SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
พ.อ. มารวย ส่งทานินทร์
21 พฤศจิกายน 2556
By
Robert Heller
Published By Dorling Kindersley Ltd., London 2001
ISBN: 0789451581; 1st edition (April 1, 2000)
112 pages







Peter Ferdinand Drucker เป็ นชาว Austrian-born
American เป็ นที่ปรึกษา นักการศึกษา และ
ผูประพันธ์ตารา เกี่ยวกับปรัชญาและการปฏิบติ
้
ั
ในเรื่องการบริหารจัดการยุคใหม่
ชาตะ: 19 พ.ย. ค.ศ. 1909, Vienna, Austria
มรณะ: 11 พ.ย. ค.ศ. 2005, Claremont,
California, United States
การศึกษา: Johann Wolfgang Goethe University
of Frankfurt am Main
รางวัล: Presidential Medal of Freedom
ทฤษฎีทางธุรกิจ
Drucker เชื่อว่า ทฤษฎีทางธุรกิจ ของบริษทที่ต้งขึ้นมา หรือที่กาลัง
ั ั
ดาเนินการอยูข้ ึนกับ:
่
 1. สมมุตฐานด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กร (Assumptions about
ิ
the environment of the organization)
 2. สมมุตฐานด้านพันธกิจขององค์กร (Assumptions about the
ิ
specific mission of the organization)
 3. สมมุตฐานด้านความสามารถหลัก (Assumptions about the
ิ
core competencies needed to accomplish the organization’s
mission)
5 ประเด็นพิจารณา ของการนาเสนอนี้
 1. การจัดระบบเพื่อความสาเร็จทางธุรกิจ (Organizing for
Success in Business)
 2. ศิลปะของการบริหารในทางปฏิบติ (The Art of Management
ั
in Practice)
 3. การจัดการโดยมุ่งเน้นวัตถุประสงค์และการควบคุมตนเอง
(Managing by Objectives & Self-control)
 4. การจัดการนวัตกรรม (Harnessing the Power of Innovation)
 5. การจัดการความรู ้ (Responsible Knowledge Management)
1. การจัดระบบเพื่อความสาเร็จทางธุรกิจ
โครงสร้างแบบกระจายอานาจ
 ในปี ค.ศ. 1946 Drucker ประพันธ์หนังสือ ‘Concept of the
Corporation’”กล่าวถึง บริษท GM (General Motors) ที่ให้ความ
ั
เป็ นอิสระกับแผนกต่าง ๆ (ซึ่งการบริหารลักษณะนี้ ยังไม่เป็ นที่
นิยมในขณะนั้น) อย่างไรก็ตาม ยังมีการตัดสินใจสาคัญ ๆ ที่
แผนกต้องอาศัยสานักงานใหญ่คือ การเงิน ราคาขาย ค่าแรง
และการลงทุน
 Drucker เชื่อว่าการกระจายอานาจเป็ นส่วนสาคัญของความสาเร็จ
 เขาเป็ นคนค้นคิดคาศัพท์ ‘profit center’”คือ แผนกต่าง ๆ ที่มี
ความรับผิดชอบสูงต่อผลลัพธ์
ชุมชนปกครองตนเองในโรงงาน
 Drucker เชื่อในเรื่อง การมอบอานาจ (empowerment) และ
แนะนาให้ GM จัดตั้ง ชุมชนปกครองตนเองในโรงงาน (selfgoverning plant community) ที่สมาชิกมีสิทธิมีเสียงในการ
ตัดสินใจ เพื่อทาให้พนักงานมีความภูมิใจในการทางาน
 เขาวิจารณ์การทางานแบบสายพาน ว่าเป็ นระบบที่ไม่มี
ประสิทธิภาพ เพราะความเร็วขึ้นกับคนที่ทางานทีชาที่สุด และ
่ ้
การทางานซ้า ๆ ทาให้ผลิตภาพลดลง
ทฤษฎีทางธุรกิจ
 Drucker ระบุว่า ทฤษฎีทางธุรกิจ (theory of a business) คือ ชุด
ของสมมุตฐานที่องค์กรสร้างขึ้น และดาเนินการตามนั้น
ิ
ประกอบด้วย:
 สมมุติฐานเรื่อง สิ่งแวดล้อม พันธกิจ และความสามารถหลัก ต้องเป็ นจริง

