SlideShare a Scribd company logo
คํานํา



       นับจากป 2545 เปนตนมา สังคมไทยไดตระหนักถึงพิษภัยของการกินหวานมากเกินไป
ซึ่งเปนผลมาจากกิจกรรมรณรงคเด็กไทยไมกินหวาน ของกลุมเครือขายเด็กไทยไมกินหวาน ที่
นับเปนความสําเร็จอยางสูงสุด นอกจากนี้กลุมเครือขายฯ ยังสามารถผลักดันงานสําคัญๆออกมา
ใหเห็นเปนรูปธรรม     ที่ไมวาจะเปนการแกไขกฎกระทรวงสาธารณสุขไมใหมีการเติมน้ําตาลใน
นมผงสูตรตอเนื่อง     หรือการรณรงคในเรื่องโรงเรียนปลอดน้ําอัดลม    หรือการจัดการในเรื่อง
สลากอาหารเตือนภัย และยังมีกิจกรรมรณรงคอื่นๆอีกมากมาย เมื่อระยะเวลาผานไป ก็ยังพบวา
การตอสูกับผลประโยชนมหาศาลของบริษัทขามชาติที่ขายเครื่องดื่มรสหวาน       หรืออาหารที่ไม
เปนมิตรกับสุขภาพเหลานี้ยังเปนเรื่องไมสิ้นสุด ตองพยายามติดตามเพทุบายในการสงเสริมการ
ขายของผลิตภัณฑเหลานี้กันอยู และตองหาทางรับมือกับสิ่งเหลานี้ใหได โดยเฉพาะการสงเสริม
การขายในโรงเรียน จากขอกังวลใจดังกลาวทําใหเครือขายเด็กไทยไมกินหวาน พยายามระดม
ความคิดจากเครือขายเพื่อหาทางแกไขสิ่งเหลานี้      กลุมพัฒนาความรวมมือทันตสาธารณสุข
ระหวางประเทศ        ในฐานะสวนเล็กๆของเครือขาย    ใครขอนําเสนอวิธีการที่เรามองวาจะเปน
ทางออกทางหนึ่งในการแกไขปญหาดังกลาว ที่มาของแนวคิดนี้มาจากขอเสนอแนะของกลุมแม
ในชนบท      การดําเนินการตามแนวคิดนี้เปนการดําเนินการดวยวิธีการที่เรียบงาย     ไมไดใช
วิชาการที่สูงสง แตเปนกระบวนการที่ละเอียดออน และตองการความใสใจและความเอาใจใส
อยางตอเนื่อง จากบานถึงโรงเรียน    เมื่อกลุมแม ชุมชน ทองถิ่นและโรงเรียนเห็นประโยชนก็
สามารถลงมือดําเนินการไดดวยตนเองโดยไมตองรอรับการสนับสนุนดานใดๆจากหนวยงานใน

                                                                                         ก
ระดับที่เหนือขึ้นไป และที่สําคัญคือไดรับการพิสูจนแลววามีความยั่งยืน และมีประสิทธิผลในการ
แกปญหาสุขภาพที่ไมวาจะเปนโรคอวน หรือโรคฟนผุในเด็ก และคาดหมายไดวาสิ่งที่แม และ
โรงเรียนรวมกันสรางใหเด็กนี้จะติดตัวเด็กไปจนโต        ทําใหเด็กเติบโตเปนผูใหญที่มีสุขภาพ
สมบูรณ



       เอกสารฉบับนี้มีความประสงคที่จะเขียนใหอานไดงายๆ อานไดทุกกลุมเปาหมาย ผูเรียบ
เรียงหวังวาเมื่อกลุมเปาหมายตางๆไดอานเอกสารนี้แลวอยางนอยที่สุดนาจะเกิดผลตางๆกัน เชน
ถาเปนพอ แม ปู ยา ตา ยาย ของ เด็กเล็กๆอาน ก็จะพบวิธีการสรางสุขนิสัยในการกินใหลูก ถา
เปนครูอานก็จะพบแนวคิด     วิธีการในการดําเนินการเพื่อสงเสริมใหเด็กไดกินดี   ในปริมาณที่
พอเหมาะ ถาเปนนักวิชาการทางดานสุขภาพ อานก็จะไดขอคิดวาอาหารเปนมากกวาพลังงาน
และสุขภาพ ถาจะสงเสริมการกินอาหารที่ดีนาจะทําอยางไรไดบาง และถาผูอานเปนผูกําหนด
นโยบาย หรือ ผูผลักดันนโยบาย ตั้งแตระดับทองถิ่นไปจนถึงระดับประเทศ ก็นาจะไดขอคิดใน
การกําหนดประเด็นนโยบายที่สําคัญในการสงเสริมสุขภาพ            และสงเสริมวัฒนธรรมที่ทําไดไม
ยาก และมีความยั่งยืน



       แนวคิด และกิจกรรมที่เสนอแนะในเอกสารฉบับนี้คืออะไร มีขอคิดตางๆอยางไรโปรด
ติดตามไดดวยตัวของทานเอง



                                     กลุมพัฒนาความรวมมือทันตสาธารณสุขระหวางประเทศ
                                                    กรมอนามัย เชียงใหม
                                                       สิงหาคม 2553




                                                                                            ข
สารบัญ


                                                                   หนา

เกริ่นนํา : บริบท                                                    1
                                                                          2
       โรคในชองปากของเด็กวัยซน วัยใส
                                                                          3
       เรียนรูจากประสบการณ
                                                                          4
       ขอมูลจากองคการอนามัยโลก
                                                                          5
       โรคในชองปาก และโรคเรื้อรังมีปจจัยเสี่ยงรวมกัน
ขอเสนอที่แตกตาง                                                    6
       ตามแกอยางไรก็ไมทัน
                                                                          7
       ความคิดในการแกไขที่เรียบงาย
                                                                          8
       ความยั่งยืนของการแกไขปญหา
                                                                          9
       ประสิทธิผลของขอเสนอนี้
                                                                          11
       พันธมิตรถูกใจ
                                                                          13
วิธีการสงเสริมที่ขอนําเสนอ                                         14
       เคล็ด(ไม)ลับในการสรางสุขนิสัยในการกินใหเด็ก                     15

       อาหารกลางวันในโรงเรียน: ที่เปนมากกวาพลังงาน และโภชนาการ          26

                                                                          32
       กระบวนการสงเสริมฯ ที่ถูกใจคนไทย
หนทางที่ไดผล ยั่งยืน และผลลัพธที่ตามมามากมาย                      39



                                                                          ค
เกริ่นนํา: บริบท

           โรคในชองปากของเด็กวัยซน วัยใส
            เพิ่มขึ้นอยางสม่ําเสมอจากป 2527 เปนตนมา ไมวาจะเนน
            เรื่องการทําความสะอาด และการใชฟลูออไรด อยางไร สภาพก็
            ไมดีขึ้น จนมาถึงป 2545 มีการรณรงคเด็กไทยไมกินหวาน
            แนวโนมของโรคจึงลดลง
           เรียนรูจากประสบการณ
            สภาพของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป แมออกไปทํางานนอกบาน
            ไมคอยมีเวลาใหลูก อาหารไมเปนประโยชนหาไดทั่วไปราคา
            ไมแพงรสชาติถูกใจเด็ก เด็กกินแตขนมไมกินขาว
           ขอมูลจากองคการอนามัยโลก
            คนกินผักผลไมนอยลง ไมออกกําลังกาย เปนเหตุใหเกิด
            โรคเรื้อรัง โดยเฉพาะในประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจต่ํา
           โรคในชองปาก และ โรคเรื้อรังมีปจจัยเสี่ยง
            รวมกัน
            การกินอาหารที่ไมสมดุลย การสูบบุหรึ่เปนสาเหตุของโรคตาง
            มากมายรวมทั้งโรคในชองปากดวย
โรคในชองปากของเด็กวัยซน วัยใส




        ตั้งแตป   2532     เปนตนมามีขอมูลบงชี้ชัดเจนวาโรคฟนผุในเด็กเล็กกําลังเพิ่มขึ้นอยาง

รวดเร็ว ดังนั้นนับจากแผนพัฒนาสาธารณสุขฉบับที่ 7 (ป 2535) เปนตนมา การแกไขปญหา

ทันตสุขภาพจึงมุงเนนในกลุมเด็กวัยกอนเรียน          โดยจัดใหเปนกลุมที่มีความสําคัญอันดับแรก         1


การดําเนินการในระยะแรกเนนในเรื่องของพฤติกรรมการเลี้ยงดู และการทําความสะอาดฟนให
เด็กโดยแม หรือผูเลี้ยงดูโดยมีการกําหนดใหมีการสอนทันตสุขศึกษาใหแกแมหรือผูเลี้ยงดูที่มา
รับบริการที่สถานบริการเปนรายๆไป และเริ่มใชฟลูออไรดทางระบบในรูปแบบของยาน้ํา ยาเม็ด
และการเติมฟลูออไรดในน้ําประปาชุมชนซึ่งเริ่มดําเนินการในป 2536 จากการประเมินผลในป
2537 พบวาการดําเนินงานตามกลวิธีดังกลาวไมสามารถหยุดยั้งการเพิ่มของโรคฟนผุในเด็กวัย
กอนเรียนได ในทางตรงขามความรุนแรงกลับเพิ่มขึ้น จึงไดมีการขยายการดําเนินงานในเรื่อง
การใชยาน้ํา และยาเม็ดฟลูออไรด การแจกแปรงสีฟนอันแรกในคลินิกเด็กดี และพยายามเพิ่ม
ความเขมขนในเรื่องการใหสุขศึกษาแก หญิงตั้งครรภ และ ผูเลี้ยงดูเด็ก แตจากการประเมินผล
ยังพบวา ไมสามารถหยุดยั้งการเพิ่มของโรคฟนผุในเด็กวัยกอนเรียนได
        จากประสบการณที่ผานมา            ทําใหมีการปรับยุทธศาสตรในการดําเนินงาน              โดยหันมา
แกไขปญหาในเรื่องการกินของเด็กอันเปนตนเหตุสําคัญของการเกิดโรคฟนผุ โดยในป 2545

1
  คณะกรรมการวางแผนพัฒนาการสาธารณสุข . แผนพัฒนาการสาธารณสุข ตามแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7
(พ.ศ. 2535-2539) โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก 2535

                                                                                                         2
ไดเริ่มดําเนินงานรณรงคเด็กไทยไมกินหวาน         ทําใหสังคมไทยตระหนักถึงภัยของการบริโภค
น้ําตาลมากเกินไป           โดยมีเปาหมายแรกของการดําเนินงานอยูที่การปรับแกกฎกระทรวง
สาธารณสุข เรื่องการหามการเติมน้ําตาลในนมผงสูตรตอเนื่องสําหรับเด็กอายุ 6 เดือน               ซึ่ง
สามารถแกไขไดสําเร็จในป 2548 ในป 2550 รอยละของเด็กที่ดื่มนมหวานลดจากรอยละ 40-
87 (ป 2545) เปนรอยละ 19 (ป 2550) นอกจากนี้เครือขายเด็กไทยไมกินหวานยังสามารถ
ผลักดันนโยบายสาธารณะเรื่องการลดการบริโภคน้ําตาลอีกหลายเรื่อง เชน การหามจําหนาย
น้ําอัดลมในโรงเรียน การติดสลากโภชนาการแสดงปริมาณน้ําตาล เปนตน จากการประเมินผล
ในป 2549- 2550 พบวา อัตราการเกิดโรคฟนผุในเด็กวัยกอนเรียน ลดลง จากรอยละ 87 ในป
2543-44 มาเปน รอยละ 80

