SlideShare a Scribd company logo
แนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism)
ปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม หรือ พิพัฒนนิยม Progressivism เป็นปรัชญาในกลุ่ม
ปรัชญาการศึกษาแบบเสรีนิยม Liberal View ที่มีลักษณะคือ ไม่ยึดติดกับเนื้อหาที่ตายตัวและไม่
ยึดติดกับมรดกทางวัฒนธรรมมากเกินไป
ปรัชญาการศึกษากลุ่มแรกของเสรีนิยม กาเนิดขึ้นเพื่อต่อต้านแนวคิดและวิธีการศึกษา
แบบเดิมที่เน้นเนื้อหาแบบท่องจา ตัดขาดจากสังคม ไม่คานึงถึงความสนใจของเด็กและพัฒนาเด็ก
แต่เพียงสติปัญญาเท่านั้น (Wingo, 1974 : 151)
อีกส่วนหนึ่งเกิดขึ้นเพราะความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีใหม่ๆ ความนิยมใน
ประชาธิปไตยและพัฒนาการใหม่ ๆ ทางจิตวิทยาการเรียนรู้
ปรัชญาของการศึกษาแนวนี้เฟื่องฟูมากในระหว่างปี 1910 ถึง 1950 หลังจากนั้นมาแม้จะ
เป็นที่ยอมรับกันอยู่ แต่ก็ได้รับการโจมตีอยู่มาก ในปี 1919 มีการจัดตั้งสมาคมการศึกษาพิพัฒนา
การขึ้น แต่ในปี 1938 กลุ่มนักวิชาการในสาขาสารัตถนิยมมีการประเมินและปรับปรุงตนเอง
ประกอบกับปัญหาของโลกในช่วงก่อนและระหว่างสงครามโลก ทาให้คนทั่วไปหันกลับมาหาสา
รัตถนิยมมากขึ้น มีผลให้การศึกษาแบบพิพัฒนาการถูกโจมตีอย่างมากในปี 1955 ทาให้ต้องล้มเลิก
ไป (Mason, 1972 : 66)
แต่แนวคิดและวิธีการก็ยังอยู่
แนวคิดหลักของการศึกษาแบบพิพัฒนาการนิยมก็คือ การศึกษาจะต้องพัฒนาเด็กทุกคน
ไม่เฉพาะสติปัญญาเท่านั้น โรงเรียนมีความสัมพันธ์กับสังคมมากขึ้น เด็กจะต้องพร้อมที่จะไปอยู่ใน
สังคมได้อย่างมีความสุข ปรับตัวได้ดี กระบวนการเรียนการสอนจึงมีความสาคัญพอ ๆ กับเนื้อเรื่อง
ของปัจจุบัน มีความสาคัญกว่าอดีตหรืออนาคต โดยเหตุนี้ ปรัชญาในแนวนี้เมื่อเทียบกับปรัชญา
แบบสารัตถนิยมและนิรันตรนิยมแล้วจึงมีความเสรีมากกว่า
เป้าหมายของการจัดการศึกษาคืออะไร
การศึกษาปรัชญาพิพัฒนาการนิยมนี้ ดังจะกล่าวไว้แล้วว่ากาเนิดขึ้นมาเพื่อต้านแนวคิด
และวิธีการศึกษาเก่าของการศึกษาที่เน้นแต่เพียงคุณสมบัติด้านใดด้านหนึ่งเพราะคิดว่าด้านนั้น
สาคัญกว่าสารัตถนิยมเน้นความสามารถทางการจาและเข้าใจ ในขณะที่นิรันตรนิยมเน้น
ความสามารถทางเหตุผลทางปัญญา แต่พิพัฒนาการนิยมมองไกลกว่านั้น โดยมองว่าการศึกษา
จะต้องให้การศึกษาทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม อาชีพและสติปัญญาควบคู่กันไป ความ
