SlideShare a Scribd company logo
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
(Progressivism)
พิพัฒนาการหรือ Progressive หมายถึง การเปลี่ยนแปลงไม่หยุดนิ่ง
การจัดการศึกษาต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลง จึงได้เชื่อว่า
“แนวทางแห่งความมีอิสระเสรีที่จะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง
วัฒนธรรมและสังคม”
ความเป็ นมา
พิพัฒนาการนิยมเกิดขึ้นเพื่อต่อต้านแนวคิดและวิธีการศึกษาแบบเดิมที่เน้นแต่เนื้
อหา สอนแต่ท่องจา ไม่คานึงถึงความสนใจของเด็ก
และพัฒนาเด็กแต่เพียงสติปัญญาเท่านั้น ทาให้ผู้เรียนขาดความ ริเริ่มสร้างสรรค์
ไม่มีความมั่นใจในตนเอง อีกอย่างหนึ่งเพราะความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีใหม่ ๆ ความนิยมในประชาธิปไตยและพัฒนาการใหม่ ๆ
ทางจิตวิทยาการเรียนรู้
จัง จ๊าค รุสโซ, จอห์น เฮนรี่, เปสตาลอสซี่, เฟรด เดอริค ฟรอเบล
เป็นผู้มีแนวคิดทางปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมเป็นพวกแรก ของยุโรป
ค.ศ. 1870 ฟรานซีส ดับเบิลยู ปาร์คเกอร์
ได้เสนอให้มีการปฏิรูประบบโรงเรียนขึ้นใหม่ แต่ยังไม่ได้รับการยอมรับ
ต่อมา จอห์น ดุย
ทาการทดลองเพิ่มเติมจนทั่วโลกได้รู้จักปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมขอ
งเขา มีนักการศึกษาร่วมอยู่ด้วย วิลเลียม เอช คิลแพททริค, จอห์น ไซล์ค
และเฮนรี่ บาร์นาร์ด สหรัฐอเมริกาจัดตั้งสมาคมการศึกษาพิพัฒนาการขึ้นในปี
ค.ศ.1919 ได้จัดทาหลักสูตรการศึกษาเพื่อชีวิต (The Life-Centered
Curriculum) ขึ้นใช้ในโรงเรียนอย่างกว้างขวาง
จอห์น ดุย ได้ยกย่องปาร์คเกอร์ ว่าเป็ นบิดาของปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม ก่อตั้งขึ้นมาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง(ราว
ค.ศ.1920) และ นามาใช้อย่างแพร่หลายมากที่สุดในยุคปัจจุบัน
สาหรับวงการศึกษาไทยได้ต้อนรับปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม(แบบก้าวหน้า)อย่า
งกระตือรือร้น โดยรู้จักกันในนามว่า “การศึกษาแผนใหม่“
แนวคิดพื้นฐาน
พิพัฒนาการนิยม มีแนวคิดเช่นเดียวกับปรัชญาปฏิบัตินิยม
เชื่อว่าชีวิตเป็ นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้เสมอตามกาลเวลาและสิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบที่มีอิทธิพลสูงสุดในการกาหนดรูปแบบของวัฒนธรรมและสังคม คือ
การค้นคว้า ทดลอง และประสบการณ์ของมนุษย์ที่ได้เห็นประจักษ์
เชื่อว่ามนุษย์เป็ นผู้กาหนดอนาคตโชคชะตาของตนเอง
มนุษย์ควรจะนั้นความสาคัญและคุณค่าของแต่ละบุคคลให้มากดังนั้น
การศึกษาในฐานะเป็ นส่วนหนึ่งของสังคมจะต้องเปลี่ยนแปรสภาพไปด้วยเมื่อถึงความจาเ
ป็ นการศึกษาไม่ใช่สอนให้คนยึดมั่นในความจริง หรือถูกกาหนดไว้ตายตัว
หากจะต้องหาทางปรับปรุงการศึกษาเพื่อจะเป็ นแนวทางนาไปสู่การค้นพบความรู้ใหม่ ๆ
อยู่เสมอ
ความหมายของการศึกษา
พิพัฒนาการนิยมเชื่อว่าการศึกษาคือชีวิตไม่ใช่เป็นการเตรียมตัวเพื่อชีวิ
ต หมายความว่า การที่จะให้ได้มาซึ่งความรู้ก็โดยการลงมือกระทา จริง ๆ
ที่จะก่อให้เกิดประสบการณ์กับผู้เรียน
กิจกรรมการเรียนการสอนจึงมุ่งการพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสติปัญญาไปพร้อม ๆ กัน สามารถปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข
ความมุ่งหมายของการศึกษา
1. จุดมุ่งหมายการศึกษาในปรัชญาการศึกษา พิพัฒนาการนิยม สรุปได้ว่า
2. มุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสติปัญญาไปพร้อม ๆ กัน
3. มุ่งให้ผู้เรียนรู้จักปรับตัวเองเข้ากับสังคมได้อย่างมีความสุข
4. มุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนตามความถนัด ความสนใจ
และตามความสามารถของผู้เรียน
5. ส่งเสริมประชาธิปไตยทั้งในและนอกห้องเรียน
6. มุ่งให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
7. มุ่งให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ในการดารงชีวิตเป็นหมู่คณะ
และรู้จักปกครองตนเอง
ธรรมชาติของมนุษย์
เชื่อว่ามนุษย์เป็นคนดีมาแต่กาเนิด
