAr tof facilitator
Ar tof facilitator
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
 
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people all
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1
 
N310552 5
N310552 5N310552 5
N310552 5
 
เร ยงความ
เร ยงความเร ยงความ
เร ยงความ
 
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntaned
 
Controversymanage
ControversymanageControversymanage
Controversymanage
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 

More from maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร

  • 2. Steve Zaffron & Dave Logan
  • 3.   A Warren Bennis Book Published by Jossey-Bass. A Wiley Imprint, 2009 ขอขอบคุณ พันเอกหญิง อังคณา สุเมธสิทธิกุล ที่กรุณาแนะนาหนังสือเล่มนี้ มาศึกษา
  • 4.  Steve Zaffron เป็ น CEO ของ Vanto Group บริษัทที่ปรึกษาด้าน ธุรกิจ เพื่อยกระดับผลงานของ องค์กร  Zaffron ได้พฒนาผลงานให้กบ ั ั บริษัทกว่า 300 แห่ง ใน 20 ประเทศทั ่วโลก
  • 5.  Dave Logan เป็ นอาจารย์ที่ Marshall School of Business มหาวิทยาลัย Southern California และเคยดารงตาแหน่งรอง คณบดี  เขาเป็ นหุนส่วนกับ CultureSync ้ บริษัทที่ปรึกษาด้านการบริหาร จัดการ และเขาได้ประพันธ์ หนังสือ 3 เล่ม รวมทั้ง Tribal Leadership
  • 6. หลักการ  กฏข้อที่ 1 รูและเข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้น (First Law: How ้ people perform correlates to how situations occur to them)  กฏข้อที่ 2 สามารถอธิบายสถานการณ์ได้ (Second Law: How a situation occur arises in language)  กฏข้อที่ 3 สร้างภาพอนาคตเป็ น (Third Law: Future-based language transforms how situations occur to people)
  • 7. เกริ่นนา  กฏ ไม่ใช่ระเบียบ ข้อแนะนา หรือขั้นตอน แต่เป็ นสิ่งที่เป็ นอยู่ จริง ไม่ว่าใครจะเชื่อหรือไม่ ก็ไม่เปลี่ยนแปลง เช่น แรงโน้ม ถ่วงของโลก  กฏทั้ง 3 ข้อนี้ ไม่ใช่เป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็ นค่อยไป เมื่อใช้ร่วมกัน จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในอนาคตที่ สามารถกาหนดได้
  • 8. เมื่อพูดถึงอนาคตขององค์กร  บุคลากร – ไม่สาเร็จหรอก เป็ นเรืองการเมือง สายเกินไปที่จะ ่ พูดถึง ไม่มีทางเปลี่ยนได้ ผูนาไม่นาจริงจัง เสียเวลา เดี๋ยวบริษท ้ ั ก็ปิดตัว หรือไม่ก็ถูกคนอื่นมาซื้อกิจการ ฯลฯ  ผูนา – ผูคนไม่สนใจหรอก ให้เสนอความคิดมาก็ไม่เห็นมีอะไรดี ้ ้ เราไม่มีเงินจ้างคนเก่งเข้ามาทางานกับเรา มีแต่คนธรรมดา ๆ เราทาดีที่สุดแล้ว ทาอย่างไรก็ไม่ประสบความสาเร็จ ฯลฯ
  • 9. The Three Laws of Performance