สนใจ ความถนัด และอัตลักษณ์พิเศษของผู้เรียนควรได้รับคามสนใจและได้รับการส่งเสริมให้มาก
ที่สุด สิ่งที่เรียนที่สอนควรเป็นประโยชน์สัมพันธ์สอดคล้องกับชีวิตประจาวันและสังคมของผู้เรียน
ให้มากที่สุด ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตยทั้งในและนอกห้องเรียนและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รู้จัก
กับตัวเองและสังคม เพื่อผู้เรียนจะได้ปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้อย่างมีความสุข ไม่ว่าสังคมจะ
เปลี่ยนไปอย่างไรก็ตาม ผู้เรียนจะต้องเข้าใจและสามารถแก้ปัญหานั้นได้
ครูเป็นอย่างไร
ครู ในปรัชญาแบบพิพัฒนาการนิยมนี้ทาหน้าที่คือ การเตรียม การแนะนาและให้
คาปรึกษาเป็นหลัก ครูอาจจะเป็นผู้รู้แต่ไม่ควรกาหนดกฎเกณฑ์หรือกะเกณฑ์ ให้เด็กทาตามอย่าง
หรือควรเป็นผู้สนับสนุนให้เด็กได้เรียนรู้ เข้าใจ และเห็นจริงด้วยตัวเอง
บทบาทของครูที่สาคัญคือต้องเป็นผู้กระตุ้น หนุน และหนีในระยะแรก ครูจะต้องให้เด็กมี
ความสนใจด้วยตนเอง ได้ศึกษาเรียนรู้และใช้ศักยภาพในตนเอง เมื่อเด็กมีแรงจูงใจแล้วครูจะต้อง
เป็นแรงหนุน คอยให้คาปรึกษากับผู้เรียนอยู่เสมอ เมื่อเด็กทาได้แล้ว ครูจึงควรหนีออกเพื่อให้เด็ก
เรียนรู้เอง ทาเอง คอยดูแลอยู่ห่าง ๆ
ลักษณะของครูตามปรัชญาสาขานี้จะต้องมีบุคลิกภาพที่ดี เห็นอกเห็นใจและเข้าใจความ
แตกต่างระหว่างบุคคลของเด็ก (กิติมา ปรีดีดิลก, 2520 : 79)
รู้จักคิดแปลงและปรับปรุงสภาพห้องเรียนให้เหมาะกับลักษณะของนักเรียนและกิจกรรม
ครูจะต้องวางแผน ประสานงานให้เด็กสนใจและร่วมมือกันทางาน แต่ครูก็มีหน้าที่จะต้องดูแล
ความเรียบร้อยอยู่เป็นระยะ
นักเรียนที่ต้องการเป็นแบบไหน
ปรัชญาสาขานี้ให้ความสาคัญกับตัวผู้เรียนเป็นอย่างมากเพราะถือว่าการเรียนรู้จะเกิดได้ดี
ก็ต่อเมื่อผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงหรือการลงมือทาด้วยตนเอง ดังนั้นผู้เรียนจึงมีอิสระที่จะเลือก
ตัดสินใจด้วยตนเอง มีส่วนร่วมกับกิจกรรมการเรียนการสอนและมีส่วนที่จะเลือกเนื้อหากิจกรรมที่
ตนเองสนใจได้มากขึ้น แต่ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่า นักเรียนจะเป็นผู้ร่างหลักสูตรหรือกาหนด
กิจกรรมขึ้นเอง แต่เป็นการทางานร่วมกัน เพื่อให้เกิดกระบวนกรเรียนรู้ตามความต้องการของ
ผู้เรียน เหมาะสมกับความถนัดและความสามารถของนักเรียนมากขึ้น
บทบาทดังกล่าวเมื่อพิจารณาดูแล้วอาจจะเห็นว่าไม่เป็นการแปลกมากนัก แต่ถ้ามองย้อน