มนุษย์ไม่ได้โง่หรือฉลาดมาแต่กาเนิด มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความว่างเปล่า
ความฉลาดหรืออุปนิสัยอื่น ๆ
มนุษย์มาได้รับภายหลังและจากประสบการณ์ทั้งสิ้น มนุษย์มีอิสระเสรี
มิได้อยู่ใต้การลิขิตของผู้ใด มีศักยภาพ ที่จะพัฒนาตัวเองให้ดี
ญาณวิทยา
เชื่อว่าความรู้ที่ตายตัวแน่นอนอันเป็นความจริงสูงสุดนั้นไม่มี
ความรู้มีวิวัฒนาการอยู่เสมอ ความรู้มีหน้าที่ช่วยมนุษย์แก้ปัญหา
และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมมากที่สุด ความรู้ต้องนาไปใช้ได้ผลจริง ๆ
กระบวนการของการศึกษา
ถือว่าประสบการณ์และการทดลองมีความสาคัญที่สุดของการเรียนรู้
และการเรียนรู้เป็นเรื่องของการกระทา (Doing) มากกว่ารู้ (Knowing)
และจะต้องให้ผู้เรียนได้รู้จักที่จะแก้ไขปัญหาของตนเองและสังคมได้
และจะต้องคานึงถึงความแตกต่างระหว่าง บุคคลด้วย
สถาบันการศึกษา
เชื่อว่าสถาบันการศึกษา คือ แบบจาลองที่ดีงามของชีวิตและสังคม
โดยจัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับสภาพสังคม และการดาเนินชีวิตจริง
แต่ต้องเหมาะสมกับวุฒิภาวะของผู้เรียน
เพื่อผู้เรียนสามารถแก้ไขปัญหาชีวิตและสังคมได้ดีขึ้น
สถาบันการศึกษาจะต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความร่วมมือกันสร้างบรรยากาศ
เป็นประชาธิปไตย เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสันติสุข
ผู้บริหาร
1. ผู้บริหารจะเป็นผู้ดาเนินงานไปตามข้อตกลงหรือมติของคณะกรรมการ
ของสถาบันการศึกษา
2. ผู้บริหารจะต้องเป็นนักประชาธิปไตยให้ผู้อื่นมีส่วนร่วมแสดงความคิดเ
ห็นและร่วมในการบริหารงาน
บทบาทหน้าที่ความสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
เชื่อว่าผู้สอนและผู้เรียนร่วมมือกันในการเรียนรู้
และเน้นการทางานในรูปของประชาธิปไตย ความเสมอภาค
และผู้สอนจะต้องจัดกิจกรรมที่สนองความอยากรู้อยากเห็นของผู้เรียน
พร้อมทั้งยังคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ
ผู้สอน
1. จะต้องมีบุคลิกที่ดี
เห็นอกเห็นใจและเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็กได้ดี
2. บทบาทที่สาคัญของผู้สอน คือ จะต้องเป็นผู้กระตุ้น
ให้ผู้เรียนได้สนใจด้วยตนเอง ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ด้วยตนเอง
3. บทบาทของผู้สอนไม่ใช่เป็นผู้ใช้อานาจหรือออกคาสั่ง
แต่ทาหน้าที่ให้คาปรึกษาแนะแนวทางให้กับผู้เรียน
ผู้เรียน
ให้ความสาคัญกับตัวผู้เรียนมาก
ถือว่าผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน
การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้มีประสบการณ์ตรง
หรือลงมือกระทาด้วยตนเอง (Learning by Doing)
ผู้เรียนมีอิสระที่จะเลือกตัดสินใจด้วยตนเอง
วิธีสอน
มุ่งให้ผู้เรียนรวมกลุ่มทากิจกรรม ใช้วิธีการสอนแบบ “แก้ปัญหา“
นาหลักการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ ทดลองแก้ปัญหาด้วยตนเอง
เห็นความสาคัญของงานที่มีต่อตนเอง ต่อสังคม
การสอนจึงเน้นในเรื่องการสาธิต การอภิปราย การค้นคว้า การรายงาน
การประชุม การวางแผน ซึ่งจะกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ความสามารถอย่างแท้จริง
และได้รับประสบการณ์จริงด้วยตนเอง คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ศักยภาพของผู้เรียน ระวังไม่ให้เด็กเรียนอ่อนเกิดปมด้อย
หลักสูตร
หลักสูตรแบบประสบการณ์หรือหลักสูตรแบบกิจกรรม
เน้นการดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
หลักสูตรเน้นวิชาที่เสริมสร้างประสบการณ์ที่สัมพันธ์กับสังคม
เนื้อหาของหลักสูตรจะต้องไม่ถูกกาหนดไว้ล่วงหน้า
หลักสูตรที่ดีต้องมุ่งไปที่การเรียนรู้ทุกชนิดที่จะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาในทุกด้าน
การวัดและการประเมินผล
เชื่อว่าความรู้เป็นเพียงเครื่องมือที่จะช่วยมนุษย์ในการแก้ปัญหาเท่านั้น
การที่จะได้มาซึ่งความรู้ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์
การวัดผลและประเมินผลจะต้องดูว่าเนื้อหาวิชาเหล่านั้นสามารถพัฒนาผู้เรียน
ให้มีความสามารถในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้มากน้อยเพียงใด