  • 10. ตอนแรก  บทที่ 1-3 เป็ นการอธิบายกฏทั้ง 3 ข้อนี้ และการนาไปใช้ ้  เราจะได้ทราบว่า อะไรเป็ นตัวเหนี่ยวรังเราไว้ เราจะสร้างอนาคต ได้อย่างไร ทั้งเรืองส่วนตัว และอาชีพการงาน ่
  • 11.     กฏข้อที่ 1 รูและเข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้น (First Law: How ้ people perform correlates to how situations occur to them) ผูคนแสดงออกตามสถานการณ์ทเกิดขึ้นกับพวกเขา นั ่นคือถ้าเรา ้ ี่ ทาตนให้เป็ นเขาบ้าง แล้วเจอสภาพแบบนั้น เราก็จะเข้าใจว่า ทาไมเขาจึงแสดงออกมาแบบนั้น สถานการณ์ที่เกิดขึ้น รวมถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาในอดีต และ คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต เมื่อกลุมบุคคลมีสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเหมือนกัน อคติจะเกิดขึ้น ่ เกิดเป็ น ภาพหลอน (Reality Illusion) ที่ทุกคนคิดแบบเดียวกัน
  • 12. อนาคตตามยถากรรม  ถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลงให้ดีข้ ึน สถานการณ์แย่ ๆ ที่เกิดขึ้น จะ นาไปสู่ อนาคตตามยถากรรม (Default Future)  เราต้องคิดใหม่ว่า นี่เป็ นความท้าทาย ที่เราต้องทาอะไรสักอย่าง เพื่อเปลี่ยนแปลงอนาคตให้ดีข้ ึน  ตามตาราบริหาร ที่มีทฤษฎีว่า บุคคลแสดงออกตามความเชื่อ ดังนั้นเราต้องเพิ่มทักษะ ความรู ้ ค่านิยม ทัศนคติ ฯลฯ แต่การ พิจารณาค่อย ๆ ทาไป อาจจะสายเกินการ เพราะพูดง่ายกว่าทา  เพื่อการอยูรอด ต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ่
  • 13. ความท้าทายที่ซบซ้อน ั  วัฒนธรรมองค์กร คือ การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง เมื่อฝ่ าย บริหารแนะนาเครืองมือการบริหารองค์กรใหม่เข้ามา บุคลากรจะ ่ มีปฏิกิรยาต่อต้าน เพราะยังไม่เข้าใจ และกลัวไปต่าง ๆ นา ๆ ิ  ผูบริหารต้องยืนหยัด (เช่นเดียวกับการลดน้ าหนัก ถ้าใม่แน่วแน่ ้ จริง มีหวังล้มเหลวมากกว่าเดิม) และบริหารการต่อต้านการ เปลี่ยนแปลง โดยสร้างความรู ้ ความเข้าใจ  ผูบริหารต้องสร้างความไว้วางใจ และเอาใจใส่ ไม่ควรใช้ การสั ่ง ้ การแล้วควบคุม (Command & Control) เพราะจะไม่ได้รบความ ั ร่วมมือ ให้พยายามหาความร่วมมือร่วมใจกัน แล้วก้าวไปด้วยกัน
  • 14. Appreciate, Influence, Control (AIC) (ไม่มีในหนังสือ ผมเพิ่มเติมให้เอง)  AIC เป็ นกระบวนการในการกาหนดอนาคตใหม่ เริ่มต้นที่ผนาจัดการ ู้ ประชุมบุคลากรที่เลือกสรรเข้ามา แล้วให้แสดงความคิดเห็น สถานการณ์ปัจจุบน (โดยมากมักจะแย่ ๆ ที่ส่งผลให้เกิดอนาคตตาม ั ยถากรรม) จากนั้นให้ทุกคนมีสวนร่วมในการเสนอภาพอนาคตที่ทุก ่ คนอยากเห็นอยากเป็ น (ภาพอนาคตที่ด) ี  แล้วมีการสรุปแผนงานหรือโครงการ ทีบุคลากรและผูนามีความเห็น ่ ้ พ้องกัน ร่วมมือกัน ทาให้เกิดขึ้นในองค์กร  ความสาเร็จ ขึ้นกับผูนาต้องมีความอดทน อดกลั้น ไม่โกรธ ผูเข้า ้ ้ ประชุมต้องเคารพความเห็นของกันและกัน มีกฏกติกาการประชุม