ไปในสมัยปี 1950 แล้ว การให้เด็กมีส่วนร่วมถือได้ว่าเป็นเรื่องแปลกและท้าทายมาก ยิ่งในประเทศ
ไทยด้วยแล้ว เป็นเรื่องที่ผิดวิสัยอยู่พอควร
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนเป็นอย่างไร
เนื่องด้วยหลักสูตรในปรัชญาสาขานี้ไม่เน้นมรดกทางวัฒนธรรมและสังคมเหมือนสาขา
ก่อนๆ แต่เน้นในสภาพปัจจุบันโดยเฉพาะการมีชีวิตอยู่อย่างมีความสุขในปัจจุบันและอนาคตหรือ
มาตรฐานความดีของสังคมก็จะต้องได้รับการทดสอบและปรับปรุงเปลี่ยนไปตามสถานการณ์
การศึกษาจึงต้องส่งเสริมความสนใจของแต่ละบุคคลและความเท่าเทียม ประสบการณ์และความ
สนใจของแต่ละคน ที่จะเปลี่ยนไปตามประสบการณ์ที่ได้รับใหม่และการวิเคราะห์แล้ว
โดยเหตุนี้ หลักสูตรในแนวปรัชญานี้จึงเน้นประสบการณ์ของผู้เรียนเป็นสาคัญ
ประสบการณ์นั้นควรเป็นประสบการณ์ที่สัมพันธ์กับสังคมและเด็กได้มีส่วนโดยตรงในประสบการณ์
นั้น จึงนิยมเรียกหลักสูตรนี้ว่า เป็นหลักสูตร Child-centered Curriculum หรือ Activity-
centered Curriculum เนื้อหาเป็นส่วนประกอบหลักสูตรที่ทาให้เข้าใจตัวเอง สังคม และประเมิน
ประสบการณ์ของตัวเองให้ดีขึ้น โดยเนื้อหาที่สาขานี้ได้ให้ความสนใจมากที่สุดคือวิชาสังคมศึกษา
วิชาการสื่อความหมายเพื่อประโยชน์ในชีวิตประจาวัน (ภาษา) วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
นอกจากนี้ เนื้อหาเกี่ยวกับสภาพและปัญหาต่างๆของสังคมก็ได้รับการสนับสนุนให้จัดการสอนใน
สถาบันการศึกษาด้วย
ในด้านการจัดการเรียนการสอนตามปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยมยึดตามหลักการเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ การเรียนจึงเป็นเรื่องของการกระทา (Doing) มากกว่าความรู้ (Knowledge)
เด็กต้องมีคามกระตือรือร้นในการเรียนมากกว่าเป็นผู้รับอย่างเดียว ครูจะเป็นผู้จัดประสบการณ์
การเรียนให้กับผู้เรียนเพื่อที่จะให้ผู้เรียนได้รู้จักการแก้ปัญหาด้วยตนเองของตนเองและสังคม ดังจะ
สรุปเป็นข้อ ๆ ได้ดังนี้
1. การเรียนการสอนเน้นความสนใจและความถนัดของผู้เรียน
2. การเรียนการสอนควรเน้นให้เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน
3. ครูเป็นผู้จัดสิ่งแวดล้อมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
4. เด็กควรได้รับประสบการณ์โดยตรงในเรื่องที่ศึกษา
5. เด็กควรได้รับประสบการณ์ที่เป็นจูงใจ เช่น ใช้ภาพยนตร์ สไลด์ การเชิญวิทยากร เป็น
ต้น