More Related Content

What's hot

สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
KruNistha Akkho
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 
งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5
chinnapon chom
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
Padvee Academy
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
Thanaporn Prommas
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซียรายงานการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
krupanisara
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ณัฐพล บัวพันธ์
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
Khorkhuad Jakkritch
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
Pop Punkum
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
Ariyaporn Suaekong
 

What's hot (20)

สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซียรายงานการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 

Similar to ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม

แนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม
แนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยมแนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม
แนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม
KSPNKK
 
thesis 1
thesis 1thesis 1
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
Autsa Maneeratana
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701Autsa Maneeratana
 
อัษฎา Ep.2.
อัษฎา Ep.2.อัษฎา Ep.2.
อัษฎา Ep.2.042573018
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptx
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptxการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptx
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptxAiijoo Yume
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
Weerachat Martluplao
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
10 km 1
10 km 110 km 1
Socratic method
Socratic methodSocratic method
Socratic method
Adun Sailektim
 
Self directed learning
Self directed learningSelf directed learning
Self directed learning0882264412
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
Sup's Tueng
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
Sup's Tueng
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
Pakakul Budken
 
L2
L2L2

Similar to ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม (20)

แนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม
แนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยมแนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม
แนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม
 
thesis 1
thesis 1thesis 1
thesis 1
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
 
อัษฎา Ep.2.
อัษฎา Ep.2.อัษฎา Ep.2.
อัษฎา Ep.2.
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptx
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptxการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptx
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptx
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
10 km 1
10 km 110 km 1
10 km 1
 
Socratic method
Socratic methodSocratic method
Socratic method
 
Socratic method
Socratic methodSocratic method
Socratic method
 
Self directed learning
Self directed learningSelf directed learning
Self directed learning
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Education Inter
Education InterEducation Inter
Education Inter
 