  • 15. กฏข้อที่ 2 สามารถอธิบายสถานการณ์ได้ (Second Law: How a situation occur arises in language)  ใช้ภาษาอธิบายสถานการณ์ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร (การสื่อสาร)  คาว่าภาษานี้มีความหมายกว้างขวาง รวมถึงคาพูด การเขียน ภาษาท่าทาง หน้าตาที่แสดงออก น้ าเสียง รูปภาพ ดนตรี การ แต่งกาย กิรยา และทุกสิ่งที่สื่อออกไป (วจนะ และ อวจนะ) ิ  อวจนะ (unsaid and communicated without awareness) เป็ นสิ่ง สาคัญกว่าคาพูด แสดงให้เห็นความสาคัญของสารที่ตองการสื่อ ้
  • 16. การอาพราง (Rackets)  การอาพราง คือการไม่แสดงออกอย่างแท้จริง มี 4 องค์ประกอบคือ  1.การบ่น (complaint) ที่สะสมมานาน เช่น ไม่ได้ผลหรอก เสียเวลา ไม่ มีใครมาช่วยเหลือเลย (ผูบนคือผูทตองการอานาจ) ้ ่ ้ ี่ ้  2.การแสดงออก (behavior) ที่มาพร้อมการบ่นเสมอ เช่น การหลบหลีก การทะเลาะเบาะแว้ง สองประการแรกเป็ นสิ่งที่สงเกตได้ไม่ยาก ั  3.ค่าสินไหมทดแทน (payoff) สิ่งที่จะทาให้เลิกบ่น เช่น ความต้องการ เป็ นผูทถูก เป็ นผูทอยูเหนือกว่า ้ ี่ ้ ี่ ่  4.ราคา (cost) หมายถึงผลกระทบที่ตองเป็ นค่าใช้จาย เช่น ทาให้เกิด ้ ่ ความเหินห่าง การแตกคอกัน การทาร้ายกัน สองประการสุดท้ายเป็ นสิ่งที่มองไม่เห็น
  • 17. การเรียนรูภาษา ้  เราต้องรูเท่าทันเรื่องการอาพรางในการสนทนา จะได้รูว่ามีประเด็น ้ ้ ใดอยูเบื้องหลัง (กรุณาย้อนกลับไปอ่านอีกครั้ง) ่  ให้ทาการเปลี่ยนประเด็นโดยใช้ 2 องค์ประกอบหลังมาเจรจากัน หาทางออกใหม่รวมกัน (new space) เพื่อให้เกิดการเจรจาที่เป็ น ่ ประโยชน์ตอไปได้ เพราะองค์ประกอบ 2 ประเด็นแรก เป็ นเรืองที่ไม่ ่ ่ เป็ นเรือง ่  องค์ประกอบ 3-4 เป็ นการปลดตนเองจากการเห็นแก่ตว และให้ ั ความร่วมมือกับผูอื่น เป็ นการเปลี่ยนความคิด และกาหนดอนาคต ้ ใหม่รวมกัน เพราะถ้าขืนยังเป็ นอยูดงเดิม ความสูญเสียจะยิงเพิ่มขึ้น ่ ่ ั ่ เรื่อย ๆ (แตกความสามัคคี)
  • 18. ข้อสังเกต กฏข้อที่ 2  ให้ระวังการบ่นและการแสดงออกของตนเอง ไม่ว่าเรืองของคน ่ และสถานการณ์  มองการอาพรางทั้ง 4 ข้อให้ออก รวมถึงมองตนเองด้วย  มองสถานการณ์ให้ถวนทั ่ว เช่น ใช้การเขียนทุกสิ่งที่คุณต้องการ ้ บอกผูอื่น ไม่ว่าการขอโทษ สิ่งที่คณต้องรับผิดชอบ สิ่งที่คุณ ้ ุ ต้องการให้อภัย ฯลฯ  บอกเล่าสิ่งที่คุณได้คนพบเป็ นประสบการณ์ ในการงานและใน ้ ชีวิต ให้กบผูอื่นได้รวมเรียนรูดวย ั ้ ่ ้ ้
  • 19. กฏข้อที่ 3 สร้างภาพอนาคตเป็ น (Third Law: Future-based language transforms how situations occur to people)  พลังของการใช้ภาษาอนาคต (Power of Future-Based Language) เป็ นภาษาทีใช้เพื่อสร้างอนาคต ไม่ปล่อยไปตามยถากรรม ่  ภาษาดังกล่าว เป็ นจุดหันเห หรือเปลี่ยนแปลงประวัตศาสตร์ ที่ ิ เมื่อผูคนได้ยนได้ฟังแล้ว สามารถมองเห็นอนาคตใหม่ที่ดีกว่า ้ ิ เดิม ก่อเกิดการกระทาเพือสูจดมุ่งหมายนั้น ่ ุ่