 สมมุติฐานทั้งสามต้องเข้ากันได้ดี
 ทฤษฎีทางธุรกิจนี้ ต้องรูและเข้าใจทั ่วทั้งองค์กร
้
 ทฤษฎีทางธุรกิจ ต้องทดสอบสมาเสมอ และเปลี่ยนแปลงได้ถาจาเป็ น
่
้
มาตรการป้ องกันความล้มเหลวของทฤษฎีทางธุรกิจ มี 2 ประการคือ:
 การท้าทายสถานะปั จจุบนทีว่าดีแล้ว (Challenge the status quo) ทุก
ั ่
3 ปี องค์กรต้องท้าทายทุกผลิตภัณฑ์ ทุกบริการ ทุกนโยบาย ทุก
ช่องทางจาหน่าย ด้วยคาถามว่า ถ้าเราต้องเริ่มใหม่ เราจะทาอะไรที่
ต่างไปจากเดิม
 ให้ศึกษาความเป็ นไปของโลกภายนอก (Study what is going on
outside the business) “การเปลี่ยนแปลง น้อยครั้งนักที่จะเกิดใน
องค์กรเอง หรือลูกค้าขององค์กร”
 Drucker เชื่อว่า ถ้าองค์กรยังคงยึดถือวัตถุประสงค์เดิม ๆ ขององค์กร
จะทาให้ลาสมัย องค์กรต้องทบทวนปั จจัย ด้านสิ่งแวดล้อม พันธกิจ
้
และความสามารถหลัก อย่างสมาเสมอ
่
จากทฤษฎีสูการปฏิบติ
่
ั
 ให้ใช้เวลาในการตัดสินใจอย่างพอเพียงและรอบคอบ ในเรื่องทีมี
่
ผลกระทบกับบุคคล
 มั ่นใจว่าบุคลากรทุกคน เข้าใจในธุรกิจที่กาลังดาเนินการอยู่
 ศึกษาโลกภายนอก รวมถึงลูกค้าและที่ไม่ใช่ลกค้า
ู
 ถ้าธุรกิจโตเร็วมาก ให้ทบทวนสมมุตฐานใหม่
ิ
 มองและเรียนรูจากความสาเร็จ ของผูอื่นและของตนเอง
้
้
 และเรียนรูจากความล้มเหลว โดยเฉพาะของตนเอง
้
2. ศิลปะของการบริหารในทางปฏิบติ
ั
ขอบเขตการบริหาร
 Drucker กล่าวว่า การบริหารเป็ นศิลปะไม่ใช่วิทยาศาสตร์ ที่อาศัย
การบูรณาการของความรูทุกสิ่งทุกอย่างเข้าด้วยกัน
้
 แม้ว่าเขาจะมีพ้ ืนฐานเป็ นนักสถิติ และให้ความสาคัญด้านการเงิน แต่
เขาคิดว่า การบริหาร คือ การบูรณาการของระเบียบวินย (an
ั
integrating discipline)
 Drucker เชื่อว่าทุกองค์กรมีความคล้ายคลึงกันมากกว่าแตกต่างกัน
คือ มีหลักการที่เหมือนกัน ต่างกันตรงรายละเอียดการปฏิบติ และทุก
ั
องค์กรมีปัญหาเหมือนกัน คือ เรื่องของคน
 เขามีความเชื่อว่า การบริหารคือ การนาองค์กรที่มีเป้ าประสงค์หลัก
โดยการใช้ความเข้มแข็งและความรูของบุคลากร เพื่อเพิ่มผลผลิต
้
ความสาคัญของลูกค้า
 Drucker กล่าวว่า ธุรกิจ ควรเป็ นการจัดระบบเพื่อทาให้ลกค้าเกิด
ู
ความพึงพอใจ
 เรืองทานองนี้ปรากฏอยูทั ่วไปในงานประพันธ์ของเขาว่า พื้นฐาน
่
่
หลักของธุรกิจ คือ ค่านิยมที่มุ่งเน้นลูกค้า และการตัดสินใจของ
ลูกค้า ดังนั้น นโยบายและกลยุทธ์ตองเริมต้นที่จดนี้ (The
้ ่
ุ
foundations have to be customer values and customer decisions.
It is with those that management policy and management
strategy increasingly will have to start.)
หน้าที่หลัก 5 ประการของผูจดการ
้ั
้
 1. ผูจดการเป็ นคนตังวัตถุประสงค์ (A manager sets objectives) และสื่อสาร
้ั
วัตถุประสงค์น้ ีให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รบรู ้
ั
 2. ผูจดการเป็ นผูจดระบบ (A manager organizes) เขาเป็ นคนตัดสินใจ ว่า
้ั
้ั
งานประกอบด้วยอะไรบ้าง และมอบหมายให้ใครทาหน้าที่อะไร
 3. ผูจดการเป็ นผูสร้างแรงจูงใจ (A manager motivates people) โดยการ
้ั
้
กาหนดค่าชดเชย การเลื่อนขั้น สร้างขวัญและกาลังใจให้กบบุคลากร
ั
 4. ผูจดการเป็ นผูวดผลงาน (A manager measures performance) เขาเป็ นผู ้
้ั
้ั
กาหนดผลงานของแต่ละบุคคล และทาให้มีความสอดคล้องกับหน่วยงาน
และขององค์กร
 5. ผูจดการมีการพัฒนาตนเองและผูอื่น (A manager develops himself and
้ั
้
others)
การประเมินตนเอง
 เราคือใคร ?
 อะไรคือจุดแข็งของเรา?
 เราทางานอย่างไร?
 เราขึ้นกับใคร?
 เรามีส่วนช่วยอะไรบ้าง ?