เรียนรูจากประสบการณ
       ประสบการณจากการอาศัย และทํางาน

ในหมูบาน มาเปนระยะเวลากวา 10 ปทําให

ตระหนักวาสาเหตุของการเกิดโรคฟนผุใน
เด็กไทยเกิดมาจาก            การที่สภาพสังคมที่
เปลี่ยนแปลงไป พอ แม ตองออกไปหาเลี้ยงชีพ
ไมมีเวลาไดเลี้ยงดูใกลชิดลูก ตองฝากลูกไวกับ
ปู ยา ตา ยาย ที่อายุมาก หรือ ฝากไวกับสถาน

                                  ดูแลเด็กกลางวัน      เด็กอาศัยอยูในสิ่งแวดลอมที่เต็มไปดวย
                                  อาหารที่เปนอันตรายตอสุขภาพ หาซื้อรับประทานไดเกือบ

                                  ตลอด 24 ชั่วโมง เมื่อเด็กกินอาหารที่ไมเปนประโยชนอยู

                                  ตลอดเวลาก็เกือบไมไดกินอาหารมื้อหลัก หรือกินไดแตนอย
                                  เพราะอิ่ม ผูเลี้ยงดูก็รูสึกวาสบายดี ไมตองเสียเวลาเสียกําลัง
                                  หุงหาอาหารมื้อหลักใหเด็ก      เพราะเด็กตองกินอาหารที่ตาง
                                  จากอาหารรสเผ็ดของผูใหญ เพียงซื้อของจุบจิบใหกินเด็กก็
                                  อิ่มแลว ถากลัววาจะไดรับอาหารที่เปนประโยชนไมเพียงพอ
                                  ก็เพียงแตซื้อนมใหดื่มก็เพียงพอแลว (เชื่อตามการโฆษณา
                                  รณรงคที่มีกันอยูทั่วไป) นิสัยการกินเชนนี้ก็จะติดตัวเด็กไป
จนโต คือเปนคนกินอาหารยาก เลือกกินแตของทอดๆ หวานๆ เค็มๆ มันๆ นอกจากจะมีผลกับ
สุขภาพชองปากแลว ยังจะมีผลตอสุขภาพอื่นๆโดยรวมดวย ปญหาเรื่องนิสัยในการกินของเด็กนี้
                                                                                                3
นับวันจะเพิ่มมากขึ้น เพราะสังคมยังละเลย และยังไมตระหนักถึงผลเสียที่จะตามมามากมายใน
อนาคต

ขอมูลจากองคการอนามัยโลก
          องคการอนามัยโลกบอกวา               โรคเรื้อรัง
ตางๆ อันไดแก โรคหัวใจ เบาหวาน โรคอวน
มะเร็งบางชนิด         โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง         เปน
สาเหตุสําคัญของการเสียชีวิตของประชากรโลก

ดังเชนในป 2005 การเสียชีวิตของคนถึง 35 ลาน

คน จากการเสียชีวิตทั้งหมด 58 ลานคน หรือรอย

ละ 60 ของการเสียชีวิตทั้งหมด มีสาเหตุมาจาก
โรคเรื้อรังเหลานี้ และองคการอนามัยโลกยังแถลง
ตออีกวา รอยละ 80 ของคนที่เสียชีวิตดวยโรค เหลานี้ เกิดขึ้นในประเทศที่มีรายไดต่ําถึงรายได
ปานกลาง แมวามาตรการการปองกันโรคหัวใจ ภาวะสมองขาดเลือด เบาหวานประเภทที่สอง
และ รอยละ 40 ของมะเร็ง จะเปนมาตรการที่มีราคาถูกและ เปนมาตรการที่มีประสิทธิผลเปน

อยางดี 2
          การรับประทานอาหารที่ไมสมดุล และขาดการเคลื่อนไหวของรางกาย เปนความเสี่ยงที่
สําคัญของการเกิดโรคเหลานี้ มีหลักฐานทางวิทยาศาสตรที่บงชี้แนชัดวา การไดรับอาหารที่ดี

และ มีการเคลื่อนไหวรางกายอยางสม่ําเสมอ จะชวยปองกันโรคเรื้อรังเหลานี้ได.3 ผัก และผลไม

เปนอาหารสุขภาพที่สําคัญ              ถารับประทานใหเพียงพอจะชวยปองกันการเกิดโรคเรื้อรังอยาง
ไดผล ในป 2002 องคการอนามัยโลกรายงานวา ประมาณรอยละ 31ของคนที่เปนโรคหัวใจ
ขาดเลือด และ รอยละ 11 ของ คนที่เกิดภาวะสมองขาดเลือด ทั่วโลกเกิดจาก การรับประทานผัก
และผลไมไมเพียงพอ และยังไดประมาณตอไปอีกวา ถาประชากรรับประทานผักและผลไมอยาง
เพียงพอจะสามารถยืดชีวิตของคนไวไดถึงปละ 2.7 ลานคน จากสถิติเหลานี้เปนเครื่องยืนยันถึง
ขอมูลสําคัญที่รูกันมานานเกี่ยวกับประโยชนของผัก และผลไม วาเปนแหลง สําคัญ ของใย
อาหาร โปรตีนจากพืช และ แรธาตุตางๆ องคการอนามัยโลก รวมกับองคการอาหารและเกษตร
แหงสหประชาชาติแนะนําวาประชาชนควรรับประทานผัก และผลไมใหไดวันละ 400 กรัม(ไม

2
    Preventing Chronic Diseases: a Vital Investment: Geneva, World Health Organization, 2005
3
 Diet, Nutrition and the Prevention of Chronic Diseases. Report of a Joint WHO/ FAO Expert Consultation.
Geneva, World Health Organization, 2003 (WHO Technical Report Series, No. 916).
                                                                                                           4
รวมเผือก มัน ที่เปนแปง) จะสามารถปองกันโรคเรื้อรังตางๆได และยังลดการเกิดโรคตางๆที่เกิด
จากการขาดแรธาตุตางๆ โดยเฉพาะ ในประเทศที่กําลังพัฒนา

โรคในชองปาก และ โรคเรื้อรังมีปจจัยเสี่ยงรวมกัน




       Sheiham & Watt, 2000


       บทความจากวารสาร”สรางสุข” ปที่7 ฉบับที่ 105 มิถุนายน 2553 ไดอางไวดังนี้

“โรคหัวใจและหลอดเลือด ถือเปน 1 ใน 3 สาเหตุหลักการปวย และตายของคนไทย ในรอบ 5 ป

ที่ผานมามีจํานวนผูปวยที่เขารักษาตัวในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นถึง 3-17 เทาตัว ปจจัยสําคัญที่
เสี่ยงตอการเปนโรคหัวใจและหลอดเลือด ก็คือความอวน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และ
การมีไขมันในเลือด ในแตละวันของป 2548 มีคนไทยตายจากความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ

โรคเบาหวานประมาณ 121 คนตอวัน และจากหลอดเลือดในสมอง 82 คนตอวัน”

       จากภาพแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางปจจัยเสี่ยงตางๆของโรคเรื้อรัง และปจจัย
เสี่ยงของโรคในชองปากที่สําคัญไดแก โรคฟนผุ และโรคปริทันต ดังนั้นเมื่อควบคุมเรื่องการ
บริโภคอาหารใหเหมาะสม นอกจากจะเปนการปองกันโรคฟนผุแลวยังสามารถปองกันโรคเรื้อรัง
อื่นๆไดอีกดวย การสรางสุขนิสัยในการกินที่ดีตั้งแตวัยเด็ก สุขนิสัยนี้จะติดตัวไปอยางถาวรทํา
ใหเติบโตเปนผูใหญที่มีสุขภาพดี


                                                                                           5
ขอเสนอที่แตกตาง

            ตามแกอยางไรก็ไมทัน
             การลดการบริโภคน้ําตาลมีผลในการลดโรคฟนผุ แตการ
             รณรงค ใหงดน้ําตาลมีแรงตานจากผูผลิตอาหารที่ใสน้ําตาล
             อยางมาก อาหารที่ใสน้ําตาลมีผลประโยชนในการขายมหาศาล
             การหามาตรการมาตอสูทําไดยากมาก โดยเฉพาะคนในชนบท
            ความคิดในการแกไขที่เรียบงายและยั่งยืน
             แมทั้งหลายตางบอกเปนเสียงเดียวกันวา เด็กกินอาหารที่ไม
             มีประโยชนเพราะเขาหิว และอาหารเหลานี้หาไดงาย สีสันสวย
             รสชาติอรอย ถาเด็กไดกินอิ่มในสิ่งที่ควรกิน จะลดการกิน
             อาหารที่ไมมีประโยชนลงไดมาก
            ประสิทธิผลของขอเสนอนี้
             จากงานวิจัยการสงเสริมการกินมื้อหลัก พบวาสามารถลด
             ปริมาณของการกินน้ําตาลลงได มีการบริโภคผัก ผลไม
             เพิ่มขึ้น และในระยะยาว ยังสามารถลดโรคตางที่เกิดจากการ
             กินที่ไมถูกนี้ลงได
            พันธมิตรถูกใจ
              ขอเสนอในการดําเนินการตามมาตรการเชิงบวก ทําใหเกิด
              พันธมิตรในการรวมมือทํางานเพิ่มขึ้น




                                                                         6
ตามแกอยางไรก็ตามไมทัน
       เมื่อมีหลักฐานเชิงประจักษวาวิธีการในการลดการบริโภคนาตาลมีผลตอการลดโรคตางๆ
ลงโดยเฉพาะโรคฟนผุในเด็ก พันธมิตรที่รวมกันดําเนินงานในเรื่องนี้ก็พยายามหาวิธีการมาตอสู
กับความหวานทุกกระบวนทา ไมวาจะเปนเรื่องขนม ของขบเคี้ยว น้ําอัดลม แตตองไมลืมวาสิ่ง
เหลานี้ มีผลประโยชนมูลคามหาศาล ผูจําหนายจะตองหาวิธีการทางการตลาดมากมาย มาสราง
ภาพใหผูปกครอง       และเด็กๆเห็นวาสิ่งเหลานี้นอกจากไมเปนโทษแลว       ยังมีประโยชนชวน
รับประทานอีกดวย ไมวาเราจะศึกษากลวิธีทางการตลาด ของเขาอยางไร รณรงคใหคนรูเทาทัน
อยางไร เราก็ยังเปนฝายตั้งรับที่ชากวาเขาอยูกาวหนึ่งเสมอ นับวันก็จะมีสินคาใหมๆเกิดขึ้นมา
และเขาจะคิดวิธีการใหมๆมาแกเกมสเราไดเสมอ