  • 20. เงื่อนไขในการสร้างภาษาของอนาคต  1. รูว่าอะไรคือสิ่งที่สร้างความผูกพันและข้อบังคับ นั ่นคือ เป็ น ้ ถ้อยความทีบรรยายออกมา ไม่ใช่ใช้ขอเท็จจริง ่ ้  2. ชี้ให้เห็นอนาคตแบบยถากรรม แล้วถามว่า นี่คือสิ่งที่เรา ต้องการหรือ?  3. ให้ลืมประเด็นที่เคยเกิดมาในอดีต มองไปในอนาคตที่ดี กว่าเดิม โดยการพูดคุยกับผูเกี่ยวข้องหรือผูแทน (ในกรณีที่ ้ ้ คู่กรณีเสียชีวิตไปแล้ว) มีการขอโทษขอโพย การให้อภัยซึ่งกัน และกัน เรื่องที่แล้วก็แล้วกันไป อย่าถือสาหาความกันเลย
  • 21. หลักการสร้างอนาคตใหม่  1. อนาคตกระตุนให้เกิดการกระทา โดยคนหมู่มากที่เกี่ยวข้อง ้  2. ทุกคนที่เกี่ยวข้องในกระบวนการ รูเรื่องเกี่ยวกับอนาคตเป็ น ้ อย่างดี และเป็ นเรืองที่ตรงกับความสนใจของทุกคน ่  3. อนาคตกลายเป็ นจริงได้ เมื่อได้รบการเอ่ยถึง ก่อเกิดเป็ นพลัง ั มีชีวิตชีวา
  • 22. The Three Laws of Performance
  • 23. ตอนที่สอง  บทที่ 4-5 เป็ นบทบาทของผูนา ที่จะนากฏทั้ง 3 ข้อนี้ ไปใช้ ้ ประโยชน์  รวมถึงบทบาทขององค์กร ต่อการทางานในประเทศที่กาลัง พัฒนา ความยั ่งยืนของชุมชน และการเฉลี่ยความสมบูรณ์พูนสุข (ทั้งวัตถุและสุขภาวะของประชาชน)
  • 24.    กฏข้อที่ 1 เข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ผูนำเข้ำใจและใช้ ้ ประโยชน์จำกสถำนกำรณ์ (Leaders have a say, and give others a say, in how situations occur) กฏข้อที่ 2 อธิบายสถานการณ์ได้ ผูนำสำมำรถอธิบำยให้ผอ่ืน ้ ู้ เข้ำใจสถำนกำรณ์ตำมได้ (Leaders master the conversational environment) กฏข้อที่ 3 สร้างภาพอนาคตเป็ น ผูนำฟั ง แล้วสำมำรถอธิบำยให้ ้ ผูอ่ืนเข้ำใจอนำคตได้ (Leaders listen for the future of their ้ organization)
  • 25.    ผูนำเข้ำใจและใช้ประโยชน์จำกสถำนกำรณ์ (Leaders have a say, ้ and give others a say, in how situations occur) ผูนารูขอจากัดของตนเอง รูจกใช้ประโยชน์จากบุคลากรที่มีความ ้ ้ ้ ้ั หลากหลายเพื่อหาแนวคิดร่วม ในการเขียนอนาคตใหม่ของ องค์กร ผูนาที่มอบอานาจให้ผอื่นร่วมร่างอนาคต สามารถแปรเปลี่ยนทุก ้ ู้ สถานการณ์ได้ ไม่ว่าจะยากลาบากเพียงใด (โดยใช้กระบวนการ การสนทนา การประชุม ที่ทาให้ผคนมีความรูสึกร่วมในการเขียน ู้ ้ อนาคต)
  • 26.    ผูนำสำมำรถอธิบำยให้ผอ่ืนเข้ำใจสถำนกำรณ์ตำมได้ (Leaders ้ ู้ master the conversational environment) ผูนาเป็ นผูกาหนดการสนทนาให้มีทิศทาง ให้รูจกอดีตที่มี ้ ้ ้ั ข้อบกพร่องอยู่ มุ่งไปสูการสร้างอนาคตที่ดีกว่า ่ ผูนาต้องมีความซื่อสัตย์ รักษาคาพูด ทาในสิ่งที่สมควรทาแม้ไม่มี ้ ใครบอก และมีแนวทางการทางานที่เป็ นไปได้