การประเมินหน่วยงาน
 หน้าที่ของหน่วยคืออะไร?
 ทรัพยากรของหน่วยมี
อะไรบ้าง?
 หน่วยทางานอย่างไร ?
 เราทาหน้าทีอะไรในหน่วย?
่
 ผูอื่นทาหน้าที่อะไรในหน่วย?
้
การวิเคราะห์รายงานป้ อนกลับ
 1. เมื่อตัดสินใจทาอะไร ให้บนทึกความคาดหวังของผลลัพธ์ที่จะ
ั
เกิดขึ้น
 2. ทบทวนผลลัพธ์ตามกาหนดห้วงเวลาเป็ นระยะ เทียบเคียงกับ
ความคาดหวังที่ต้งไว้
ั
 3. ใช้รายงานป้ อนกลับเป็ นตัวแนะนาและตัวกระตุน เพื่อเสริม
้
จุดแข็งและกาจัดจุดอ่อน
การวัดผลงาน
 Drucker แนะนาให้ใช้ การตรวจสอบทางธุรกิจ (business audits)
เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการทางาน ไม่เพียงแต่ใช้ตววัดด้าน
ั
การเงินเพียงอย่างเดียว แต่ควรใช้ตาแหน่งในตลาด และ
ความสามารถด้านนวัตกรรม ประกอบการพิจารณาด้วย
 เขายังแนะนาว่า ผูจดการควรรูเกี่ยวกับค่าใช้จายของ ห่วงโซ่ทาง
้ั
้
่
ธุรกิจทั้งระบบ (entire economic chain) รวมถึงราคาที่คิดกับ
ลูกค้าด้วย
เครื่องมือการวินิจฉัยธุรกิจ :
 1. สารสนเทศพื้นฐาน (Foundation information) เช่น เงินสดหมุนเวียน
้
ยอดขาย และอัตราส่วนทางการเงินทังหลาย ที่ใช้คนหาและแก้ปัญหา
้
 2. สารสนเทศด้านผลผลิต (Productivity information) เช่น ค่าแรง การ
วิเคราะห์การเพิ่มคุณค่าทางเศรษฐกิจที่คมกับการลงทุน รวมถึงการ
ุ้
เทียบเคียงกับคู่แข่งขัน
 3. สารสนเทศด้านความสามารถหลัก (Competence information) ได้แก่
ตัววัดผลความสามารถด้านนวัตกรรม และความสามารถหลักของ
องค์กร
 4. สารสนเทศด้านการจัดสรรทรัพยากร (Resource-allocation
information) คือ ตัววัดผลตอบแทนการลงทุน ระยะเวลาการชาระหนี้
ค่าเสื่อมราคา
จากทฤษฎีสูการปฏิบติ
่
ั
 ทาให้มั ่นใจได้ว่า มีการสื่อสารที่ดีทั ่วทั้งองค์กร
 ใช้ประโยชน์จากรายงานป้ อนกลับ เพื่อเสริมจุดแข็ง
 ควบคุมประสิทธิภาพการทางานด้วย การตรวจสอบทางธุรกิจ
(business audit)
 ศึกษาค่าใช้จาย จนถึงราคาที่ลกค้ายอมจ่าย
่
ู
 ใช้ตววัดผลหลาย ๆ ตัว ไม่ใช่เพียงตัวเดียว
ั
 ตั้งความคาดหวังกับผลงานของบุคลากร และทางานอย่างเป็ น
ระบบ
 พัฒนา ความฉลาดทางธุรกิจ (business intelligence) ที่เกี่ยวกับคู่
แข่งขันที่แท้จริง และคู่แข่งขันในอนาคต ทั ่วทั้งโลก
3. การจัดการโดยมุ่งเน้นวัตถุประสงค์ และการ
ควบคุมตนเอง
ระบบการบริหารจัดการแบบบูรณาการ
6 ขั้นตอนของการบริหารแบบมุ่งเน้นวัตถุประสงค์ (MBO: Management
by Objectives) ซึ่งเป็ นระบบบริหารจากบนลงล่าง ที่นิยมกันมาก คือ
 1. ระบุวตถุประสงค์ขององค์กรโดยรวม
ั
 2. วิเคราะห์เป้ าหมาย และมอบหมายงานให้ผจดการแต่ละส่วน
ู้ ั
รับผิดชอบ
้
 3. ตังมาตรฐานของผลงาน
 4. ทาข้อตกลง และระบุวตถุประสงค์ที่ชดเจน
ั
ั
 5. ระบุเป้ าหมายของแต่ละบุคคล ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ
องค์กร
 6. จัดระบบสารสนเทศ เพือตรวจสอบการบรรลุผลของแต่ละ
่
วัตถุประสงค์
มุมมองของผลลัพธ์ที่สาคัญ
ในหนังสือ The Practice of Management (1954) Drucker กล่าวถึง 8
ตัววัดผลที่สาคัญคือ:
 Marketing
 Innovation
 Human Organization
 Financial Resources
 Physical Resources
 Productivity
 Social Responsibility
 Profit Requirements
การบริหารตนเอง
Drucker ให้คาแนะนาดังนี้
 การตัดสินใจที่มีประสิทธิผล (On effective decision-making): ให้แยก
เหตุการณ์เป็ น ที่เกิดซ้ ากับที่ไม่เคยเกิดมาก่อน เหตุการณ์ที่เคยเกิด
ให้แก้ดวยระบบ เหตุการณ์ที่ไม่เคยเกิด ให้แก้เป็ นเรื่อง ๆ ไป
้
 การปรับปรุงผลงาน (On improving performance): ให้รูจกตัวตนว่า
้ั
ถนัดการรับสารสนเทศแบบใด ว่าเป็ นแบบรายงานเป็ นลายลักษณ์
อักษร หรือแบบปากเปล่า ไม่ตองเปลี่ยนสิ่งที่ตนเองถนัด
้
 การรูตนเอง (On knowing yourself): ให้ทางานในองค์กรที่มีค่านิยมที่
้
ตรงกับของตนเอง โดยถามว่า เรามีส่วนช่วยในเรื่องอะไรได้บาง
้
จากทฤษฎีสูการปฏิบติ
่
ั
 ไม่มีสิ่งที่ถูกต้องที่สุดเพียงอย่างเดียว ในการบริหารบุคคล
 เพื่อผลลัพธ์ที่ดีที่สุด จัดสรรทรัพยากรให้กบโอกาส ไม่ใช่เพื่อ
ั
แก้ปัญหา
 รูพนธกิจขององค์กร และมีความเชื่อมั ่น
้ ั
 รูว่าตนเองสมควรทาอะไร อย่างไร แล้วลงมือทา
้
 รูจกตนเองว่าเป็ นคนตัดสินใจ หรือเป็ นผูให้คาแนะนา
้ั
้
 เรียนรูวิธีการบริหารตนเอง และช่วยผูอื่นได้เรียนรูดวย
้
้
้ ้
 ถามตนเองว่าสมควรทาอย่างไร มากกว่าทาตามคาสั ่งอย่าง
เคร่งครัด
4. การจัดการนวัตกรรม
การค้นหาการเปลี่ยนแปลง
โอกาสที่เกิดขึ้นภายในองค์กรหรืออุตสาหกรรม มี 4 ประการคือ
 สิ่งที่ไม่ได้คาดหวัง (The unexpected) ได้แก่ ความสาเร็จ ความ
ล้มเหลว หรือเหตุการณ์ภายนอก ที่ไม่ได้คาดหวังไว้
 ความไม่สอดคล้องกัน (The incongruity) ระหว่างความเป็ นจริงที่
เกิดขึ้น กับความเป็ นจริงที่น่าจะเป็ น (ought to be)
 นวัตกรรมที่เกิดจากความต้องการของกระบวนการ (Innovation based
on process need)
 การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างอุตสาหกรรมหรือการตลาด ที่ไม่มี
ใครเฉลียวใจ (Changes in industry structure or market structure that
catch everyone unaware)
แหล่งของการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก
Drucker ระบุ 3 แหล่งของการเปลี่ยนแปลงคือ:
 การเปลี่ยนแปลงด้านประชากร (Demographics or population
changes)
 การเปลี่ยนแปลงด้านการรับรู ้ อารมณ์ และความหมาย
(Changes in perception, mood and meaning)
 ความรูใหม่ ทั้งที่เป็ นวิทยาศาสตร์และไม่ใช่วิทยาศาสตร์ (New
้
knowledge, both scientific and non-scientific)
หลักการของนวัตกรรม
 Drucker เชื่อว่า นวัตกรรมเป็ นผลจาก การวิเคราะห์ ระบบ และ
การทางานหนัก เขาได้แนะนา 5 สิ่งที่ควรทา คือ :
 1. การวิเคราะห์โอกาส
 2. ออกไปดู ถาม แล้วฟั ง
 3. ทาให้เรียบง่าย ใส่ใจตลอดเวลา
 4. เริมเล็ก ๆ ก่อน ทาทีละอย่างโดยเฉพาะเจาะจง
่
 5. มุ่งสูความเป็ นผูนาด้านตลาด
่
้
รูธุรกิจอย่างทะลุปรุโปร่ง
้
 Drucker แนะนาให้ใช้ 4 คาถาม คือ:
 1. ผลิตภัณฑ์น้ ี จะยังคงเติบโตอีกนานหรือไม่?
 2. ผลิตภัณฑ์น้ ี จะธารงอยูในตลาดได้อีกนานเท่าใด?
่
 3. อีกนานหรือไม่ที่ผลิตภัณฑ์น้ ี จะเสื่อมความนิยม และด้วย
อัตราเร็วเท่าใด?
 4. เมื่อใดที่ผลิตภัณฑ์น้ ี จะล้าสมัย?
 คาตอบเหล่านี้จะระบุช่องว่าง ระหว่างวัตถุประสงค์ของบริษท
ั
และสิ่งที่เกิดขึ้นจริง นวัตกรรมจะมาช่วยปิ ดช่องว่างนี้ได้
การจัดการกับความเสี่ยงใหม่ที่อาจเกิดขึ้น
4 หัวข้อในการจัดการกับความเสี่ยง
 1. การมุ่งเน้นตลาด (Market focus) มีความอ่อนตัวพอ ที่จะระบุ
ความผิดพลาด แล้วรีบเปลี่ยนวิกฤตให้เป็ นโอกาส
 2. พยากรณ์ดานการเงิน (Financial foresight, especially in
้
planning for cash flow and capital needs ahead) อย่าเน้นผลกาไร
อย่างเดียว ให้จดลาดับความสาคัญคือ มีรูปแบบการควบคุม การ
ั
มีเงินสดหมุนเวียน และมีเงินลงทุน ซึ่งเป็ นสิ่งจาเป็ นของธุรกิจ
 3. สร้างทีมบริหารให้พร้อม ก่อนเกิดสถานการณ์เสี่ยง
 4. การตัดสินใจของผูก่อตั้ง เป็ นสิ่งสาคัญ ต้องคานึงถึงด้วย
้
กลยุทธ์แบบนักลงทุน :
้
 1. คิดใหญ่ไม่คิดเล็ก (Fustest with the Mostest) คือ มุ่งเป็ นผูนาตลาดตังแต่
้
แรกเริ่ม
 2. ทาในสิ่งที่คนอื่นไม่กล้าทา (Hitting Them Where They Ain’t) ไม่ว่าเป็ นการ
ลอกเลียน หรือก้าวล้ากว่าผูที่เป็ นต้นแบบ เช่นเดียวกับหลักการที่ญี่ปุ่นใช้
้
 3. หาจุดเฉพาะ (ecological niche) แล้วเป็ นผูผกขาดในตลาดที่เป็ นเฉพาะนั้น
ู้
(obtaining a practical monopoly in a small area.)
 4. เปลี่ยนคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ ตลาด หรือ อุตสาหกรรมโดยใช้