ภาพตอไปนี้เปนตัวอยางอันนอยนิดของผูตกเปนเหยื่อของคําโฆษณา




                                                                                             7
ความคิดในการแกไขปญหาที่เรียบงาย
          คําบอกเลาจากการนําเสนอของแกนนําสตรีจังหวัดศรีษะเกษ 4 ที่ประสบความสําเร็จจาก
การรวมพลัง ในการแกไขปญหาโรคฟนผุในเด็กวัยกอนเรียน เลาวาคนในพื้นที่มีฐานะยากจน
ใหเงินลูกไปโรงเรียนวันละบาท กลางวันเงินบาทเดียวซื้ออาหารไมได เด็กเอาเงิน 1 บาทไปซื้อ
ลูกอม อมประทังหิว ทําทุกวันๆ เด็กๆฟนผุกันหมดกินอะไรก็ไมได ไมโต ตัวผอมเล็กนิดเดียว
ปลอยไวไมได          เงินบาทเดียวของแตละคนทําอะไรไดเยอะถากลุมผูหญิงชวยกัน                                เอาเงินมา
รวมกัน ทําอาหารกลางวันใหเด็ก ใครมีผักอะไรที่บานก็เอามาชวยกันทําอาหารกลางวันใหเด็ก
กิน เมื่อเด็กๆไดกินอิ่มก็ไมหันไปกินลูกอมอีก สุขภาพก็ดีขึ้นเจริญเติบโตดี เด็กรุนใหมๆฟนก็ไมผุ
อีกแลว จากความเห็นของกลุมแกนนําสตรีที่ศรีสะเกษ และการดําเนินงานที่ไดผลในการแกไข
ปญหา       เมื่อเราไดนําปญหาเหลานี้ไปปรึกษากับกลุมแมในชุมชนที่เด็กกินขนมถุงๆ                                 ของเหลว
หวาน และอาหารที่ไมเปนประโยชนอื่นๆ จนมีผลกับสุขภาพ วาทําไมเด็กจึงกินสิ่งเหลานี้ แมสวน




4
   จากการบรรยายของแกนนําสตรีในการประชุมเวทีวิชาการปฏิรูประบบสุขภาพไทยครั้งที่ 2 เรื่อง”กระจายอํานาจกับอนาคตสุขภาพไทย” เวที
วิชาการยอย หัวขอ “ สุขภาพดีดวยวิถีชุมชน แกะรอยกรณีทันตสุขภาพ” วันที่ 25 มกราคม 2544
                                                                                                                             8
ใหญตอบวาเพราะเด็กหิว และสิ่งเหลานี้หาไดงาย มีรสชาติสีสันถูกใจเด็ก ถาทําใหเด็กไมหิว คือ
กินอาหารในมื้อหลักไดอิ่ม เปนเวลา ก็จะลดการกินอาหารพวกนี้ลงไดมาก
       จากความคิดในการแกไขปญหาที่เรียบงายของกลุมแมนี้ เปนที่มาทําใหเรานําแนวคิดไป
ดําเนินการวิจัย โดยการสงเสริมการกินมื้อหลักที่ประกอบดวยผักสด และผลไม ใหกับเด็กๆ โดย
การรวมมือกันดําเนินการของชุมชนในหลายพื้นที่ พบวาประสบผลสําเร็จในการลดโรคฟนผุใน
เด็กเล็กลงอยางไดผล และยังพบวาเปนวิธีการที่ประหยัด เรียบงาย ไมตองใชเทคโนโลยีใดๆ
ประชาชนดําเนินการไดเอง เขากับวิถีชีวิตของชุมชน วางอยูบนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเองไม
ตองพึงพิงบุคลการภาครัฐ




ความยั่งยืนของการแกไขปญหา
       ถาลองมามองยอนกลับไปในอดีต วาเรื่องอาหารที่เปนอันตรายตอสุขภาพนี้แทรกซึมเขา
มาในสังคมไทยไดอยางไร โดยยอนกลับไปดูการสรางภาพลักษณของสินคาเหลานี้ จะเห็นวา
สินคาที่ไมมีประโยชนเหลานี้   ไดพยายามสรางภาพลักษณของตนเองมาเปนเวลานานประมาณ
สามชั่วอายุคนแลว ตอไปนี้เปนตัวอยางการสรางภาพลักษณของสินคาที่เปนอันตรายตอสุขภาพ




                                                                                            9
สินคาบางอยาง มีการสราง
                                                                ภาพลักษณมานานจนสังคม
                                                                เองก็สับสนไมแนใจวาเปน
                                                                สินคาที่มีประโยชน หรือ มี
                                                                โทษตอสุขภาพกันแน
                                                                ปจจุบัน การจะนําสินคา
                                                                ใหมๆมาวางตลาด ตองมีการ
                                                                วิจัยการตลาดอยางถี่ถวนวา
                                                                จะสรางภาพใหแกสินคา
                                                                เหลานั้นอยางไร และจะมีวิธี
โฆษณา และสงเสริมการขายอยางไรจึงจะติดตลาด แมจะพยายามสูกับสิ่งเหลานี้อยางไร ผูขาย
ก็พยายามหาวิธีการใหมๆ                                      โปรดสังเกตภาพโฆษณาเกาๆ เหลานี้
มาเสนออยูตลอดเวลา วิธี                                     วาผูขายไดพยายามสรางภาพลักษณ
จะนํามาตอสูกับการตลาด                                     ของสินคาตางๆมาเปนเวลายาวนาน
เหลานี้ได จะตองเปน                                      นับแตเริ่มนําสินคาออกวางจําหนาย
วิธีการที่มีประสิทธิผล และ
ยั่งยืน ประเทศไทยมีจุด
แข็งเรื่องวัฒนธรรมใน
การกิน อาหารไทยมี
ชื่อเสียงไปทั่วโลกในแง
ของรสชาติ การจัดแตง
อาหารใหสวยงาม และ
ความเปนอาหารสุขภาพ
การสงเสริมใหเด็กหันมา
กินมื้อหลักที่อุดมดวยผัก
ผลไม นาจะเปนกลวิธีใน
การตอสูกับการตลาดได
อยางยั่งยืนวิธีหนึ่งที่เปนวิธีที่นุมนวล และหลีกเลี่ยงความขัดแยงกับผลประโยชนมหาศาลของ
บริษัทขามชาติตางๆ


                                                                                            10
ประสิทธิผลของขอเสนอนี้
              การศึกษาของ พัชรินทร เล็กสวัสดิ์ (2545) เรื่อง ประสิทธิผลของการประยุกตการสราง

เสริมพลังชุมชนในโครงการสงเสริมทันตสุขภาพ เด็กวัยกอนเรียน จังหวัดลําปาง                                               โดยชุมชน
ดําเนินการควบคุมดูแลคุณภาพอาหารกลางวัน ฝกเด็กรับประทานผัก ผลไมมากขึ้น พรอมทั้งมี
การสนับสนุน และระดมทรัพยากรภายในหมูบาน การประเมินผลเมื่อมีการดําเนินการในชุมชน
มา 8 ป พบวา เปนงานที่ยั่งยืนในชุมชน ชุมชนดําเนินการไดเอง และมีประสิทธิผลในการลดโรค

ฟนผุลงได กลาวคือ เด็กอายุ 2 ป มีฟนผุลดลงจากรอยละ 55.8 มาเปนรอยละ 25.0 เด็กอายุ 3

ป มีฟนผุลดลงจากรอยละ 75.9 มาเปนรอยละ 60.5 เมื่อเปรียบเทียบระหวาง พ.ศ. 2542 และ

2549 มีคาเฉลี่ยฟนผุ ถอน อุด เฉลี่ยตอคน ลดลงจาก 4.38 มาเปน 3 ซี่ตอคน5

              จากการประเมินผลกระทบตอทันตสุขภาพในระยะเวลาเพียง 1 ป หลังการดําเนินการ

โครงการศึกษาวิจัย "การแกไขปญหาทันตสุขภาพเด็กกอนวัยเรียนโดยกลมุแกนนําสตรี"ซึ่งเปน

โครงการที่ใหการสงเสริมการรับประทานผักผลไมเชนกัน พบวา แผนคราบจุลินทรีย(วัดดวยดัช

นี OHI) และอัตราเพิ่มของฟนผุ (วัดดวยดัชนี dmfs) ในกลุม เปาหมายลดลงอยาง มีนัยสําคัญ

ทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุมทดลอง โดยเฉพาะในเด็กกลุมอายุ 1-3 ป สามารถลดอัตราเพิ่มของ

dmfs ลงไดถึงรอยละ 47.16

              สวนการวิจัย         เรื่อง     "โครงการพัฒนารูปแบบการสงเสริมสุขภาพชองปากเด็กวัยกอน

เรียน”7 ซึ่งดําเนินการในเด็กกลุมอายุ 1-3 ป โดยการสงเสริมการกินอาหารมื้อหลักใหพอเพียง

เหมาะสมโดยเนนการรับประทานผัก                          และผลไม          เพื่อใหเด็กไดรับพลังงาน             และสารอาหารที่
ครบถวน พอเพียง พบวา หลังดําเนินงานโครงการในพื้นที่ 18 ดือน จะเห็นถึงพฤติกรรมในการ

กินที่เปลี่ยนแปลงไปของกลุมทดลอง กลาวคือ เด็กกินอาหารประเภทผัก ผลไม เพิ่มขึ้น ทั้ง

5
    พัชรินทร เล็กสวัสดิ์ และคณะ กระบวนการพัฒนาเครือขายพันธมิตรสงเสริมสุขภาพเด็กวัยกอนเรียน ว.ทันต สธ ปที่ 12 ฉบับที่ 1หนา 7-25
    2550
6
    ศรีสุดา ลีละศิธร วิกุล วิสาลเสสถ สุรัตน มงคลชัยอรัญญา วิไลลักษณ บังเกิดสิงห แล ะพวงทอง ผูกฤตยาคามี การประเมินผลโครงการแก
    ปญหาทันตสุขภาพเด็กวัยกอนเรียน โดยกลุมแกนนําสตรีอําเภอกันทรารมย จังหวัดศรีสะเกษ เอกสารโรเนียว 2545
7
    Lekswat, P. et al. The Development of a Model for Oral Health Promotion in Preschool Children. Intercountry Centre for Oral

    Health,   2004.
                                                                                                                                   11
ปริมาณ และ ความถี่ และกินอาหารที่ไมมีประโยชน พวกอาหารหวาน ขนมถุง และของเหลว
หวาน ลดลง ในแงของปริมาณ ความถี่ และ จํานวนเงินที่ใชซื้ออาหารที่ไมมีประโยชนพวกนี้
ในขณะที่กลุมควบคุมพบวา                                  เมื่อเวลาผานไปจะรับประทานอาหารที่ไมมีประโยชนเพิ่มขึ้น
นอกจากนี้ยังพบวา ในกลุมทดลอง มีจํานวนเด็กอวนลดลง กลาวคือการสงเสริมการกินผักผลไม
ชวยใหเด็กที่เคยอวนกลับมามีรางกายที่สมสวน ในขณะที่กลุมควบคุม มีอัตราเด็กอวนเพิ่มขึ้น

             ผลจากการประเมิน 8 โครงการเด็กกินอิ่ม เรายิ้มได ที่ดําเนินการที่จังหวัดศรีสะเกษ

พบวาการสงเสริม                เรื่องการกินอาหารกลางวันที่สงเสริมการกินผักผลไมใหกับเด็ก                                        สามารถ
แกปญหาไดทั้ง ปญหาเด็กน้ําหนักต่ํากวาเกณฑ และเด็กอวน ดังแสดงในกราฟ


                                ความชุกของภาวะอวน และ น้ําหนักเกิน (weight for length)
                                ของเด็กนักเรียนจังหวัดศรีสะเกษ ป 2545-2550

                                 รอยละ      10                                                                    คา ของประเทศ


                                              8

                                              6
                                                               4.29       3.9
                                              4                                                  3.09
                                                                                                           2.64
                                                                                       1.63
                                              2

                                              0
                                                   2545      2546       2547       2548       2549         2550          ป
                                                  ที่มา: สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ




                                  ความชุกของภาวะน้ําหนักต่ํากวาเกณฑ (weight for age) ของเด็ก
                                  นักเรียนจังหวัดศรีสะเกษ ป 2545-2550

                                   รอ ยละ   20 19.64

                                                            14.7
                                             15
                                                                      11.91
                                                                                 8.42                         คาของประเทศ
                                             10
                                                                                                    6.38
                                             5

                                             0                                                                      ป
                                                  2545     2546       2547      2548      2549     2550
                                                   ที่มา: สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ




8
    สุทธิลักษณ สมิตะสิริ นําเสนอ ในการประชุม Formulation Regional Oral Health Strategy ตุลาคม 2551

                                                                                                                                       12
นอกจากนี้ผลการวิจัยทุกเรื่องบงชี้วาการสงเสริมใหเด็กไดรับประทานอาหารมื้อหลักที่
ครบถวน พอเพียง ยังชวยใหเด็กมีการเจริญเติบโตที่เหมาะสม และมีพัฒนาการเต็มศักยภาพตาม
วัยอีกดวย

พันธมิตรถูกใจ
       เมื่อเราพบวามาตรการในการสงเสริมอาหารมื้อหลักใหแกเด็กจะชวยใหเด็กรับประทาน
อาหารที่ไมมีประโยชนลดลงดังนี้แลว เราก็นําเรื่องนี้ไปบอกเลากับครู พี่เลี้ยงเด็ก ผูแทนจาก
องคการบริการสวนทองถิ่น และผูปกครองที่เปนพันธมิตรในการตอสูกับอาหารที่ไมมีประโยชน

ของเด็กในการประชุม       “การสงเสริมสุขภาพชองปากและพัฒนาการของเด็กปฐมวัยและเด็กวัย

เรียนชวงตน จ.เชียงใหม” ปรากฏวาเปนที่ถูกใจของพันธมิตรมาก เพราะเขาเห็นวามาตรการ

การสงเสริม อาหารที่เปนประโยชน อันเปนมาตรการเชิงบวกที่ทําไดงาย ไดใชความคิดริเริ่ม ที่
ดีๆ   ทาทายความสามารถ        นอกจากนี้การสงเสริมการรับประทานที่มีประโยชนยังทําใหขยาย
ประเด็นในเรื่องสุขภาพ จากสุขภาพในชองปากออกไปสูเรื่องการปองกันโรคไรเชื้อที่กําลังเปน
ปญหาสุขภาพที่เริ่มคุกคามประชาชนเปนจํานวนมากอยูในปจจุบัน                ทําใหหาพันธมิตรที่มา
รวมกันดําเนินงานไดงาย ซึ่งนาจะสงผลใหเกิดความสําเร็จไดอยางยั่งยืน




             จากเหตุผลที่กลาวมาทั้งหมดนี้ทําใหเกิดแนวทาง
                  สงเสริม วัยซน วันใส ใสใจมื้อหลัก




                                                                                             13
วิธีการสงเสริม ที่ขอนําเสนอ

            เคล็ด(ไม)ลับในการสรางสุขนินับการกินใหเด็ก
             การสรางคานิยมในการรับประทาน ดวยเทคนิคในการสงเสริม
             การปลูกผัก การใหเด็กชวยประกอบอาหาร และการสรางวินัย
             ในการรับประทานอยางตอเนื่อง ชวยสรางสุขนิสัยในการกินให
             เกิดขึ้นได นอกจากนี้ การจัดสภาพแวดลอมที่เหมาะสมยัง
             เปนปจจัยสําคัญตอความสําเร็จอีกดวย
            อาหารกลางวันในโรงเรียน ที่เปนมากกวา
             พลังงาน และโภชนาการ
             เบื้องหลังอาหารกลางวันในโรงเรียน ที่รัฐบาลของประเทศที่
             พัฒนาแลวทุมทุนมหาศาลใหแกเด็กๆมีอะไรซอนอยูมากมาย
             นาคนหา
            กระบวนการสงเสริมมื้อหลักที่ถูกใจชาวไทย
             ดวยความเอาใจใส และใสใจของของครู ผูปกครอง องคการ
             บริหารสวนทองถิ่น ตลอดจนชุมชน ที่ใหความสําคัญตอ
             สุขภาพอนามัย และ การเจริญเติบโตของเด็ก ไดชวยกัน
             ดําเนินงานสงเสริมมื้อหลัก ภายใตขอจํากัดมากมายของ
             ประเทศไทย เปนเสมือนแสงสองทางในการดําเนินงานที่ลวน
             ทาทายความสามารถ



                                                                         14
กระบวนการที่ไดมาของขอมูลทีนํามาเสนอในหนังสือเลมนี้ ประกอบดวยขั้นตอนดังตอไปนี้

   1. เรียบเรียงขอมูลจากการศึกษาที่เกี่ยวของที่มีอยูแลว ทั้งในประเทศ และตางประเทศ

   2. นําขอมูลที่หาได พรอม แนวคิด”สงเสริมวัยซน วัยใส ใสใจมื้อหลัก” และ ประสิทธิผลใน

       การแกไขปญหาสุขภาพ เสนอแกกลุมเปาหมาย อันไดแก พอ แม ครู พี่เลี้ยง และ
       ผูรับผิดชอบเด็กวัยกอนเรียน ขององคการบริหารสวนทองถิ่น

   3. ขอรับทราบความคิดเห็น เกี่ยวกับขอมูลที่นําเสนอ ประสบการณที่เคยสงเสริมการกินมื้อ
       หลักของเด็ก และแนวทางที่คิดวาจะปฏิบัติตอไป

   4. นําขอมูลที่ไดมาคัดเลือก กรณีที่สําเร็จ และผูอื่นอาจนําไปปฏิบัติตอได นํามาเรียบเรียงให
       เหมาะสม



ขอมูลที่ไดจากตางประเทศ:
เคล็ด(ไม)ลับในการสรางสุขนิสัยการกินใหเด็ก
การสรางคานิยมในการรับประทาน
       การสงเสริมการปลูกผัก อาจเริ่มจากที่บาน ประสบการณจากครอบครัวหนึ่งเลาวา
“ครอบครัวเรามีลูก 3 คน อายุ 5 ขวบ 3 ขวบ และขวบครึ่ง เราสอน

ใหเขารูวาอาหารที่ดีตอสุขภาพเปนอยางไร    เด็กๆจะคอยๆซึมซับ
และบางครั้งก็ไดยินเขาคุยกันวากินแอปเปลแลวจะทําใหแข็งแรง
เราจะปลุกอะไรที่กินไดทุกป ไมจําเปนตองใชที่มากมาย ปนี้เรา
ปลูกมะเขือเทศหลายๆพันธุ ปที่แลวเราปลูกฟกทอง สิ่งเหลานี้จะ
ชวยสอนเด็กใหรูจักการปลูกพืชผักและยังไดลิ้มลองผักสดๆที่ปลูก
เองดวย




                                                                                              15
การสงเสริมใหเด็กปรุงอาหาร โรงเรียนควรมีชั่วโมงสอนการทําอาหารในเวลาหรือ
นอกเวลาเรียน หรือพอแมอาจสอนเด็กที่บานโดยเริ่มจากการทําอาหารงายๆที่ไมตองใชทักษะ
มากมาย เด็กเล็กอาจมีสวนในการลางผักผลไมหรือตวงวัดอาหารบางอยาง เด็กโตขึ้นมาอาจ
ชวยหั่นผัก ฯลฯ การเรียนรูวิธีทําอาหารจะใหประโยชนคือ

   1. ชวยใหเด็กมีความรูในการเลือกวัตถุดิบ และเรียนรูสวนประกอบของอาหารวาชนิดใดมี
       ประโยชนตอสุขภาพ เพื่อใหหางไกลจากอาหารสําเร็จรูปหรืออาหารจานดวนที่มีน้ําตาล
       ไขมันและเกลือในปริมาณสูง

   2. สรางความสัมพันธใน
       ครอบครัว ขณะปรุงอาหาร
       ดวยกันเด็กจะมีความรูสึก
       เหมือนตัวเองเติบโตเปน
       ผูใหญเกินอายุเพราะไดรับ
       การไววางใจในทํากิจกรรมที่
       สําคัญในครอบครัว สงผลให
       เด็กมีความรับผิดชอบมากขึ้น
       นอกจากนี้ยังชวยใหเด็กเกิด
       ความผอนคลาย กลาพูดกลาเลาประสบการณตางๆขณะอยูใกลชิดกัน

   3. ทํา ให เด็ก ภูม ิใจในตั วเอง เมื่อพูด ได เต็มปากเต็ ม คํา วาทําอาหารชนิดนี้ ดว ยตัวเอง หรื อ
       เมื่อไดรับคําชมเชยวาอรอย

   4. ทํา ใหเด็กยอมลิ้มลองอาหารชนิดใหม ๆง ายขึ้น เด็ กที่ทํา อาหารดวยตั วเองมักจะยอมกิน
       หรืออยางนอยลองชิมสิ่งที่ตัวเองปรุง แมวาครั้งแรกๆอาจกินไม หมดหรือไมยอมลองเลย
       โดยเฉพาะผักและผลไมบางชนิด

   5. การ ปรุ งอาหารช ว ยให เ ด็ ก เรี ย นรู ทัก ษะด า นคณิ ต ศาสตร เช น ½ ถ ว ยจะมี ป ริ ม าณ

       มากกวา ¼ ถวย หรือ ถาดขนาด 13 x 9 เปนอยางไร ฯลฯ

   6. การอ านคูม ือปรุงอาหารเปนวิ ธี หัดอ านหนั งสือที่ ดีที่สุ ด เพราะถ าปฏิบั ติต ามขั้ นตอนได
       ถูกตองอาหารมักออกมาดี ทําใหเด็กเรียนรูความสําคัญของการอานหนังสือ




                                                                                                   16
7. สวนหนึ่งของการปรุงอาหารคือการซื้อวัตถุดิบ เด็กไดเรียนรูแหลงที่ม าของอาหาร เชน
      พิซซาไมจําเปนตองซื้อจากรานขายฟาสตฟูด หรือซอสสปาเกตตีก็สามารถทําเองไดโดย
      ไมตองซื้อชนิดบรรจุกระปอง

   8. การปรุงอาหารชวยใหเด็กเรียนรูวัฒนธรรมการกินของชนชาติอื่นๆ




      การสรางวินัยในการกิน
             ทําไมเด็กชอบหรือไมชอบกินอาหารบางอยาง       พฤติกรรมการกินของเด็กขึ้นกับ