6. ผู้เรียนควรได้รับความช่วยเหลือให้รู้จักวิเคราะห์ปัญหาเพื่อแก้ปัญหา วิเคราะห์ข้อมูล
ต่างๆ
7. ผู้เรียนควรรู้จักการวางโครงการ ดาเนินโครงการ วิเคราะห์และประเมินโครงการต่างๆ
ได้อย่างเหมาะสม
8. ส่งเสริมประชาธิปไตยและความร่วมมือในการเรียนการสอน
9. การเรียนควรเป็นการบวนการต่อเนื่องเกี่ยวพันกันตลอดเวลา
(สุดใจ เหล่าสุนทร, 2517 : 143)
การบริหารงานควรเป็นอย่างไร
การบริหารงานตามปรัชญาสาขานี้ถือหลักเดียวกับการสอน คือ การร่วมมือกัน โดย
โรงเรียนจะประกอบด้วยบุคคลหลายฝ่ายมาร่วมกันวางนโยบายและตัดสินปัญหาต่างๆของ
โรงเรียน และผู้บริหารจะดาเนินงานตามมติข้อตกลงของคณะกรรมการ
บทบาทของผู้บริหารจะไม่มีบงการหรือสั่งการแต่เพียงผู้เดียว ตามปรัชญานี้ถือว่าครูที่ดีจะ
รับรู้หน้าที่หรือสิ่งที่ควรทา ครูทุกคนจะมีส่วนในการแก้ปัญหาและประเมินผลกิจกรรมของโรงเรียน
ได้เต็มที่ผ่านคณะกรรมการหรือสายงานของตน
ผู้ปกครองตามปรัชญานี้ก็มีความสาคัญเช่นกัน โดยจะมีส่วนร่วมในบางกิจกรรมของ
โรงเรียนโดยเฉพาะเรื่องนโยบายและการประเมินผลการดาเนินงานของโรงเรียนเป็นหลักสาคัญ
การดาเนินนโยบายหรือการตัดสินใจในเรื่องใดของวงการศึกษาควรพิจารณาจากข้อมูล
หรือเอกสารหลักฐานที่มีอยู่ ดูผลที่จะเกิดขึ้นในปัจจุบันที่มิใช่การตัดสินโดยสามัญสานึกของ
ผู้บริหาร
โดยปกติการบริหารแนวนี้มักใช้เงินมากเพราะต้องใช้อุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ใน
ขณะเดียวกันก็ต้องใช้ครูมากเพราะจานวนผู้เรียนแต่ละชั้นก็ไม่มากเกินไป
บทบาทของโรงเรียนต่อชุมชนหรือสังคม
ตามความเชื่อของดิวอี ซึ่งเป็นผู้นาทางปรัชญาสาขานี้แล้ว การศึกษาเป็นวิธีการหลักในการ
ปฏิรูปหรือปรับปรุงสังคม แต่จะปรับปรุงหรือปฏิรูปไปในทิศทางไหน อย่างไรนั้นก่อนอื่นโรงเรียน
จะต้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับสังคมเสียก่อน ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของสังคมทางด้านวิทยา
ศาสตร์ เทคโนโลยีและวัฒนธรรม โรงเรียนไม่ควรปลีกตัวแยกออกมาจากสังคมเหมือนปรัชญากลุ่ม
อนุรักษ์นิยม เมื่อโรงเรียนเป็นส่วนหนึ่งของสังคมแล้ว โรงเรียนก็จะมีโอกาสสร้างนักเรียนใน
ลักษณะใหม่ ที่มีสติปัญญา มีความพร้อม มีความรู้จักและเข้าใจสังคมอย่างดีพอ ออกไปปรับปรุง
และพัฒนาสังคมได้
อ้างอิง :
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. ปรัชญาการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์-
มหาวิทยาลัย,2552.