  • 27.     ผูนำฟั ง แล้วสำมำรถอธิบำยให้ผอ่ืนเข้ำใจอนำคตได้ (Leaders ้ ู้ listen for the future of their organization) ผูนาจะไม่เขียนอนาคตด้วยตนเอง แต่เขาจะฟั งอย่างตั้งใจ ้ เช่นเดียวกับแพทย์ฟังเสียงต่าง ๆ และใช้การสังเกต เพื่อการ วินิจฉัยโรค โดยการจัดกลุมคนที่ได้รบมอบหมาย มีเวทีให้คนเหล่านั้นมีสวน ่ ั ่ ร่วมในการเขียนอนาคตขององค์กร เพราะพวกเขาจะรูสึกถึง ้ ความเป็ นเจ้าของ และปฏิบตตามนั้น ั ิ จากการฟั ง ผูนาจะเกิดความคิดปิ๊ งขึ้นมา และใช้ประโยชน์ได้จริง ้
  • 28. The Three Laws of Performance
  • 29. ตอนที่สาม  เป็ นบทบาทของปั จเจกบุคคล  บทที่ 6 การนากฏทั้ง 3 ข้อ เพื่อใช้เพิมภาวะผูนาของตนเอง ่ ้  บทที่ 7 การใช้ประโยชน์จากกฏทั้ง 3 ข้อ  บทที่ 8 แนวทางการนาความคิดใหม่สูการปฏิบติ ่ ั
  • 30. ใครหรืออะไร เป็ นผูกาหนดชีวิตคุณ ้  เป็ นการนากฏทั้ง 3 ข้อมาใช้เพื่อพัฒนาภาวะผูนาของแต่ละคน ้  โดยวิเคราะห์ตนเอง ว่ามีอะไรเป็ นสาเหตุลึก ๆ ที่ทาให้เรามี พฤติกรรม ที่แม้แต่ตวเราเองก็อยากจะปรับเปลี่ยนให้ดีข้ ึน ั  พยายามหาสาเหตุให้ได้จากสถานการณ์วิกฤตที่ผ่านมา ไม่ว่าจะ ผ่านมานานเท่าใด ที่สงผลให้เราแสดงออกพฤติกรรมเช่นนั้น เช่น ่ มีสาเหตุจากการดุดาของครู ผูปกครอง พี่นอง เพื่อน ที่ยงฝั งใจอยู่ ่ ้ ้ ั  เพื่ออนาคตที่ดีกว่าเดิม ให้ทาการปรับความคิดใหม่ เช่น เลิก อาฆาตมาเป็ นการให้อภัย มีการขอโทษถ้าเคยผิดพลาด
  • 31. หนทางสูเป็ นผูเชี่ยวชาญ ่ ้  การใช้กฏทั้งสามได้อย่างผูเชี่ยวชาญ (มองสถานการณ์ผานกฏทั้ง ้ ่ สามข้อพร้อมกัน โดยไม่ตองตั้งกระบวนท่า) มีข้นตอนดังนี้ ้ ั  1. รูตวว่าใช้มุมมองแบบใดอยู่ (ที่เรารูดี เป็ นพื้นฐานของเรา) ้ ั ้  2. สร้างมุมมองใหม่ที่ตางจากเดิม (เป็ นจุดวิกฤตของกฏทั้ง 3) ่  3. มองเห็นโอกาสใหม่ ๆ (ที่แตกต่างจากอดีตเคยมอง เคยใช้)  4. สอนหรือแนะนาผูอื่น (ทาให้ได้ประสบการณ์ และเชี่ยวชาญ ้ ในกฏทั้งสามข้อมากขึ้น)
  • 32. การฝ่ าฟั นอุปสรรคของการสร้างผลงาน  1. เป็ นผูเล่นเกมเอง อย่าเพียงเป็ นผูชม ้ ้  2. กาหนดเกมใหม่ เน้นเฉพาะเกมที่สาคัญเท่านั้น  3. อย่าแก้ตว พยายามฝ่ าฟั นอุปสรรคให้ได้ ั  4. ขยายแนวคิด ให้หาแนวร่วม  5. มองหาโค้ช ที่จะช่วยแก้เกม ทาให้เราให้ชนะได้  6. ลืมสิ่งในอดีตที่แย่ ๆ เพื่ออนาคตทีดีกว่า ่  7. เล่นเกมแบบสุดตัว สุดชีวิต เกมก็คือเกม ไม่ใช่สิ่งสาคัญสูงสุด จงเล่นอย่างใจรัก เต็มที่
  • 33.     กฏทั้งสามข้อนี้ ต้องอาศัยความร่วมมือของผูนาและบุคลากร ใน ้ การกาหนดอนาคตขององค์กร กฏข้อที่ 1 กล่าวถึงสถานการณ์ปัจจุบน ว่าถ้าไม่ทาอะไร อนาคต ั จะเป็ นไปตามยถากรรม เราต้องการอย่างนั้นหรือ กฏข้อที่ 2 และ 3 ใช้รวมกันคือ อย่าเสียเวลาแก้ปัญหาด้วย ่ วิธีการเดิม ๆ ให้ใช้มุมมองใหม่หาโอกาส แล้วจัดทาโครงการ เพื่อสร้างอนาคตขององค์กรที่ดีกว่าเดิม สิ่งหนึ่งที่เป็ นพื้นฐานภาวะผูนา คือ การฟั ง ้