หลายปจจัย – กรรมพันธุอาจมีสวนบางเล็กนอย แตปจจัยสวนใหญเกิดจาก พอแมและคนใน

ครอบครัว ความสัมพันธในสังคม เพื่อนบาน ชุมชน และโรงเรียน และอีกดานหนึ่งที่สงผลกระทบ
ในวงกวางก็คือ วัฒนธรรมการกิน ภาวะเศรษฐกิจ และอิทธิพลของการตลาด

               พอแม:   เปนคนแรกที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการกินของเด็ก    พันธุกรรมและ

สรีรศาสตรมีสวนกําหนดคุณลักษณะเฉพาะบางอยาง เชน ความสามารถที่จะบอกวาตัวเองหิว
อยากอาหาร หรืออิ่มแลว หรือการรับสัมผัสตางๆ เชน กลิ่น ความนากิน และรสชาติของอาหาร
      การที่เด็กจะชอบหรือเกลียดรสชาติอาหารชนิดใดมาแตกําเนิดพบไดนอยมาก เทาที่พบ
คือ ไมสามารถทนรสขมได ทําใหเด็กไมชอบกินผักขมๆ เชน บรอคโคลี่ หรือชอบรสหวานหรือ
อาหารมันๆมาก




                                                                                     17
โดยธรรมชาติเด็กมักชอบ
                                                       อาหารรสหวาน มัน เค็ม แตไมชอบรส
                                                       ขมหรือรสจัดจาน ไมคอยกลาลอง
                                                       อาหารแปลกๆใหมๆ เด็กสวนใหญจะมี
                                                       พฤติกรรมลักษณะนี้ไปจนถึงวัยผูใหญ
                                                       ถาพอแมสนองตอบโดยยอมใหเด็กกิน
                                                       แตอาหารที่ชอบ ก็จะบมเพาะนิสัยให
                                                       เด็กติดการกินอาหารที่ไมดีตอสุขภาพ
                                                               มีงานวิจัยที่พบวาอิทธิพลจาก
                                                       สิ่งแวดลอมและดานจิตใจสามารถ
                                                       ปรับเปลี่ยนลักษณะตามธรรมชาติของ
                                                       เด็กได พอแมตองใจแข็งไมตามใจเด็ก
และใหเด็กมีโอกาสสัมผัสอาหารที่มีประโยชนตอสุขภาพบอยๆ งานวิจัยดานโภชนาการชี้วา
การสัมผัสอาหารซ้ําๆจะชวยเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็ก ชวยใหเด็กลดอาหารหวานได งานวิจัย
ชิ้นลาพบวา ทารกในครรภที่คุนเคยกับรสชาติอาหารที่แมกินผานทางรกระหวางตั้งครรภจะ
พัฒนาความชอบอาหารรสนั้นๆหลังคลอด ดังนั้นการจะถายทอดความชอบรสชาติใดๆจึง
สามารถทําไดดีที่สุดระหวางตั้งครรภ ซึ่งสามารถควบคุมพฤติกรรมการกินของเด็กไดเต็มรอย
ผูหญิงตั้งครรภจึงควรเลือกกินอาหารที่มีประโยชนตอสุขภาพ
       ความชอบหรือไมชอบในวัยเด็กจะกลายเปนนิสัยติดตัวเด็กตั้งแตอายุ 2 ขวบ ชวง 5 ป
จากนี้อาจเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็กไดบางเล็กนอย พบวา สามารถคาดเดาอาหารที่เด็กวัย 8
ขวบชอบกินจากอาหารที่เขาชอบเมื่ออายุ        4    ขวบซึ่งสวนใหญชอบที่จะกินอาหารที่พอแมไม
อยากใหกิน หลังจาก 2 ขวบไปแลวอิทธิพลจากภายนอกจะเริ่มเขามามีบทบาท จะเห็นวา การจะ

ปรับเปลี่ยนนิสัยการกินของเด็กนั้นมีชวงเวลาเพียง ‘นอยนิด’เทานั้น

       ในขวบปแรก ชวงเวลาใหอาหารเด็กเปนเวลาแหงการเสริมสรางสัมพันธภาพของแมและ
ลูก เปนการแบงปนประสบการณที่นอกเหนือจากการเลี้ยงดูใหอิ่มหนําสําราญแลว ยังเปนเวลา
แสดงออกถึงความไวเนื้อเชื่อใจและความมั่นคงปลอดภัย
       เมื่อเขาถึงวัย 1-5 ป เด็กมีพัฒนาการดานรางกายและสติปญญาเร็วมาก พฤติกรรมการ
กินและความชอบอาหารจะเปลี่ยนจากการพึ่งพาแม เปนการหัดเรียนรูดวยตัวเอง โดยแมมีหนาที่

‘คอยควบคุม’

                                                                                            18
เด็กวัยนี้จะมีพฤติกรรมการกินตางๆกัน อาจไมกลากินอาหารที่ไมคุนเคย หรือมีแนวโนม
ชอบกินอาหารบางอยางซ้ําๆ หรือบางคนไมยอมกินอาหารที่เปอนอาหารชนิดอื่น วิธีแกไขก็คือ
การซื้อถาดอาหารและแยกอาหารใสแตละหลุม
          การแกพฤติกรรมของเด็กตองทําแบบคอยเปนคอยไป วันนี้กาวหนาไป 1 กาวแตวัน
ถัดไปอาจตองยอมถอยกลับมา 1 กาวก็ได เสนทางสูความสําเร็จอยูลิบๆไกลออกไป แตสิ่งตอง
ทําระหวางทางนั้นคือ        ความมุงมั่นที่จะใหเด็กไดรับอาหารที่สมดุล   บางครั้งเด็กไมชอบกินผัก
บางอยาง อาจไมเกี่ยวกับตัวผักชนิดนั้น แตเด็กอาจมีประสาทรสที่ตางจากคนอื่นมาแตกําเนิด
เด็กกลุมนี้จะไวตอการรับรสขม อาหารที่ปรุงแบบจืดชืด หรือเปนการตอตานพอแมที่ชอบขูวา

‘ถาไมกินผัก ก็ไมตองกินของหวาน’ วิธีการนี้ไมไดสงผลดีเลยแตกลับทําใหเด็กเกลียดผักชนิด

นั้นมากขึ้น        ทางที่ดีควรพยายามชักชวนเด็กใหทดลองทานโดยไมมีการคาดโทษหรือควบคุม
มากเกินไป เพราะบรรยากาศในการกินอาหารที่ดีจะชวยสงเสริมใหเด็กกินอาหารที่ดีตอสุขภาพ
ในภายภาคหนา
          วิธีการที่ดีอีกวิธีหนึ่ง คือ ความ
เพียรพยายามอยางตอเนื่อง งานวิจัย
ชิ้นหนึ่งใหเด็ก       ลองชิมรสชาติผัก
ใหมๆ 1 อยาง เชน พริกหยวก วันละ
10 ครั้ง พบวาความถี่ในการสัมผัส
เพิ่มความชอบของเด็ก          หรืองานวิจัย
คลายๆกันที่ลองใหเด็กกลุมหนึ่งกินผัก
ชนิดเดียววันละ 1 ครั้งติดตอกัน 14
วัน (ปรุงแบบตางๆไมซ้ํากัน)ก็ไดผลดี
เชนกัน
          บุคคลที่สําคัญและมีบทบาทมากที่สุด คือ พอแม - เด็กในวัย 2-6 ปชอบกินผักหรือผลไม
มากนอยเพียงใดดูไดจากปริมาณที่พอแมบริโภค             ไมมีเด็กอยากกินอะไรที่คนอื่นเขาไมกินกัน
ดังนั้นถาพอแมกิน เขาก็จะกินดวย การที่พอแมเปนแบบอยางที่ดีใหลูกจึงเปนสิ่งจําเปน การชี้ให

ลูกเห็นโดยทางตรงวา ‘นี่คือสิ่งที่แมกิน’ หรือทางออมโดยแนะนําวา ‘การลิ้มลองอาหารใหมๆเปน

ประสบการณที่นาตื่นเตน ทําใหสุขภาพแข็งแรง และยังอรอยดวย’




                                                                                               19
การจะเปนแบบอยางที่ดีใหลูกเห็น
                                                 พฤติกรรมการกินที่ถูกตอง ตองพยายามกิน
                                                 อาหารกับลูก เวลาอาหารควรเปนเวลาสําคัญ
                                                  ทั้งในดานโภชนาการและการพูดคุยสังสรรค
                                                 มีงานวิจัยมากมายที่พบวา     ครอบครัวที่กิน
                                                   อาหารดวยกันจะกินอาหารที่มีประโยชนตอ
                                                 สุขภาพมากกวา       และเด็กมีแนวโนมที่มีผล
                                                 การเรียนดีกวา ไมคอยหันเหไปหายาเสพติด
                                                 และแอลกอฮอล
      ที่สําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ พอแมสามารถคงความเปนตัวอยางที่ดีใหลูกดานการเลือก
ซื้อเฉพาะอาหารสุขภาพเขาบาน       เด็กเล็กในขวบปแรกๆจะเปนนักสํารวจพฤติกรรมของพอแม
ดังนั้นจะซึมซับพฤติกรรมการกินที่ดี แมจะไมคอยชอบอาหารบางอยางมากนัก

      พอแมคือตนแบบของลูก พอแมอาจเปนไดทั้งตนแบบที่ ‘ดี’ และ ‘ไมด’ ของเด็กก็ได
                                                                        ี

             ในชวงขวบปแรกๆ เด็กเรียนรูวา ตองกินอะไร กินเมื่อใด และกินมากแคไหน
              ขึ้นอยูกับวัฒนธรรมในครอบครัว      ทัศนคติ    ความเชื่อ   และธรรมเนียมปฏิบัติ
              เกี่ยวกับอาการการกิน
             สิ่งที่พอแมกินจะเปนตัวอยางใหลูก งานวิจัยชิ้นหนึ่งพบวา ในครอบครัวที่แมชอบ
              ดื่มนม ลูกสาวจะดื่มนมมากกวาและกินน้ําอัดลมนอยลง และงานวิจัยอีกชิ้นโดย
              นักวิจัยกลุมเดียวกันก็พบวา   แมที่กินผักและผลไมมากจะมีลูกสาวที่กินผักผลไม
              มากกวาดวย
             เด็กที่เห็นพอแมอดอาหารเพื่อลดความอวนจะอดอาหารเชนเดียวกัน โดยเชื่อวา
              สิ่งนี้เปนพฤติกรรมการกินที่ปกติ
      การบังคับใหลูกกินอาหารโดยใหรางวัลลอใจ ชวยใหเด็กกินอาหารอยางถูกตองหรือไม
             การบังคับใหลูกกินอาหารบางอยางจะทําใหเด็กกินไดนอยลง        อาหารที่เด็กถูก
              บังคับใหกินมากขึ้นและบอยครั้งขึ้น ไดแก ผักและผลไม งานวิจัยพบวายิ่งบังคับ
              ใหเด็กกินผักและผลไมมากขึ้นจะลดความชอบของเด็ก ทําใหเด็กยิ่งกินนอยลง