More Related Content

What's hot

ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
เขมรัฐ อภิรักษ์
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
โปรตีน
โปรตีนโปรตีน
โปรตีนpannnnnn
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชWanwime Dsk
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553Krumai Kjna
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ssuserf8d051
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
Apirak Potpipit
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
สุขใจ สุขกาย
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
Ritthiporn Lekdee
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Supaluk Juntap
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
kroofon fon
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 

What's hot (20)

ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
โปรตีน
โปรตีนโปรตีน
โปรตีน
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 

Similar to แนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม

thesis 1
thesis 1thesis 1
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
KruBeeKa
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
Weerachat Martluplao
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Tong Bebow
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Tong Bebow
 
มุมมองทางจิตวิทยา 03
มุมมองทางจิตวิทยา 03มุมมองทางจิตวิทยา 03
มุมมองทางจิตวิทยา 03Poo-Chom Siriwut
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
Pitanya Candy
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Bay Phitsacha Kanjanawiwin
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
eubeve
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism

Similar to แนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม (15)

thesis 1
thesis 1thesis 1
thesis 1
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
Random 120812202117-phpapp01
Random 120812202117-phpapp01Random 120812202117-phpapp01
Random 120812202117-phpapp01
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยา 03
มุมมองทางจิตวิทยา 03มุมมองทางจิตวิทยา 03
มุมมองทางจิตวิทยา 03
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 

แนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม

  • 1. แนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) ปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม หรือ พิพัฒนนิยม Progressivism เป็นปรัชญาในกลุ่ม ปรัชญาการศึกษาแบบเสรีนิยม Liberal View ที่มีลักษณะคือ ไม่ยึดติดกับเนื้อหาที่ตายตัวและไม่ ยึดติดกับมรดกทางวัฒนธรรมมากเกินไป ปรัชญาการศึกษากลุ่มแรกของเสรีนิยม กาเนิดขึ้นเพื่อต่อต้านแนวคิดและวิธีการศึกษา แบบเดิมที่เน้นเนื้อหาแบบท่องจา