a) คุณลักษณะที่เป็ นประโยชน์ตอผูใช้
่ ้
b) กลยุทธ์ดานราคา
้
c) จากการปรับตัวของลูกค้าด้านสังคมและเศรษฐกิจ
d) ส่งมอบสิ่งที่มีคณค่าในสายตาของลูกค้า
ุ
5. การจัดการความรู ้
การพัฒนาในอนาคต
 Drucker กล่าวว่าแนวโน้มผูสูงวัยจะมากขึ้นในโลกตะวันตกและ
้
ญี่ปุ่น เขาจึงทานายว่า:
 อายุการเกษียณจะเพิ่มเป็ น 75 ปี ก่อน ค.ศ. 2010
 เศรษฐกิจจะโตได้ จากผลผลิตของบุคลากรที่มีความรู ้
(knowledge workers)
 จะไม่มีประเทศใดเป็ นผูนาด้านเศรษฐกิจในโลกแต่ผเดียว
้
ู้
การเพิ่มบทบาทของการบริหารจัดการ
 Drucker เชื่อว่าการบริหารจัดการ จะขยายตัวไปสูองค์กรที่ไม่
่
แสวงหากาไร และองค์กรทางสังคม โดยเฉพาะ การศึกษา และ
การรักษาพยาบาล เพราะทั้งสองกลุมนี้ ยังคงมีการใช้วิธีการ
่
ดาเนินการ มากกว่าใช้การบริหารจัดการ (both of which are
today over-administered and undermanaged)
 เขาให้ความเห็นว่า การให้ความสาคัญด้านสังคม ยังติดตามด้าน
เศรษฐกิจไม่ทน การบริหารจัดการ จึงต้องมีบทบาทมากกว่านี้ ใน
ั
กลุมดังกล่าว
่
ความรับผิดชอบด้านจริยธรรม
 Drucker กล่าวว่า เป็ นเรืองน่ากลัวที่ผบริหารยังมีความโลภ มีการ
่
ู้
ให้เงินรางวัลกับผูบริหารที่ไล่พนักงานออก เพื่อลดค่าใช้จาย ว่า
้
่
ทาได้ดี เขาไม่พอใจกับการบริหารในยุคนั้น และเห็นว่า การให้
เงินรางวัลผูบริหารระดับสูงจานวนมากมาย เป็ นเรืองที่ไม่ถูกต้อง
้
่
 เขามีความเชื่อว่า ในศตวรรษที่ 21 ภาคส่วนที่จะมีการเติบโต
มากขึ้น คือ องค์กรไม่แสวงหากาไร ได้แก่ การศึกษา การ
รักษาพยาบาล และ การศาสนา
Thomas Jefferson

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นการศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นwiraja
 
การจัดทำ Tows matrix
การจัดทำ  Tows matrixการจัดทำ  Tows matrix
การจัดทำ Tows matrixLateefah Hansuek
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มโครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มพัน พัน
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theorieswiraja
 
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การChapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การwanna2728
 
Chapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinkingChapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinkingTeetut Tresirichod
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantNattawut Kathaisong
 
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัดนำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัดDrDanai Thienphut
 
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)mintwrsr15
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำklarharn
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบwiraja
 
กรณีศึกษา บ.Coke
กรณีศึกษา บ.Cokeกรณีศึกษา บ.Coke
กรณีศึกษา บ.CokeDrDanai Thienphut
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
การยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรมการยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรมBenz_benz2534
 
ภาวะผู้นำ ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา
ภาวะผู้นำ  ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนาภาวะผู้นำ  ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา
ภาวะผู้นำ ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนาCUPress
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 

What's hot (20)

ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นการศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
 
การจัดทำ Tows matrix
การจัดทำ  Tows matrixการจัดทำ  Tows matrix
การจัดทำ Tows matrix
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มโครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
 