             การใหรางวัลลอใจ เพื่อใหเด็กกินอาหาร ‘สุขภาพ’ จะเพิ่มความเกลียดอาหารนั้น

              ใหเด็ก ตอไปเด็กจะไมอยากกินอีก



                                                                                          20
    การหามกินอาหารบางอยางที่พอแมเห็นวา ‘ไมคอยดีตอสุขภาพ’ อยางเครงครัด

                 มากเกินไป (เชน อาหารหวานจัด มีไขมันสูง มีแคลอรีสูง ) อาจสงผลใหเด็กกิน

                 อาหารเหลานี้มากจนลนเกินและ ‘โหยหา’ แตอาหารประเภทนี้ ดังนั้น แทนที่จะ

                 หามโดยเด็ดขาด อาจซื้อติดบานไวเพียงเล็กนอย
                พอแมที่เปนโรคอวนหรือมีปญหาเรื่องการควบคุมน้ําหนักตัว   ตองระวังเรื่องการ
                 ควบคุมอาหาร เพราะเด็กอาจไดรับสารอาหารไมเพียงพอตามไปดวย



        อาหารชนิดใดที่ควรใหเด็กกิน         พอแมควรระมัดระวังและเลือกอาหารที่มีประโยชนตอ
สุขภาพมาปรุงอาหารและของวางทุกมื้อ

เพื่อใหเด็กคุนเคยวาสิ่งเหลานี้คือ   ‘อาหาร

ปกติ’ที่เขาควรเลือกกิน เมื่อ ‘อาหารสุขภาพ’

กลายเปน ‘อาหารปกติ’ และเด็กเห็นพอแม

กินอาหารเหลานี้เปนประจํา โอกาสที่เด็กจะ
เติบโตและเลือกกินไดอยางถูกตองก็มีความ
เปนไปไดสูง



        ปจจัยที่มีผลตอการเลือกอาหารสําหรับเด็ก
                ความสะดวกในการเขาถึงอาหาร ปจจุบันอาหารมีใหเลือกกินอยางเหลือเฟอและ
                 งายดาย ทําใหเผลอกินทั้งๆที่ไมหิว หรือไมไดตระหนักวาทั้งวันกินมากเทาใด
                 แลว     ผูเชี่ยวชาญเชื่อวาความสะดวกในการเขาถึงอาหารเปนสาเหตุของการมี
                 น้ําหนักตัวเกินพิกัดในคนอเมริกันทั้งเด็กและผูใหญ โรงเรียนจะมีตูขายขนมและ
                 เครื่องดื่มที่ไมคอยมีประโยชนตอสุขภาพ รานฟาสตฟูดมีกระจัดกระจายอยูทวไป
                                                                                         ั่

                 และสวนใหญขายอาหารขนาด ‘super-sized’ ทําใหไดรับแคลอรี่มากเกินความ

                 ตองการของรางกาย ปจจุบันแมขนาด ‘ปกติ’ ที่มีจําหนายก็มีปริมาณมากกวาใน

                 อดีต ดังนั้น พยายามทําอาหารกินเอง เพื่อเด็กจะไดกินตรงเวลา ไมหิวจัดจนตอง
                 ซื้อขนมหรือฟาสตฟูดมากินบอยๆ



                                                                                            21
   แบบแผนการกิน             เด็กที่กินอาหารตรงตามเวลาที่บานมักจะไดรับอาหารที่มี
    ประโยชนตอสุขภาพ และพบมีปญหาเรื่องน้ําหนักตัวเกิน นอยกวาเด็กที่กินจุบจิบ
    ตลอดทั้งวัน      การเสียเวลาจัดเตรียมอาหารจะชวยใหเด็กไดรับสารอาหารครบ
    และ      การกินอาหารพรอมหนากันในครอบครัวจะชวยสงเสริมความใกลชิดใน
    ครอบครัว      เปนเวลาสําคัญสําหรับแลกเปลี่ยนและพูดคุยถึงกิจกรรมที่เกิดขึ้นใน

    แตละวัน และยังชวยใหเด็กเรียนรูรูปแบบของ ‘อาหารสมดุล’ วาควรมีลักษณะ

    แบบใด
   อาหารกับสังคมและวัฒนธรรม         ความเชื่อทางศาสนา     ฯลฯ   อาจทําใหตองงด
    อาหารบางอยาง และอาหารของบางเชื้อชาติก็เปนอาหารสุขภาพที่ดี เชน สปา
    เก็ตตีใสซอสมะเขือเทศ ใสเนื้อ และเนยแข็ง จัดเปนอาหารครบ 4 หมูได แตตอง
    ไมใสไขมันมากเกินไป
   อารมณ โรคซึมเศรา วิตกกังวล ความเบื่อหนาย จะสงผลใหเกิดนิสัยการกินที่ไม
    ดี ดังนั้นตองรักษาเรื่องอารมณกอน
   อาหารและการตลาด          ปญหาจากสภาพเศรษฐกิจในปจจุบันสรางความเสียหาย
    ใหกับครอบครัวเปนจํานวนมาก        หลายคนหันมาเปนลูกคาอาหารจานดวนแทน
    ซึ่งรานเหลานี้ก็ตอบสนองลูกคาอยางดี โดยไมสนใจกระแสสุขภาพและการโจมตี
    วาอาหารฟาสตฟูดไขมันสูงทําใหเกิดโรคอวน      หลายบริษัทรุกชองทางเดลิเวอรี

    เนนความสะดวก รวดเร็ว บริการถึงบาน เพิ่มเวลาใหบริการ 24 ชั่วโมง หรือแจก

    ของแถมรวมกับอาหารที่สั่งซื้อเพื่อลอใจเด็ก      ซึ่งเด็กสามารถเขาถึงชองทาง
    เหลานี้ไดสะดวกขึ้น      ปจจุบันเจาของตลาดสินคาเด็กยังหันมาลงโฆษณาเพื่อ
    เขาถึงกลุมเปาหมายผานทางเคเบิล-ทีวีดาวเทียมแทนการโฆษณาผานฟรีทีวีเพื่อ
    เลี่ยงขอจํากัดที่หนวยงานรัฐบังคับใช




                                                                               22
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก

More Related Content

Similar to วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก

การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555dentalfund
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
weskaew yodmongkol
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
Komsan Iemthaisong
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
Pear Pimnipa
 
ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1
Pear Pimnipa
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
4LIFEYES
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
tassanee chaicharoen
 
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนสอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
duangkaew
 
บทที่1 ยาเสพติด
บทที่1 ยาเสพติดบทที่1 ยาเสพติด
บทที่1 ยาเสพติด
Pear Pimnipa
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
tassanee chaicharoen
 
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptxแผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
tangsaykangway
 
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
cmucraniofacial
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็กแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก (20)

การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
 
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_นโครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
 
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนสอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
 
บทที่1 ยาเสพติด
บทที่1 ยาเสพติดบทที่1 ยาเสพติด
บทที่1 ยาเสพติด
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
͹ѹآ֡ 1950
͹ѹآ֡  1950͹ѹآ֡  1950
͹ѹآ֡ 1950
 
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptxแผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
 
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็กแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
 

More from dentyomaraj

ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 Pค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
dentyomaraj
 
Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55
dentyomaraj
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai language
dentyomaraj
 
Ortho price list 2012
Ortho price list 2012Ortho price list 2012
Ortho price list 2012dentyomaraj
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
dentyomaraj
 
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
dentyomaraj
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
dentyomaraj
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
dentyomaraj
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailanddentyomaraj
 
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาสามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
dentyomaraj
 
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
dentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
dentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
dentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
Chaipattana tsunami
Chaipattana tsunamiChaipattana tsunami
Chaipattana tsunami
dentyomaraj
 
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubEndodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
dentyomaraj
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
dentyomaraj
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
dentyomaraj
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
dentyomaraj
 
โยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะโยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะ
dentyomaraj
 

More from dentyomaraj (20)

ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 Pค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
 
Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai language
 
Ortho price list 2012
Ortho price list 2012Ortho price list 2012
Ortho price list 2012
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
 
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาสามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
 
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
Chaipattana tsunami
Chaipattana tsunamiChaipattana tsunami
Chaipattana tsunami
 
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubEndodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 
โยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะโยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะ
 

วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก

  • 1.
  • 2.
  • 3. คํานํา นับจากป 2545 เปนตนมา สังคมไทยไดตระหนักถึงพิษภัยของการกินหวานมากเกินไป ซึ่งเปนผลมาจากกิจกรรมรณรงคเด็กไทยไมกินหวาน ของกลุมเครือขายเด็กไทยไมกินหวาน ที่ นับเปนความสําเร็จอยางสูงสุด นอกจากนี้กลุมเครือขายฯ ยังสามารถผลักดันงานสําคัญๆออกมา ใหเห็นเปนรูปธรรม ที่ไมวาจะเปนการแกไขกฎกระทรวงสาธารณสุขไมใหมีการเติมน้ําตาลใน นมผงสูตรตอเนื่อง หรือการรณรงคในเรื่องโรงเรียนปลอดน้ําอัดลม หรือการจัดการในเรื่อง สลากอาหารเตือนภัย และยังมีกิจกรรมรณรงคอื่นๆอีกมากมาย เมื่อระยะเวลาผานไป ก็ยังพบวา การตอสูกับผลประโยชนมหาศาลของบริษัทขามชาติที่ขายเครื่องดื่มรสหวาน หรืออาหารที่ไม เปนมิตรกับสุขภาพเหลานี้ยังเปนเรื่องไมสิ้นสุด ตองพยายามติดตามเพทุบายในการสงเสริมการ ขายของผลิตภัณฑเหลานี้กันอยู และตองหาทางรับมือกับสิ่งเหลานี้ใหได โดยเฉพาะการสงเสริม การขายในโรงเรียน จากขอกังวลใจดังกลาวทําใหเครือขายเด็กไทยไมกินหวาน พยายามระดม ความคิดจากเครือขายเพื่อหาทางแกไขสิ่งเหลานี้ กลุมพัฒนาความรวมมือทันตสาธารณสุข ระหวางประเทศ ในฐานะสวนเล็กๆของเครือขาย ใครขอนําเสนอวิธีการที่เรามองวาจะเปน ทางออกทางหนึ่งในการแกไขปญหาดังกลาว ที่มาของแนวคิดนี้มาจากขอเสนอแนะของกลุมแม ในชนบท การดําเนินการตามแนวคิดนี้เปนการดําเนินการดวยวิธีการที่เรียบงาย ไมไดใช วิชาการที่สูงสง แตเปนกระบวนการที่ละเอียดออน และตองการความใสใจและความเอาใจใส อยางตอเนื่อง จากบานถึงโรงเรียน เมื่อกลุมแม ชุมชน ทองถิ่นและโรงเรียนเห็นประโยชนก็ สามารถลงมือดําเนินการไดดวยตนเองโดยไมตองรอรับการสนับสนุนดานใดๆจากหนวยงานใน ก
  • 4. ระดับที่เหนือขึ้นไป และที่สําคัญคือไดรับการพิสูจนแลววามีความยั่งยืน และมีประสิทธิผลในการ แกปญหาสุขภาพที่ไมวาจะเปนโรคอวน หรือโรคฟนผุในเด็ก และคาดหมายไดวาสิ่งที่แม และ โรงเรียนรวมกันสรางใหเด็กนี้จะติดตัวเด็กไปจนโต ทําใหเด็กเติบโตเปนผูใหญที่มีสุขภาพ สมบูรณ เอกสารฉบับนี้มีความประสงคที่จะเขียนใหอานไดงายๆ อานไดทุกกลุมเปาหมาย ผูเรียบ เรียงหวังวาเมื่อกลุมเปาหมายตางๆไดอานเอกสารนี้แลวอยางนอยที่สุดนาจะเกิดผลตางๆกัน เชน ถาเปนพอ แม ปู ยา ตา ยาย ของ เด็กเล็กๆอาน ก็จะพบวิธีการสรางสุขนิสัยในการกินใหลูก ถา เปนครูอานก็จะพบแนวคิด วิธีการในการดําเนินการเพื่อสงเสริมใหเด็กไดกินดี ในปริมาณที่ พอเหมาะ ถาเปนนักวิชาการทางดานสุขภาพ อานก็จะไดขอคิดวาอาหารเปนมากกวาพลังงาน และสุขภาพ ถาจะสงเสริมการกินอาหารที่ดีนาจะทําอยางไรไดบาง และถาผูอานเปนผูกําหนด นโยบาย หรือ ผูผลักดันนโยบาย ตั้งแตระดับทองถิ่นไปจนถึงระดับประเทศ ก็นาจะไดขอคิดใน การกําหนดประเด็นนโยบายที่สําคัญในการสงเสริมสุขภาพ และสงเสริมวัฒนธรรมที่ทําไดไม ยาก และมีความยั่งยืน แนวคิด และกิจกรรมที่เสนอแนะในเอกสารฉบับนี้คืออะไร มีขอคิดตางๆอยางไรโปรด ติดตามไดดวยตัวของทานเอง กลุมพัฒนาความรวมมือทันตสาธารณสุขระหวางประเทศ กรมอนามัย เชียงใหม สิงหาคม 2553 ข
  • 5. สารบัญ หนา เกริ่นนํา : บริบท 1 2 โรคในชองปากของเด็กวัยซน วัยใส 3 เรียนรูจากประสบการณ 4 ขอมูลจากองคการอนามัยโลก 5 โรคในชองปาก และโรคเรื้อรังมีปจจัยเสี่ยงรวมกัน ขอเสนอที่แตกตาง 6 ตามแกอยางไรก็ไมทัน 7 ความคิดในการแกไขที่เรียบงาย 8 ความยั่งยืนของการแกไขปญหา 9 ประสิทธิผลของขอเสนอนี้ 11 พันธมิตรถูกใจ 13 วิธีการสงเสริมที่ขอนําเสนอ 14 เคล็ด(ไม)ลับในการสรางสุขนิสัยในการกินใหเด็ก 15 อาหารกลางวันในโรงเรียน: ที่เปนมากกวาพลังงาน และโภชนาการ 26 32 กระบวนการสงเสริมฯ ที่ถูกใจคนไทย หนทางที่ไดผล ยั่งยืน และผลลัพธที่ตามมามากมาย 39 ค
  • 6. เกริ่นนํา: บริบท  โรคในชองปากของเด็กวัยซน วัยใส เพิ่มขึ้นอยางสม่ําเสมอจากป 2527 เปนตนมา ไมวาจะเนน เรื่องการทําความสะอาด และการใชฟลูออไรด อยางไร สภาพก็ ไมดีขึ้น จนมาถึงป 2545 มีการรณรงคเด็กไทยไมกินหวาน แนวโนมของโรคจึงลดลง  เรียนรูจากประสบการณ สภาพของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป แมออกไปทํางานนอกบาน ไมคอยมีเวลาใหลูก อาหารไมเปนประโยชนหาไดทั่วไปราคา ไมแพงรสชาติถูกใจเด็ก เด็กกินแตขนมไมกินขาว  ขอมูลจากองคการอนามัยโลก คนกินผักผลไมนอยลง ไมออกกําลังกาย เปนเหตุใหเกิด โรคเรื้อรัง โดยเฉพาะในประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจต่ํา  โรคในชองปาก และ โรคเรื้อรังมีปจจัยเสี่ยง รวมกัน การกินอาหารที่ไมสมดุลย การสูบบุหรึ่เปนสาเหตุของโรคตาง มากมายรวมทั้งโรคในชองปากดวย
  • 7. โรคในชองปากของเด็กวัยซน วัยใส ตั้งแตป 2532 เปนตนมามีขอมูลบงชี้ชัดเจนวาโรคฟนผุในเด็กเล็กกําลังเพิ่มขึ้นอยาง รวดเร็ว ดังนั้นนับจากแผนพัฒนาสาธารณสุขฉบับที่ 7 (ป 2535) เปนตนมา การแกไขปญหา ทันตสุขภาพจึงมุงเนนในกลุมเด็กวัยกอนเรียน โดยจัดใหเปนกลุมที่มีความสําคัญอันดับแรก 1 การดําเนินการในระยะแรกเนนในเรื่องของพฤติกรรมการเลี้ยงดู และการทําความสะอาดฟนให เด็กโดยแม หรือผูเลี้ยงดูโดยมีการกําหนดใหมีการสอนทันตสุขศึกษาใหแกแมหรือผูเลี้ยงดูที่มา รับบริการที่สถานบริการเปนรายๆไป และเริ่มใชฟลูออไรดทางระบบในรูปแบบของยาน้ํา ยาเม็ด และการเติมฟลูออไรดในน้ําประปาชุมชนซึ่งเริ่มดําเนินการในป 2536 จากการประเมินผลในป 2537 พบวาการดําเนินงานตามกลวิธีดังกลาวไมสามารถหยุดยั้งการเพิ่มของโรคฟนผุในเด็กวัย กอนเรียนได ในทางตรงขามความรุนแรงกลับเพิ่มขึ้น จึงไดมีการขยายการดําเนินงานในเรื่อง การใชยาน้ํา และยาเม็ดฟลูออไรด การแจกแปรงสีฟนอันแรกในคลินิกเด็กดี และพยายามเพิ่ม ความเขมขนในเรื่องการใหสุขศึกษาแก หญิงตั้งครรภ และ ผูเลี้ยงดูเด็ก แตจากการประเมินผล ยังพบวา ไมสามารถหยุดยั้งการเพิ่มของโรคฟนผุในเด็กวัยกอนเรียนได จากประสบการณที่ผานมา ทําใหมีการปรับยุทธศาสตรในการดําเนินงาน โดยหันมา แกไขปญหาในเรื่องการกินของเด็กอันเปนตนเหตุสําคัญของการเกิดโรคฟนผุ โดยในป 2545 1 คณะกรรมการวางแผนพัฒนาการสาธารณสุข . แผนพัฒนาการสาธารณสุข ตามแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539) โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก 2535 2
  • 8. ไดเริ่มดําเนินงานรณรงคเด็กไทยไมกินหวาน ทําใหสังคมไทยตระหนักถึงภัยของการบริโภค น้ําตาลมากเกินไป โดยมีเปาหมายแรกของการดําเนินงานอยูที่การปรับแกกฎกระทรวง สาธารณสุข เรื่องการหามการเติมน้ําตาลในนมผงสูตรตอเนื่องสําหรับเด็กอายุ 6 เดือน ซึ่ง สามารถแกไขไดสําเร็จในป 2548 ในป 2550 รอยละของเด็กที่ดื่มนมหวานลดจากรอยละ 40- 87 (ป 2545) เปนรอยละ 19 (ป 2550) นอกจากนี้เครือขายเด็กไทยไมกินหวานยังสามารถ ผลักดันนโยบายสาธารณะเรื่องการลดการบริโภคน้ําตาลอีกหลายเรื่อง เชน การหามจําหนาย น้ําอัดลมในโรงเรียน การติดสลากโภชนาการแสดงปริมาณน้ําตาล เปนตน จากการประเมินผล ในป 2549- 2550 พบวา อัตราการเกิดโรคฟนผุในเด็กวัยกอนเรียน ลดลง จากรอยละ 87 ในป 2543-44 มาเปน รอยละ 80 เรียนรูจากประสบการณ ประสบการณจากการอาศัย และทํางาน ในหมูบาน มาเปนระยะเวลากวา 10 ปทําให ตระหนักวาสาเหตุของการเกิดโรคฟนผุใน เด็กไทยเกิดมาจาก การที่สภาพสังคมที่ เปลี่ยนแปลงไป พอ แม ตองออกไปหาเลี้ยงชีพ ไมมีเวลาไดเลี้ยงดูใกลชิดลูก ตองฝากลูกไวกับ ปู ยา ตา ยาย ที่อายุมาก หรือ ฝากไวกับสถาน ดูแลเด็กกลางวัน เด็กอาศัยอยูในสิ่งแวดลอมที่เต็มไปดวย อาหารที่เปนอันตรายตอสุขภาพ หาซื้อรับประทานไดเกือบ ตลอด 24 ชั่วโมง เมื่อเด็กกินอาหารที่ไมเปนประโยชนอยู ตลอดเวลาก็เกือบไมไดกินอาหารมื้อหลัก หรือกินไดแตนอย เพราะอิ่ม ผูเลี้ยงดูก็รูสึกวาสบายดี ไมตองเสียเวลาเสียกําลัง หุงหาอาหารมื้อหลักใหเด็ก เพราะเด็กตองกินอาหารที่ตาง จากอาหารรสเผ็ดของผูใหญ เพียงซื้อของจุบจิบใหกินเด็กก็ อิ่มแลว ถากลัววาจะไดรับอาหารที่เปนประโยชนไมเพียงพอ ก็เพียงแตซื้อนมใหดื่มก็เพียงพอแลว (เชื่อตามการโฆษณา รณรงคที่มีกันอยูทั่วไป) นิสัยการกินเชนนี้ก็จะติดตัวเด็กไป จนโต คือเปนคนกินอาหารยาก เลือกกินแตของทอดๆ หวานๆ เค็มๆ มันๆ นอกจากจะมีผลกับ สุขภาพชองปากแลว ยังจะมีผลตอสุขภาพอื่นๆโดยรวมดวย ปญหาเรื่องนิสัยในการกินของเด็กนี้ 3