L2
L2L2
L2
 
Chapter 7
Chapter  7 Chapter  7
Chapter 7
 

ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม

  • 1. ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) พิพัฒนาการหรือ Progressive หมายถึง การเปลี่ยนแปลงไม่หยุดนิ่ง การจัดการศึกษาต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลง จึงได้เชื่อว่า “แนวทางแห่งความมีอิสระเสรีที่จะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง วัฒนธรรมและสังคม” ความเป็ นมา พิพัฒนาการนิยมเกิดขึ้นเพื่อต่อต้านแนวคิดและวิธีการศึกษาแบบเดิมที่เน้นแต่เนื้ อหา สอนแต่ท่องจา ไม่คานึงถึงความสนใจของเด็ก และพัฒนาเด็กแต่เพียงสติปัญญาเท่านั้น ทาให้ผู้เรียนขาดความ ริเริ่มสร้างสรรค์ ไม่มีความมั่นใจในตนเอง อีกอย่างหนึ่งเพราะความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีใหม่ ๆ ความนิยมในประชาธิปไตยและพัฒนาการใหม่ ๆ ทางจิตวิทยาการเรียนรู้ จัง จ๊าค รุสโซ, จอห์น เฮนรี่, เปสตาลอสซี่, เฟรด เดอริค ฟรอเบล เป็นผู้มีแนวคิดทางปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมเป็นพวกแรก ของยุโรป ค.ศ. 1870 ฟรานซีส ดับเบิลยู ปาร์คเกอร์ ได้เสนอให้มีการปฏิรูประบบโรงเรียนขึ้นใหม่ แต่ยังไม่ได้รับการยอมรับ ต่อมา จอห์น ดุย ทาการทดลองเพิ่มเติมจนทั่วโลกได้รู้จักปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมขอ งเขา มีนักการศึกษาร่วมอยู่ด้วย วิลเลียม เอช คิลแพททริค, จอห์น ไซล์ค และเฮนรี่ บาร์นาร์ด สหรัฐอเมริกาจัดตั้งสมาคมการศึกษาพิพัฒนาการขึ้นในปี ค.ศ.1919 ได้จัดทาหลักสูตรการศึกษาเพื่อชีวิต (The Life-Centered Curriculum) ขึ้นใช้ในโรงเรียนอย่างกว้างขวาง จอห์น ดุย ได้ยกย่องปาร์คเกอร์ ว่าเป็ นบิดาของปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม ก่อตั้งขึ้นมาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง(ราว ค.ศ.1920) และ นามาใช้อย่างแพร่หลายมากที่สุดในยุคปัจจุบัน สาหรับวงการศึกษาไทยได้ต้อนรับปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม(แบบก้าวหน้า)อย่า งกระตือรือร้น โดยรู้จักกันในนามว่า “การศึกษาแผนใหม่“ แนวคิดพื้นฐาน พิพัฒนาการนิยม มีแนวคิดเช่นเดียวกับปรัชญาปฏิบัตินิยม เชื่อว่าชีวิตเป็ นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้เสมอตามกาลเวลาและสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบที่มีอิทธิพลสูงสุดในการกาหนดรูปแบบของวัฒนธรรมและสังคม คือ การค้นคว้า ทดลอง และประสบการณ์ของมนุษย์ที่ได้เห็นประจักษ์
  • 2. เชื่อว่ามนุษย์เป็ นผู้กาหนดอนาคตโชคชะตาของตนเอง มนุษย์ควรจะนั้นความสาคัญและคุณค่าของแต่ละบุคคลให้มากดังนั้น การศึกษาในฐานะเป็ นส่วนหนึ่งของสังคมจะต้องเปลี่ยนแปรสภาพไปด้วยเมื่อถึงความจาเ ป็ นการศึกษาไม่ใช่สอนให้คนยึดมั่นในความจริง หรือถูกกาหนดไว้ตายตัว หากจะต้องหาทางปรับปรุงการศึกษาเพื่อจะเป็ นแนวทางนาไปสู่การค้นพบความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอ ความหมายของการศึกษา พิพัฒนาการนิยมเชื่อว่าการศึกษาคือชีวิตไม่ใช่เป็นการเตรียมตัวเพื่อชีวิ ต หมายความว่า การที่จะให้ได้มาซึ่งความรู้ก็โดยการลงมือกระทา จริง ๆ ที่จะก่อให้เกิดประสบการณ์กับผู้เรียน กิจกรรมการเรียนการสอนจึงมุ่งการพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาไปพร้อม ๆ กัน สามารถปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ความมุ่งหมายของการศึกษา 1. จุดมุ่งหมายการศึกษาในปรัชญาการศึกษา พิพัฒนาการนิยม สรุปได้ว่า 2. มุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาไปพร้อม ๆ กัน 3. มุ่งให้ผู้เรียนรู้จักปรับตัวเองเข้ากับสังคมได้อย่างมีความสุข 4. มุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนตามความถนัด ความสนใจ และตามความสามารถของผู้เรียน 5. ส่งเสริมประชาธิปไตยทั้งในและนอกห้องเรียน 6. มุ่งให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 7. มุ่งให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ในการดารงชีวิตเป็นหมู่คณะ และรู้จักปกครองตนเอง ธรรมชาติของมนุษย์ เชื่อว่ามนุษย์เป็นคนดีมาแต่กาเนิด มนุษย์ไม่ได้โง่หรือฉลาดมาแต่กาเนิด มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความว่างเปล่า ความฉลาดหรืออุปนิสัยอื่น ๆ มนุษย์มาได้รับภายหลังและจากประสบการณ์ทั้งสิ้น มนุษย์มีอิสระเสรี มิได้อยู่ใต้การลิขิตของผู้ใด มีศักยภาพ ที่จะพัฒนาตัวเองให้ดี ญาณวิทยา เชื่อว่าความรู้ที่ตายตัวแน่นอนอันเป็นความจริงสูงสุดนั้นไม่มี ความรู้มีวิวัฒนาการอยู่เสมอ ความรู้มีหน้าที่ช่วยมนุษย์แก้ปัญหา และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมมากที่สุด ความรู้ต้องนาไปใช้ได้ผลจริง ๆ