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การChapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
Chapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinkingChapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinking
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
 
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัดนำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด
 
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
กรณีศึกษา บ.Coke
กรณีศึกษา บ.Cokeกรณีศึกษา บ.Coke
กรณีศึกษา บ.Coke
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
การยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรมการยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรม
 
ภาวะผู้นำ ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา
ภาวะผู้นำ  ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนาภาวะผู้นำ  ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา
ภาวะผู้นำ ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 

Similar to Peter drucker

Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfOKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfmaruay songtanin
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
9789740335603
97897403356039789740335603
9789740335603CUPress
 
Culture of experimentation วัฒนธรรมการทดลอง
Culture of experimentation วัฒนธรรมการทดลองCulture of experimentation วัฒนธรรมการทดลอง
Culture of experimentation วัฒนธรรมการทดลองmaruay songtanin
 
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...maruay songtanin
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การChapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การwanna2728
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)Yingjira Panomai
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..Areerat Robkob
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824pantapong
 

Similar to Peter drucker (20)

Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfOKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter(1)
Chapter(1)Chapter(1)
Chapter(1)
 
9789740335603
97897403356039789740335603
9789740335603
 
หลักการบริหาร
หลักการบริหารหลักการบริหาร
หลักการบริหาร
 
Culture of experimentation วัฒนธรรมการทดลอง
Culture of experimentation วัฒนธรรมการทดลองCulture of experimentation วัฒนธรรมการทดลอง
Culture of experimentation วัฒนธรรมการทดลอง
 
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
High performance culture
High performance cultureHigh performance culture
High performance culture
 
The right to win
The right to winThe right to win
The right to win
 
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การChapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Managing change
Managing changeManaging change
Managing change
 
Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824
 
Performance leadership
Performance leadershipPerformance leadership
Performance leadership
 