ตัดขาดจากสังคม ไม่คานึงถึงความสนใจของเด็กและพัฒนาเด็ก แต่เพียงสติปัญญาเท่านั้น (Wingo, 1974 : 151) อีกส่วนหนึ่งเกิดขึ้นเพราะความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีใหม่ๆ ความนิยมใน ประชาธิปไตยและพัฒนาการใหม่ ๆ ทางจิตวิทยาการเรียนรู้ ปรัชญาของการศึกษาแนวนี้เฟื่องฟูมากในระหว่างปี 1910 ถึง 1950 หลังจากนั้นมาแม้จะ เป็นที่ยอมรับกันอยู่ แต่ก็ได้รับการโจมตีอยู่มาก ในปี 1919 มีการจัดตั้งสมาคมการศึกษาพิพัฒนา การขึ้น แต่ในปี 1938 กลุ่มนักวิชาการในสาขาสารัตถนิยมมีการประเมินและปรับปรุงตนเอง ประกอบกับปัญหาของโลกในช่วงก่อนและระหว่างสงครามโลก ทาให้คนทั่วไปหันกลับมาหาสา รัตถนิยมมากขึ้น มีผลให้การศึกษาแบบพิพัฒนาการถูกโจมตีอย่างมากในปี 1955 ทาให้ต้องล้มเลิก ไป (Mason, 1972 : 66) แต่แนวคิดและวิธีการก็ยังอยู่ แนวคิดหลักของการศึกษาแบบพิพัฒนาการนิยมก็คือ การศึกษาจะต้องพัฒนาเด็กทุกคน ไม่เฉพาะสติปัญญาเท่านั้น โรงเรียนมีความสัมพันธ์กับสังคมมากขึ้น เด็กจะต้องพร้อมที่จะไปอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข ปรับตัวได้ดี กระบวนการเรียนการสอนจึงมีความสาคัญพอ ๆ กับเนื้อเรื่อง ของปัจจุบัน มีความสาคัญกว่าอดีตหรืออนาคต โดยเหตุนี้ ปรัชญาในแนวนี้เมื่อเทียบกับปรัชญา แบบสารัตถนิยมและนิรันตรนิยมแล้วจึงมีความเสรีมากกว่า เป้าหมายของการจัดการศึกษาคืออะไร
  • 2. การศึกษาปรัชญาพิพัฒนาการนิยมนี้ ดังจะกล่าวไว้แล้วว่ากาเนิดขึ้นมาเพื่อต้านแนวคิด และวิธีการศึกษาเก่าของการศึกษาที่เน้นแต่เพียงคุณสมบัติด้านใดด้านหนึ่งเพราะคิดว่าด้านนั้น สาคัญกว่าสารัตถนิยมเน้นความสามารถทางการจาและเข้าใจ ในขณะที่นิรันตรนิยมเน้น ความสามารถทางเหตุผลทางปัญญา แต่พิพัฒนาการนิยมมองไกลกว่านั้น โดยมองว่าการศึกษา จะต้องให้การศึกษาทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม อาชีพและสติปัญญาควบคู่กันไป ความ สนใจ ความถนัด และอัตลักษณ์พิเศษของผู้เรียนควรได้รับคามสนใจและได้รับการส่งเสริมให้มาก ที่สุด สิ่งที่เรียนที่สอนควรเป็นประโยชน์สัมพันธ์สอดคล้องกับชีวิตประจาวันและสังคมของผู้เรียน ให้มากที่สุด ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตยทั้งในและนอกห้องเรียนและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รู้จัก กับตัวเองและสังคม เพื่อผู้เรียนจะได้ปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้อย่างมีความสุข ไม่ว่าสังคมจะ เปลี่ยนไปอย่างไรก็ตาม ผู้เรียนจะต้องเข้าใจและสามารถแก้ปัญหานั้นได้ ครูเป็นอย่างไร ครู ในปรัชญาแบบพิพัฒนาการนิยมนี้ทาหน้าที่คือ การเตรียม การแนะนาและให้ คาปรึกษาเป็นหลัก ครูอาจจะเป็นผู้รู้แต่ไม่ควรกาหนดกฎเกณฑ์หรือกะเกณฑ์ ให้เด็กทาตามอย่าง หรือควรเป็นผู้สนับสนุนให้เด็กได้เรียนรู้ เข้าใจ และเห็นจริงด้วยตัวเอง บทบาทของครูที่สาคัญคือต้องเป็นผู้กระตุ้น หนุน และหนีในระยะแรก ครูจะต้องให้เด็กมี ความสนใจด้วยตนเอง ได้ศึกษาเรียนรู้และใช้ศักยภาพในตนเอง เมื่อเด็กมีแรงจูงใจแล้วครูจะต้อง เป็นแรงหนุน คอยให้คาปรึกษากับผู้เรียนอยู่เสมอ เมื่อเด็กทาได้แล้ว ครูจึงควรหนีออกเพื่อให้เด็ก เรียนรู้เอง ทาเอง คอยดูแลอยู่ห่าง ๆ ลักษณะของครูตามปรัชญาสาขานี้จะต้องมีบุคลิกภาพที่ดี เห็นอกเห็นใจและเข้าใจความ แตกต่างระหว่างบุคคลของเด็ก (กิติมา ปรีดีดิลก, 2520 : 79) รู้จักคิดแปลงและปรับปรุงสภาพห้องเรียนให้เหมาะกับลักษณะของนักเรียนและกิจกรรม ครูจะต้องวางแผน ประสานงานให้เด็กสนใจและร่วมมือกันทางาน แต่ครูก็มีหน้าที่จะต้องดูแล ความเรียบร้อยอยู่เป็นระยะ
  • 3. นักเรียนที่ต้องการเป็นแบบไหน ปรัชญาสาขานี้ให้ความสาคัญกับตัวผู้เรียนเป็นอย่างมากเพราะถือว่าการเรียนรู้จะเกิดได้ดี ก็ต่อเมื่อผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงหรือการลงมือทาด้วยตนเอง ดังนั้นผู้เรียนจึงมีอิสระที่จะเลือก ตัดสินใจด้วยตนเอง มีส่วนร่วมกับกิจกรรมการเรียนการสอนและมีส่วนที่จะเลือกเนื้อหากิจกรรมที่ ตนเองสนใจได้มากขึ้น แต่ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่า นักเรียนจะเป็นผู้ร่างหลักสูตรหรือกาหนด กิจกรรมขึ้นเอง แต่เป็นการทางานร่วมกัน เพื่อให้เกิดกระบวนกรเรียนรู้ตามความต้องการของ ผู้เรียน เหมาะสมกับความถนัดและความสามารถของนักเรียนมากขึ้น บทบาทดังกล่าวเมื่อพิจารณาดูแล้วอาจจะเห็นว่าไม่เป็นการแปลกมากนัก แต่ถ้ามองย้อน ไปในสมัยปี 1950 แล้ว การให้เด็กมีส่วนร่วมถือได้ว่าเป็นเรื่องแปลกและท้าทายมาก ยิ่งในประเทศ ไทยด้วยแล้ว เป็นเรื่องที่ผิดวิสัยอยู่พอควร หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนเป็นอย่างไร เนื่องด้วยหลักสูตรในปรัชญาสาขานี้ไม่เน้นมรดกทางวัฒนธรรมและสังคมเหมือนสาขา ก่อนๆ แต่เน้นในสภาพปัจจุบันโดยเฉพาะการมีชีวิตอยู่อย่างมีความสุขในปัจจุบันและอนาคตหรือ มาตรฐานความดีของสังคมก็จะต้องได้รับการทดสอบและปรับปรุงเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ การศึกษาจึงต้องส่งเสริมความสนใจของแต่ละบุคคลและความเท่าเทียม ประสบการณ์และความ สนใจของแต่ละคน ที่จะเปลี่ยนไปตามประสบการณ์ที่ได้รับใหม่และการวิเคราะห์แล้ว โดยเหตุนี้ หลักสูตรในแนวปรัชญานี้จึงเน้นประสบการณ์ของผู้เรียนเป็นสาคัญ ประสบการณ์นั้นควรเป็นประสบการณ์ที่สัมพันธ์กับสังคมและเด็กได้มีส่วนโดยตรงในประสบการณ์ นั้น จึงนิยมเรียกหลักสูตรนี้ว่า เป็นหลักสูตร Child-centered Curriculum หรือ Activity- centered Curriculum เนื้อหาเป็นส่วนประกอบหลักสูตรที่ทาให้เข้าใจตัวเอง สังคม และประเมิน ประสบการณ์ของตัวเองให้ดีขึ้น โดยเนื้อหาที่สาขานี้ได้ให้ความสนใจมากที่สุดคือวิชาสังคมศึกษา วิชาการสื่อความหมายเพื่อประโยชน์ในชีวิตประจาวัน (ภาษา) วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