  • 3. กระบวนการของการศึกษา ถือว่าประสบการณ์และการทดลองมีความสาคัญที่สุดของการเรียนรู้ และการเรียนรู้เป็นเรื่องของการกระทา (Doing) มากกว่ารู้ (Knowing) และจะต้องให้ผู้เรียนได้รู้จักที่จะแก้ไขปัญหาของตนเองและสังคมได้ และจะต้องคานึงถึงความแตกต่างระหว่าง บุคคลด้วย สถาบันการศึกษา เชื่อว่าสถาบันการศึกษา คือ แบบจาลองที่ดีงามของชีวิตและสังคม โดยจัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับสภาพสังคม และการดาเนินชีวิตจริง แต่ต้องเหมาะสมกับวุฒิภาวะของผู้เรียน เพื่อผู้เรียนสามารถแก้ไขปัญหาชีวิตและสังคมได้ดีขึ้น สถาบันการศึกษาจะต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความร่วมมือกันสร้างบรรยากาศ เป็นประชาธิปไตย เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสันติสุข ผู้บริหาร 1. ผู้บริหารจะเป็นผู้ดาเนินงานไปตามข้อตกลงหรือมติของคณะกรรมการ ของสถาบันการศึกษา 2. ผู้บริหารจะต้องเป็นนักประชาธิปไตยให้ผู้อื่นมีส่วนร่วมแสดงความคิดเ ห็นและร่วมในการบริหารงาน บทบาทหน้าที่ความสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน เชื่อว่าผู้สอนและผู้เรียนร่วมมือกันในการเรียนรู้ และเน้นการทางานในรูปของประชาธิปไตย ความเสมอภาค และผู้สอนจะต้องจัดกิจกรรมที่สนองความอยากรู้อยากเห็นของผู้เรียน พร้อมทั้งยังคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ ผู้สอน 1. จะต้องมีบุคลิกที่ดี เห็นอกเห็นใจและเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็กได้ดี 2. บทบาทที่สาคัญของผู้สอน คือ จะต้องเป็นผู้กระตุ้น ให้ผู้เรียนได้สนใจด้วยตนเอง ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ด้วยตนเอง 3. บทบาทของผู้สอนไม่ใช่เป็นผู้ใช้อานาจหรือออกคาสั่ง แต่ทาหน้าที่ให้คาปรึกษาแนะแนวทางให้กับผู้เรียน ผู้เรียน ให้ความสาคัญกับตัวผู้เรียนมาก ถือว่าผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน
  • 4. การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้มีประสบการณ์ตรง หรือลงมือกระทาด้วยตนเอง (Learning by Doing) ผู้เรียนมีอิสระที่จะเลือกตัดสินใจด้วยตนเอง วิธีสอน มุ่งให้ผู้เรียนรวมกลุ่มทากิจกรรม ใช้วิธีการสอนแบบ “แก้ปัญหา“ นาหลักการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ ทดลองแก้ปัญหาด้วยตนเอง เห็นความสาคัญของงานที่มีต่อตนเอง ต่อสังคม การสอนจึงเน้นในเรื่องการสาธิต การอภิปราย การค้นคว้า การรายงาน การประชุม การวางแผน ซึ่งจะกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ความสามารถอย่างแท้จริง และได้รับประสบการณ์จริงด้วยตนเอง คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ศักยภาพของผู้เรียน ระวังไม่ให้เด็กเรียนอ่อนเกิดปมด้อย หลักสูตร หลักสูตรแบบประสบการณ์หรือหลักสูตรแบบกิจกรรม เน้นการดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข หลักสูตรเน้นวิชาที่เสริมสร้างประสบการณ์ที่สัมพันธ์กับสังคม เนื้อหาของหลักสูตรจะต้องไม่ถูกกาหนดไว้ล่วงหน้า หลักสูตรที่ดีต้องมุ่งไปที่การเรียนรู้ทุกชนิดที่จะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาในทุกด้าน การวัดและการประเมินผล เชื่อว่าความรู้เป็นเพียงเครื่องมือที่จะช่วยมนุษย์ในการแก้ปัญหาเท่านั้น การที่จะได้มาซึ่งความรู้ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ การวัดผลและประเมินผลจะต้องดูว่าเนื้อหาวิชาเหล่านั้นสามารถพัฒนาผู้เรียน ให้มีความสามารถในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้มากน้อยเพียงใด