More from maruay songtanin

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

Peter drucker

  • 2. By Robert Heller Published By Dorling Kindersley Ltd., London 2001 ISBN: 0789451581; 1st edition (April 1, 2000) 112 pages
  • 3.      Peter Ferdinand Drucker เป็ นชาว Austrian-born American เป็ นที่ปรึกษา นักการศึกษา และ ผูประพันธ์ตารา เกี่ยวกับปรัชญาและการปฏิบติ ้ ั ในเรื่องการบริหารจัดการยุคใหม่ ชาตะ: 19 พ.ย. ค.ศ. 1909, Vienna, Austria มรณะ: 11 พ.ย. ค.ศ. 2005, Claremont, California, United States การศึกษา: Johann Wolfgang Goethe University of Frankfurt am Main รางวัล: Presidential Medal of Freedom
  • 4. ทฤษฎีทางธุรกิจ Drucker เชื่อว่า ทฤษฎีทางธุรกิจ ของบริษทที่ต้งขึ้นมา หรือที่กาลัง ั ั ดาเนินการอยูข้ ึนกับ: ่  1. สมมุตฐานด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กร (Assumptions about ิ the environment of the organization)  2. สมมุตฐานด้านพันธกิจขององค์กร (Assumptions about the ิ specific mission of the organization)  3. สมมุตฐานด้านความสามารถหลัก (Assumptions about the ิ core competencies needed to accomplish the organization’s mission)
  • 5. 5 ประเด็นพิจารณา ของการนาเสนอนี้  1. การจัดระบบเพื่อความสาเร็จทางธุรกิจ (Organizing for Success in Business)  2. ศิลปะของการบริหารในทางปฏิบติ (The Art of Management ั in Practice)  3. การจัดการโดยมุ่งเน้นวัตถุประสงค์และการควบคุมตนเอง (Managing by Objectives & Self-control)  4. การจัดการนวัตกรรม (Harnessing the Power of Innovation)  5. การจัดการความรู ้ (Responsible Knowledge Management)
  • 7. โครงสร้างแบบกระจายอานาจ  ในปี ค.ศ. 1946 Drucker ประพันธ์หนังสือ ‘Concept of the Corporation’”กล่าวถึง บริษท GM (General Motors) ที่ให้ความ ั เป็ นอิสระกับแผนกต่าง ๆ (ซึ่งการบริหารลักษณะนี้ ยังไม่เป็ นที่ นิยมในขณะนั้น) อย่างไรก็ตาม ยังมีการตัดสินใจสาคัญ ๆ ที่ แผนกต้องอาศัยสานักงานใหญ่คือ การเงิน ราคาขาย ค่าแรง และการลงทุน  Drucker เชื่อว่าการกระจายอานาจเป็ นส่วนสาคัญของความสาเร็จ  เขาเป็ นคนค้นคิดคาศัพท์ ‘profit center’”คือ แผนกต่าง ๆ ที่มี ความรับผิดชอบสูงต่อผลลัพธ์
  • 8. ชุมชนปกครองตนเองในโรงงาน  Drucker เชื่อในเรื่อง การมอบอานาจ (empowerment) และ แนะนาให้ GM จัดตั้ง ชุมชนปกครองตนเองในโรงงาน (selfgoverning plant community) ที่สมาชิกมีสิทธิมีเสียงในการ ตัดสินใจ เพื่อทาให้พนักงานมีความภูมิใจในการทางาน  เขาวิจารณ์การทางานแบบสายพาน ว่าเป็ นระบบที่ไม่มี ประสิทธิภาพ เพราะความเร็วขึ้นกับคนที่ทางานทีชาที่สุด และ ่ ้ การทางานซ้า ๆ ทาให้ผลิตภาพลดลง
  • 9. ทฤษฎีทางธุรกิจ  Drucker ระบุว่า ทฤษฎีทางธุรกิจ (theory of a business) คือ ชุด ของสมมุตฐานที่องค์กรสร้างขึ้น และดาเนินการตามนั้น ิ ประกอบด้วย:  สมมุติฐานเรื่อง สิ่งแวดล้อม พันธกิจ และความสามารถหลัก ต้องเป็ นจริง  สมมุติฐานทั้งสามต้องเข้ากันได้ดี  ทฤษฎีทางธุรกิจนี้ ต้องรูและเข้าใจทั ่วทั้งองค์กร ้  ทฤษฎีทางธุรกิจ ต้องทดสอบสมาเสมอ และเปลี่ยนแปลงได้ถาจาเป็ น ่ ้
  • 10. มาตรการป้ องกันความล้มเหลวของทฤษฎีทางธุรกิจ มี 2 ประการคือ:  การท้าทายสถานะปั จจุบนทีว่าดีแล้ว (Challenge the status quo) ทุก ั ่ 3 ปี องค์กรต้องท้าทายทุกผลิตภัณฑ์ ทุกบริการ ทุกนโยบาย ทุก ช่องทางจาหน่าย ด้วยคาถามว่า ถ้าเราต้องเริ่มใหม่ เราจะทาอะไรที่ ต่างไปจากเดิม  ให้ศึกษาความเป็ นไปของโลกภายนอก (Study what is going on outside the business) “การเปลี่ยนแปลง น้อยครั้งนักที่จะเกิดใน องค์กรเอง หรือลูกค้าขององค์กร”  Drucker เชื่อว่า ถ้าองค์กรยังคงยึดถือวัตถุประสงค์เดิม ๆ ขององค์กร จะทาให้ลาสมัย องค์กรต้องทบทวนปั จจัย ด้านสิ่งแวดล้อม พันธกิจ ้ และความสามารถหลัก อย่างสมาเสมอ ่
  • 11. จากทฤษฎีสูการปฏิบติ ่ ั  ให้ใช้เวลาในการตัดสินใจอย่างพอเพียงและรอบคอบ ในเรื่องทีมี ่ ผลกระทบกับบุคคล  มั ่นใจว่าบุคลากรทุกคน เข้าใจในธุรกิจที่กาลังดาเนินการอยู่  ศึกษาโลกภายนอก รวมถึงลูกค้าและที่ไม่ใช่ลกค้า ู  ถ้าธุรกิจโตเร็วมาก ให้ทบทวนสมมุตฐานใหม่ ิ  มองและเรียนรูจากความสาเร็จ ของผูอื่นและของตนเอง ้ ้  และเรียนรูจากความล้มเหลว โดยเฉพาะของตนเอง ้
  • 13. ขอบเขตการบริหาร  Drucker กล่าวว่า การบริหารเป็ นศิลปะไม่ใช่วิทยาศาสตร์ ที่อาศัย การบูรณาการของความรูทุกสิ่งทุกอย่างเข้าด้วยกัน ้  แม้ว่าเขาจะมีพ้ ืนฐานเป็ นนักสถิติ และให้ความสาคัญด้านการเงิน แต่ เขาคิดว่า การบริหาร คือ การบูรณาการของระเบียบวินย (an ั integrating discipline)  Drucker เชื่อว่าทุกองค์กรมีความคล้ายคลึงกันมากกว่าแตกต่างกัน คือ มีหลักการที่เหมือนกัน ต่างกันตรงรายละเอียดการปฏิบติ และทุก ั องค์กรมีปัญหาเหมือนกัน คือ เรื่องของคน  เขามีความเชื่อว่า การบริหารคือ การนาองค์กรที่มีเป้ าประสงค์หลัก โดยการใช้ความเข้มแข็งและความรูของบุคลากร เพื่อเพิ่มผลผลิต ้