  • 4. นอกจากนี้ เนื้อหาเกี่ยวกับสภาพและปัญหาต่างๆของสังคมก็ได้รับการสนับสนุนให้จัดการสอนใน สถาบันการศึกษาด้วย ในด้านการจัดการเรียนการสอนตามปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยมยึดตามหลักการเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ การเรียนจึงเป็นเรื่องของการกระทา (Doing) มากกว่าความรู้ (Knowledge) เด็กต้องมีคามกระตือรือร้นในการเรียนมากกว่าเป็นผู้รับอย่างเดียว ครูจะเป็นผู้จัดประสบการณ์ การเรียนให้กับผู้เรียนเพื่อที่จะให้ผู้เรียนได้รู้จักการแก้ปัญหาด้วยตนเองของตนเองและสังคม ดังจะ สรุปเป็นข้อ ๆ ได้ดังนี้ 1. การเรียนการสอนเน้นความสนใจและความถนัดของผู้เรียน 2. การเรียนการสอนควรเน้นให้เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน 3. ครูเป็นผู้จัดสิ่งแวดล้อมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. เด็กควรได้รับประสบการณ์โดยตรงในเรื่องที่ศึกษา 5. เด็กควรได้รับประสบการณ์ที่เป็นจูงใจ เช่น ใช้ภาพยนตร์ สไลด์ การเชิญวิทยากร เป็น ต้น 6. ผู้เรียนควรได้รับความช่วยเหลือให้รู้จักวิเคราะห์ปัญหาเพื่อแก้ปัญหา วิเคราะห์ข้อมูล ต่างๆ 7. ผู้เรียนควรรู้จักการวางโครงการ ดาเนินโครงการ วิเคราะห์และประเมินโครงการต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 8. ส่งเสริมประชาธิปไตยและความร่วมมือในการเรียนการสอน 9. การเรียนควรเป็นการบวนการต่อเนื่องเกี่ยวพันกันตลอดเวลา (สุดใจ เหล่าสุนทร, 2517 : 143) การบริหารงานควรเป็นอย่างไร การบริหารงานตามปรัชญาสาขานี้ถือหลักเดียวกับการสอน คือ การร่วมมือกัน โดย โรงเรียนจะประกอบด้วยบุคคลหลายฝ่ายมาร่วมกันวางนโยบายและตัดสินปัญหาต่างๆของ โรงเรียน และผู้บริหารจะดาเนินงานตามมติข้อตกลงของคณะกรรมการ
  • 5. บทบาทของผู้บริหารจะไม่มีบงการหรือสั่งการแต่เพียงผู้เดียว ตามปรัชญานี้ถือว่าครูที่ดีจะ รับรู้หน้าที่หรือสิ่งที่ควรทา ครูทุกคนจะมีส่วนในการแก้ปัญหาและประเมินผลกิจกรรมของโรงเรียน ได้เต็มที่ผ่านคณะกรรมการหรือสายงานของตน ผู้ปกครองตามปรัชญานี้ก็มีความสาคัญเช่นกัน โดยจะมีส่วนร่วมในบางกิจกรรมของ โรงเรียนโดยเฉพาะเรื่องนโยบายและการประเมินผลการดาเนินงานของโรงเรียนเป็นหลักสาคัญ การดาเนินนโยบายหรือการตัดสินใจในเรื่องใดของวงการศึกษาควรพิจารณาจากข้อมูล หรือเอกสารหลักฐานที่มีอยู่ ดูผลที่จะเกิดขึ้นในปัจจุบันที่มิใช่การตัดสินโดยสามัญสานึกของ ผู้บริหาร โดยปกติการบริหารแนวนี้มักใช้เงินมากเพราะต้องใช้อุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ใน ขณะเดียวกันก็ต้องใช้ครูมากเพราะจานวนผู้เรียนแต่ละชั้นก็ไม่มากเกินไป บทบาทของโรงเรียนต่อชุมชนหรือสังคม ตามความเชื่อของดิวอี ซึ่งเป็นผู้นาทางปรัชญาสาขานี้แล้ว การศึกษาเป็นวิธีการหลักในการ ปฏิรูปหรือปรับปรุงสังคม แต่จะปรับปรุงหรือปฏิรูปไปในทิศทางไหน อย่างไรนั้นก่อนอื่นโรงเรียน จะต้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับสังคมเสียก่อน ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของสังคมทางด้านวิทยา ศาสตร์ เทคโนโลยีและวัฒนธรรม โรงเรียนไม่ควรปลีกตัวแยกออกมาจากสังคมเหมือนปรัชญากลุ่ม อนุรักษ์นิยม เมื่อโรงเรียนเป็นส่วนหนึ่งของสังคมแล้ว โรงเรียนก็จะมีโอกาสสร้างนักเรียนใน ลักษณะใหม่ ที่มีสติปัญญา มีความพร้อม มีความรู้จักและเข้าใจสังคมอย่างดีพอ ออกไปปรับปรุง และพัฒนาสังคมได้ อ้างอิง : ไพฑูรย์ สินลารัตน์. ปรัชญาการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์- มหาวิทยาลัย,2552.