  • 14. ความสาคัญของลูกค้า  Drucker กล่าวว่า ธุรกิจ ควรเป็ นการจัดระบบเพื่อทาให้ลกค้าเกิด ู ความพึงพอใจ  เรืองทานองนี้ปรากฏอยูทั ่วไปในงานประพันธ์ของเขาว่า พื้นฐาน ่ ่ หลักของธุรกิจ คือ ค่านิยมที่มุ่งเน้นลูกค้า และการตัดสินใจของ ลูกค้า ดังนั้น นโยบายและกลยุทธ์ตองเริมต้นที่จดนี้ (The ้ ่ ุ foundations have to be customer values and customer decisions. It is with those that management policy and management strategy increasingly will have to start.)
  • 15. หน้าที่หลัก 5 ประการของผูจดการ ้ั ้  1. ผูจดการเป็ นคนตังวัตถุประสงค์ (A manager sets objectives) และสื่อสาร ้ั วัตถุประสงค์น้ ีให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รบรู ้ ั  2. ผูจดการเป็ นผูจดระบบ (A manager organizes) เขาเป็ นคนตัดสินใจ ว่า ้ั ้ั งานประกอบด้วยอะไรบ้าง และมอบหมายให้ใครทาหน้าที่อะไร  3. ผูจดการเป็ นผูสร้างแรงจูงใจ (A manager motivates people) โดยการ ้ั ้ กาหนดค่าชดเชย การเลื่อนขั้น สร้างขวัญและกาลังใจให้กบบุคลากร ั  4. ผูจดการเป็ นผูวดผลงาน (A manager measures performance) เขาเป็ นผู ้ ้ั ้ั กาหนดผลงานของแต่ละบุคคล และทาให้มีความสอดคล้องกับหน่วยงาน และขององค์กร  5. ผูจดการมีการพัฒนาตนเองและผูอื่น (A manager develops himself and ้ั ้ others)
  • 16. การประเมินตนเอง  เราคือใคร ?  อะไรคือจุดแข็งของเรา?  เราทางานอย่างไร?  เราขึ้นกับใคร?  เรามีส่วนช่วยอะไรบ้าง ? การประเมินหน่วยงาน  หน้าที่ของหน่วยคืออะไร?  ทรัพยากรของหน่วยมี อะไรบ้าง?  หน่วยทางานอย่างไร ?  เราทาหน้าทีอะไรในหน่วย? ่  ผูอื่นทาหน้าที่อะไรในหน่วย? ้
  • 17. การวิเคราะห์รายงานป้ อนกลับ  1. เมื่อตัดสินใจทาอะไร ให้บนทึกความคาดหวังของผลลัพธ์ที่จะ ั เกิดขึ้น  2. ทบทวนผลลัพธ์ตามกาหนดห้วงเวลาเป็ นระยะ เทียบเคียงกับ ความคาดหวังที่ต้งไว้ ั  3. ใช้รายงานป้ อนกลับเป็ นตัวแนะนาและตัวกระตุน เพื่อเสริม ้ จุดแข็งและกาจัดจุดอ่อน
  • 18. การวัดผลงาน  Drucker แนะนาให้ใช้ การตรวจสอบทางธุรกิจ (business audits) เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการทางาน ไม่เพียงแต่ใช้ตววัดด้าน ั การเงินเพียงอย่างเดียว แต่ควรใช้ตาแหน่งในตลาด และ ความสามารถด้านนวัตกรรม ประกอบการพิจารณาด้วย  เขายังแนะนาว่า ผูจดการควรรูเกี่ยวกับค่าใช้จายของ ห่วงโซ่ทาง ้ั ้ ่ ธุรกิจทั้งระบบ (entire economic chain) รวมถึงราคาที่คิดกับ ลูกค้าด้วย
  • 19. เครื่องมือการวินิจฉัยธุรกิจ :  1. สารสนเทศพื้นฐาน (Foundation information) เช่น เงินสดหมุนเวียน ้ ยอดขาย และอัตราส่วนทางการเงินทังหลาย ที่ใช้คนหาและแก้ปัญหา ้  2. สารสนเทศด้านผลผลิต (Productivity information) เช่น ค่าแรง การ วิเคราะห์การเพิ่มคุณค่าทางเศรษฐกิจที่คมกับการลงทุน รวมถึงการ ุ้ เทียบเคียงกับคู่แข่งขัน  3. สารสนเทศด้านความสามารถหลัก (Competence information) ได้แก่ ตัววัดผลความสามารถด้านนวัตกรรม และความสามารถหลักของ องค์กร  4. สารสนเทศด้านการจัดสรรทรัพยากร (Resource-allocation information) คือ ตัววัดผลตอบแทนการลงทุน ระยะเวลาการชาระหนี้ ค่าเสื่อมราคา
  • 20. จากทฤษฎีสูการปฏิบติ ่ ั  ทาให้มั ่นใจได้ว่า มีการสื่อสารที่ดีทั ่วทั้งองค์กร  ใช้ประโยชน์จากรายงานป้ อนกลับ เพื่อเสริมจุดแข็ง  ควบคุมประสิทธิภาพการทางานด้วย การตรวจสอบทางธุรกิจ (business audit)  ศึกษาค่าใช้จาย จนถึงราคาที่ลกค้ายอมจ่าย ่ ู  ใช้ตววัดผลหลาย ๆ ตัว ไม่ใช่เพียงตัวเดียว ั  ตั้งความคาดหวังกับผลงานของบุคลากร และทางานอย่างเป็ น ระบบ  พัฒนา ความฉลาดทางธุรกิจ (business intelligence) ที่เกี่ยวกับคู่ แข่งขันที่แท้จริง และคู่แข่งขันในอนาคต ทั ่วทั้งโลก
  • 22. ระบบการบริหารจัดการแบบบูรณาการ 6 ขั้นตอนของการบริหารแบบมุ่งเน้นวัตถุประสงค์ (MBO: Management by Objectives) ซึ่งเป็ นระบบบริหารจากบนลงล่าง ที่นิยมกันมาก คือ  1. ระบุวตถุประสงค์ขององค์กรโดยรวม ั  2. วิเคราะห์เป้ าหมาย และมอบหมายงานให้ผจดการแต่ละส่วน ู้ ั รับผิดชอบ ้  3. ตังมาตรฐานของผลงาน  4. ทาข้อตกลง และระบุวตถุประสงค์ที่ชดเจน ั ั  5. ระบุเป้ าหมายของแต่ละบุคคล ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ องค์กร  6. จัดระบบสารสนเทศ เพือตรวจสอบการบรรลุผลของแต่ละ ่ วัตถุประสงค์
  • 23. มุมมองของผลลัพธ์ที่สาคัญ ในหนังสือ The Practice of Management (1954) Drucker กล่าวถึง 8 ตัววัดผลที่สาคัญคือ:  Marketing  Innovation  Human Organization  Financial Resources  Physical Resources  Productivity  Social Responsibility  Profit Requirements
  • 24. การบริหารตนเอง Drucker ให้คาแนะนาดังนี้  การตัดสินใจที่มีประสิทธิผล (On effective decision-making): ให้แยก เหตุการณ์เป็ น ที่เกิดซ้ ากับที่ไม่เคยเกิดมาก่อน เหตุการณ์ที่เคยเกิด ให้แก้ดวยระบบ เหตุการณ์ที่ไม่เคยเกิด ให้แก้เป็ นเรื่อง ๆ ไป ้  การปรับปรุงผลงาน (On improving performance): ให้รูจกตัวตนว่า ้ั ถนัดการรับสารสนเทศแบบใด ว่าเป็ นแบบรายงานเป็ นลายลักษณ์ อักษร หรือแบบปากเปล่า ไม่ตองเปลี่ยนสิ่งที่ตนเองถนัด ้  การรูตนเอง (On knowing yourself): ให้ทางานในองค์กรที่มีค่านิยมที่ ้ ตรงกับของตนเอง โดยถามว่า เรามีส่วนช่วยในเรื่องอะไรได้บาง ้
  • 25. จากทฤษฎีสูการปฏิบติ ่ ั  ไม่มีสิ่งที่ถูกต้องที่สุดเพียงอย่างเดียว ในการบริหารบุคคล  เพื่อผลลัพธ์ที่ดีที่สุด จัดสรรทรัพยากรให้กบโอกาส ไม่ใช่เพื่อ ั แก้ปัญหา  รูพนธกิจขององค์กร และมีความเชื่อมั ่น ้ ั  รูว่าตนเองสมควรทาอะไร อย่างไร แล้วลงมือทา ้  รูจกตนเองว่าเป็ นคนตัดสินใจ หรือเป็ นผูให้คาแนะนา ้ั ้  เรียนรูวิธีการบริหารตนเอง และช่วยผูอื่นได้เรียนรูดวย ้ ้ ้ ้  ถามตนเองว่าสมควรทาอย่างไร มากกว่าทาตามคาสั ่งอย่าง เคร่งครัด
  • 27. การค้นหาการเปลี่ยนแปลง โอกาสที่เกิดขึ้นภายในองค์กรหรืออุตสาหกรรม มี 4 ประการคือ  สิ่งที่ไม่ได้คาดหวัง (The unexpected) ได้แก่ ความสาเร็จ ความ ล้มเหลว หรือเหตุการณ์ภายนอก ที่ไม่ได้คาดหวังไว้  ความไม่สอดคล้องกัน (The incongruity) ระหว่างความเป็ นจริงที่ เกิดขึ้น กับความเป็ นจริงที่น่าจะเป็ น (ought to be)  นวัตกรรมที่เกิดจากความต้องการของกระบวนการ (Innovation based on process need)  การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างอุตสาหกรรมหรือการตลาด ที่ไม่มี ใครเฉลียวใจ (Changes in industry structure or market structure that catch everyone unaware)
  • 28. แหล่งของการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก Drucker ระบุ 3 แหล่งของการเปลี่ยนแปลงคือ:  การเปลี่ยนแปลงด้านประชากร (Demographics or population changes)  การเปลี่ยนแปลงด้านการรับรู ้ อารมณ์ และความหมาย (Changes in perception, mood and meaning)  ความรูใหม่ ทั้งที่เป็ นวิทยาศาสตร์และไม่ใช่วิทยาศาสตร์ (New ้ knowledge, both scientific and non-scientific)
  • 29. หลักการของนวัตกรรม  Drucker เชื่อว่า นวัตกรรมเป็ นผลจาก การวิเคราะห์ ระบบ และ การทางานหนัก เขาได้แนะนา 5 สิ่งที่ควรทา คือ :  1. การวิเคราะห์โอกาส  2. ออกไปดู ถาม แล้วฟั ง  3. ทาให้เรียบง่าย ใส่ใจตลอดเวลา  4. เริมเล็ก ๆ ก่อน ทาทีละอย่างโดยเฉพาะเจาะจง ่  5. มุ่งสูความเป็ นผูนาด้านตลาด ่ ้
  • 30. รูธุรกิจอย่างทะลุปรุโปร่ง ้  Drucker แนะนาให้ใช้ 4 คาถาม คือ:  1. ผลิตภัณฑ์น้ ี จะยังคงเติบโตอีกนานหรือไม่?  2. ผลิตภัณฑ์น้ ี จะธารงอยูในตลาดได้อีกนานเท่าใด? ่  3. อีกนานหรือไม่ที่ผลิตภัณฑ์น้ ี จะเสื่อมความนิยม และด้วย อัตราเร็วเท่าใด?  4. เมื่อใดที่ผลิตภัณฑ์น้ ี จะล้าสมัย?  คาตอบเหล่านี้จะระบุช่องว่าง ระหว่างวัตถุประสงค์ของบริษท ั และสิ่งที่เกิดขึ้นจริง นวัตกรรมจะมาช่วยปิ ดช่องว่างนี้ได้
  • 31. การจัดการกับความเสี่ยงใหม่ที่อาจเกิดขึ้น 4 หัวข้อในการจัดการกับความเสี่ยง  1. การมุ่งเน้นตลาด (Market focus) มีความอ่อนตัวพอ ที่จะระบุ ความผิดพลาด แล้วรีบเปลี่ยนวิกฤตให้เป็ นโอกาส  2. พยากรณ์ดานการเงิน (Financial foresight, especially in ้ planning for cash flow and capital needs ahead) อย่าเน้นผลกาไร อย่างเดียว ให้จดลาดับความสาคัญคือ มีรูปแบบการควบคุม การ ั มีเงินสดหมุนเวียน และมีเงินลงทุน ซึ่งเป็ นสิ่งจาเป็ นของธุรกิจ  3. สร้างทีมบริหารให้พร้อม ก่อนเกิดสถานการณ์เสี่ยง  4. การตัดสินใจของผูก่อตั้ง เป็ นสิ่งสาคัญ ต้องคานึงถึงด้วย ้
  • 32. กลยุทธ์แบบนักลงทุน : ้  1. คิดใหญ่ไม่คิดเล็ก (Fustest with the Mostest) คือ มุ่งเป็ นผูนาตลาดตังแต่ ้ แรกเริ่ม  2. ทาในสิ่งที่คนอื่นไม่กล้าทา (Hitting Them Where They Ain’t) ไม่ว่าเป็ นการ ลอกเลียน หรือก้าวล้ากว่าผูที่เป็ นต้นแบบ เช่นเดียวกับหลักการที่ญี่ปุ่นใช้ ้  3. หาจุดเฉพาะ (ecological niche) แล้วเป็ นผูผกขาดในตลาดที่เป็ นเฉพาะนั้น ู้ (obtaining a practical monopoly in a small area.)  4. เปลี่ยนคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ ตลาด หรือ อุตสาหกรรมโดยใช้     a) คุณลักษณะที่เป็ นประโยชน์ตอผูใช้ ่ ้ b) กลยุทธ์ดานราคา ้ c) จากการปรับตัวของลูกค้าด้านสังคมและเศรษฐกิจ d) ส่งมอบสิ่งที่มีคณค่าในสายตาของลูกค้า ุ
  • 34. การพัฒนาในอนาคต  Drucker กล่าวว่าแนวโน้มผูสูงวัยจะมากขึ้นในโลกตะวันตกและ ้ ญี่ปุ่น เขาจึงทานายว่า:  อายุการเกษียณจะเพิ่มเป็ น 75 ปี ก่อน ค.ศ. 2010  เศรษฐกิจจะโตได้ จากผลผลิตของบุคลากรที่มีความรู ้ (knowledge workers)  จะไม่มีประเทศใดเป็ นผูนาด้านเศรษฐกิจในโลกแต่ผเดียว ้ ู้
  • 35. การเพิ่มบทบาทของการบริหารจัดการ  Drucker เชื่อว่าการบริหารจัดการ จะขยายตัวไปสูองค์กรที่ไม่ ่ แสวงหากาไร และองค์กรทางสังคม โดยเฉพาะ การศึกษา และ การรักษาพยาบาล เพราะทั้งสองกลุมนี้ ยังคงมีการใช้วิธีการ ่ ดาเนินการ มากกว่าใช้การบริหารจัดการ (both of which are today over-administered and undermanaged)  เขาให้ความเห็นว่า การให้ความสาคัญด้านสังคม ยังติดตามด้าน เศรษฐกิจไม่ทน การบริหารจัดการ จึงต้องมีบทบาทมากกว่านี้ ใน ั กลุมดังกล่าว ่
  • 36. ความรับผิดชอบด้านจริยธรรม  Drucker กล่าวว่า เป็ นเรืองน่ากลัวที่ผบริหารยังมีความโลภ มีการ ่ ู้ ให้เงินรางวัลกับผูบริหารที่ไล่พนักงานออก เพื่อลดค่าใช้จาย ว่า ้ ่ ทาได้ดี เขาไม่พอใจกับการบริหารในยุคนั้น และเห็นว่า การให้ เงินรางวัลผูบริหารระดับสูงจานวนมากมาย เป็ นเรืองที่ไม่ถูกต้อง ้ ่  เขามีความเชื่อว่า ในศตวรรษที่ 21 ภาคส่วนที่จะมีการเติบโต มากขึ้น คือ องค์กรไม่แสวงหากาไร ได้แก่ การศึกษา การ รักษาพยาบาล และ การศาสนา