  • 9. นับวันจะเพิ่มมากขึ้น เพราะสังคมยังละเลย และยังไมตระหนักถึงผลเสียที่จะตามมามากมายใน อนาคต ขอมูลจากองคการอนามัยโลก องคการอนามัยโลกบอกวา โรคเรื้อรัง ตางๆ อันไดแก โรคหัวใจ เบาหวาน โรคอวน มะเร็งบางชนิด โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง เปน สาเหตุสําคัญของการเสียชีวิตของประชากรโลก ดังเชนในป 2005 การเสียชีวิตของคนถึง 35 ลาน คน จากการเสียชีวิตทั้งหมด 58 ลานคน หรือรอย ละ 60 ของการเสียชีวิตทั้งหมด มีสาเหตุมาจาก โรคเรื้อรังเหลานี้ และองคการอนามัยโลกยังแถลง ตออีกวา รอยละ 80 ของคนที่เสียชีวิตดวยโรค เหลานี้ เกิดขึ้นในประเทศที่มีรายไดต่ําถึงรายได ปานกลาง แมวามาตรการการปองกันโรคหัวใจ ภาวะสมองขาดเลือด เบาหวานประเภทที่สอง และ รอยละ 40 ของมะเร็ง จะเปนมาตรการที่มีราคาถูกและ เปนมาตรการที่มีประสิทธิผลเปน อยางดี 2 การรับประทานอาหารที่ไมสมดุล และขาดการเคลื่อนไหวของรางกาย เปนความเสี่ยงที่ สําคัญของการเกิดโรคเหลานี้ มีหลักฐานทางวิทยาศาสตรที่บงชี้แนชัดวา การไดรับอาหารที่ดี และ มีการเคลื่อนไหวรางกายอยางสม่ําเสมอ จะชวยปองกันโรคเรื้อรังเหลานี้ได.3 ผัก และผลไม เปนอาหารสุขภาพที่สําคัญ ถารับประทานใหเพียงพอจะชวยปองกันการเกิดโรคเรื้อรังอยาง ไดผล ในป 2002 องคการอนามัยโลกรายงานวา ประมาณรอยละ 31ของคนที่เปนโรคหัวใจ ขาดเลือด และ รอยละ 11 ของ คนที่เกิดภาวะสมองขาดเลือด ทั่วโลกเกิดจาก การรับประทานผัก และผลไมไมเพียงพอ และยังไดประมาณตอไปอีกวา ถาประชากรรับประทานผักและผลไมอยาง เพียงพอจะสามารถยืดชีวิตของคนไวไดถึงปละ 2.7 ลานคน จากสถิติเหลานี้เปนเครื่องยืนยันถึง ขอมูลสําคัญที่รูกันมานานเกี่ยวกับประโยชนของผัก และผลไม วาเปนแหลง สําคัญ ของใย อาหาร โปรตีนจากพืช และ แรธาตุตางๆ องคการอนามัยโลก รวมกับองคการอาหารและเกษตร แหงสหประชาชาติแนะนําวาประชาชนควรรับประทานผัก และผลไมใหไดวันละ 400 กรัม(ไม 2 Preventing Chronic Diseases: a Vital Investment: Geneva, World Health Organization, 2005 3 Diet, Nutrition and the Prevention of Chronic Diseases. Report of a Joint WHO/ FAO Expert Consultation. Geneva, World Health Organization, 2003 (WHO Technical Report Series, No. 916). 4
  • 10. รวมเผือก มัน ที่เปนแปง) จะสามารถปองกันโรคเรื้อรังตางๆได และยังลดการเกิดโรคตางๆที่เกิด จากการขาดแรธาตุตางๆ โดยเฉพาะ ในประเทศที่กําลังพัฒนา โรคในชองปาก และ โรคเรื้อรังมีปจจัยเสี่ยงรวมกัน Sheiham & Watt, 2000 บทความจากวารสาร”สรางสุข” ปที่7 ฉบับที่ 105 มิถุนายน 2553 ไดอางไวดังนี้ “โรคหัวใจและหลอดเลือด ถือเปน 1 ใน 3 สาเหตุหลักการปวย และตายของคนไทย ในรอบ 5 ป ที่ผานมามีจํานวนผูปวยที่เขารักษาตัวในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นถึง 3-17 เทาตัว ปจจัยสําคัญที่ เสี่ยงตอการเปนโรคหัวใจและหลอดเลือด ก็คือความอวน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และ การมีไขมันในเลือด ในแตละวันของป 2548 มีคนไทยตายจากความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคเบาหวานประมาณ 121 คนตอวัน และจากหลอดเลือดในสมอง 82 คนตอวัน” จากภาพแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางปจจัยเสี่ยงตางๆของโรคเรื้อรัง และปจจัย เสี่ยงของโรคในชองปากที่สําคัญไดแก โรคฟนผุ และโรคปริทันต ดังนั้นเมื่อควบคุมเรื่องการ บริโภคอาหารใหเหมาะสม นอกจากจะเปนการปองกันโรคฟนผุแลวยังสามารถปองกันโรคเรื้อรัง อื่นๆไดอีกดวย การสรางสุขนิสัยในการกินที่ดีตั้งแตวัยเด็ก สุขนิสัยนี้จะติดตัวไปอยางถาวรทํา ใหเติบโตเปนผูใหญที่มีสุขภาพดี 5
  • 11. ขอเสนอที่แตกตาง  ตามแกอยางไรก็ไมทัน การลดการบริโภคน้ําตาลมีผลในการลดโรคฟนผุ แตการ รณรงค ใหงดน้ําตาลมีแรงตานจากผูผลิตอาหารที่ใสน้ําตาล อยางมาก อาหารที่ใสน้ําตาลมีผลประโยชนในการขายมหาศาล การหามาตรการมาตอสูทําไดยากมาก โดยเฉพาะคนในชนบท  ความคิดในการแกไขที่เรียบงายและยั่งยืน แมทั้งหลายตางบอกเปนเสียงเดียวกันวา เด็กกินอาหารที่ไม มีประโยชนเพราะเขาหิว และอาหารเหลานี้หาไดงาย สีสันสวย รสชาติอรอย ถาเด็กไดกินอิ่มในสิ่งที่ควรกิน จะลดการกิน อาหารที่ไมมีประโยชนลงไดมาก  ประสิทธิผลของขอเสนอนี้ จากงานวิจัยการสงเสริมการกินมื้อหลัก พบวาสามารถลด ปริมาณของการกินน้ําตาลลงได มีการบริโภคผัก ผลไม เพิ่มขึ้น และในระยะยาว ยังสามารถลดโรคตางที่เกิดจากการ กินที่ไมถูกนี้ลงได  พันธมิตรถูกใจ ขอเสนอในการดําเนินการตามมาตรการเชิงบวก ทําใหเกิด พันธมิตรในการรวมมือทํางานเพิ่มขึ้น 6
  • 12. ตามแกอยางไรก็ตามไมทัน เมื่อมีหลักฐานเชิงประจักษวาวิธีการในการลดการบริโภคนาตาลมีผลตอการลดโรคตางๆ ลงโดยเฉพาะโรคฟนผุในเด็ก พันธมิตรที่รวมกันดําเนินงานในเรื่องนี้ก็พยายามหาวิธีการมาตอสู กับความหวานทุกกระบวนทา ไมวาจะเปนเรื่องขนม ของขบเคี้ยว น้ําอัดลม แตตองไมลืมวาสิ่ง เหลานี้ มีผลประโยชนมูลคามหาศาล ผูจําหนายจะตองหาวิธีการทางการตลาดมากมาย มาสราง ภาพใหผูปกครอง และเด็กๆเห็นวาสิ่งเหลานี้นอกจากไมเปนโทษแลว ยังมีประโยชนชวน รับประทานอีกดวย ไมวาเราจะศึกษากลวิธีทางการตลาด ของเขาอยางไร รณรงคใหคนรูเทาทัน อยางไร เราก็ยังเปนฝายตั้งรับที่ชากวาเขาอยูกาวหนึ่งเสมอ นับวันก็จะมีสินคาใหมๆเกิดขึ้นมา และเขาจะคิดวิธีการใหมๆมาแกเกมสเราไดเสมอ ภาพตอไปนี้เปนตัวอยางอันนอยนิดของผูตกเปนเหยื่อของคําโฆษณา 7
  • 13. ความคิดในการแกไขปญหาที่เรียบงาย คําบอกเลาจากการนําเสนอของแกนนําสตรีจังหวัดศรีษะเกษ 4 ที่ประสบความสําเร็จจาก การรวมพลัง ในการแกไขปญหาโรคฟนผุในเด็กวัยกอนเรียน เลาวาคนในพื้นที่มีฐานะยากจน ใหเงินลูกไปโรงเรียนวันละบาท กลางวันเงินบาทเดียวซื้ออาหารไมได เด็กเอาเงิน 1 บาทไปซื้อ ลูกอม อมประทังหิว ทําทุกวันๆ เด็กๆฟนผุกันหมดกินอะไรก็ไมได ไมโต ตัวผอมเล็กนิดเดียว ปลอยไวไมได เงินบาทเดียวของแตละคนทําอะไรไดเยอะถากลุมผูหญิงชวยกัน เอาเงินมา รวมกัน ทําอาหารกลางวันใหเด็ก ใครมีผักอะไรที่บานก็เอามาชวยกันทําอาหารกลางวันใหเด็ก กิน เมื่อเด็กๆไดกินอิ่มก็ไมหันไปกินลูกอมอีก สุขภาพก็ดีขึ้นเจริญเติบโตดี เด็กรุนใหมๆฟนก็ไมผุ อีกแลว จากความเห็นของกลุมแกนนําสตรีที่ศรีสะเกษ และการดําเนินงานที่ไดผลในการแกไข ปญหา เมื่อเราไดนําปญหาเหลานี้ไปปรึกษากับกลุมแมในชุมชนที่เด็กกินขนมถุงๆ ของเหลว หวาน และอาหารที่ไมเปนประโยชนอื่นๆ จนมีผลกับสุขภาพ วาทําไมเด็กจึงกินสิ่งเหลานี้ แมสวน 4 จากการบรรยายของแกนนําสตรีในการประชุมเวทีวิชาการปฏิรูประบบสุขภาพไทยครั้งที่ 2 เรื่อง”กระจายอํานาจกับอนาคตสุขภาพไทย” เวที วิชาการยอย หัวขอ “ สุขภาพดีดวยวิถีชุมชน แกะรอยกรณีทันตสุขภาพ” วันที่ 25 มกราคม 2544 8
  • 14. ใหญตอบวาเพราะเด็กหิว และสิ่งเหลานี้หาไดงาย มีรสชาติสีสันถูกใจเด็ก ถาทําใหเด็กไมหิว คือ กินอาหารในมื้อหลักไดอิ่ม เปนเวลา ก็จะลดการกินอาหารพวกนี้ลงไดมาก จากความคิดในการแกไขปญหาที่เรียบงายของกลุมแมนี้ เปนที่มาทําใหเรานําแนวคิดไป ดําเนินการวิจัย โดยการสงเสริมการกินมื้อหลักที่ประกอบดวยผักสด และผลไม ใหกับเด็กๆ โดย การรวมมือกันดําเนินการของชุมชนในหลายพื้นที่ พบวาประสบผลสําเร็จในการลดโรคฟนผุใน เด็กเล็กลงอยางไดผล และยังพบวาเปนวิธีการที่ประหยัด เรียบงาย ไมตองใชเทคโนโลยีใดๆ ประชาชนดําเนินการไดเอง เขากับวิถีชีวิตของชุมชน วางอยูบนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเองไม ตองพึงพิงบุคลการภาครัฐ ความยั่งยืนของการแกไขปญหา ถาลองมามองยอนกลับไปในอดีต วาเรื่องอาหารที่เปนอันตรายตอสุขภาพนี้แทรกซึมเขา มาในสังคมไทยไดอยางไร โดยยอนกลับไปดูการสรางภาพลักษณของสินคาเหลานี้ จะเห็นวา สินคาที่ไมมีประโยชนเหลานี้ ไดพยายามสรางภาพลักษณของตนเองมาเปนเวลานานประมาณ สามชั่วอายุคนแลว ตอไปนี้เปนตัวอยางการสรางภาพลักษณของสินคาที่เปนอันตรายตอสุขภาพ 9
  • 15. สินคาบางอยาง มีการสราง ภาพลักษณมานานจนสังคม เองก็สับสนไมแนใจวาเปน สินคาที่มีประโยชน หรือ มี โทษตอสุขภาพกันแน ปจจุบัน การจะนําสินคา ใหมๆมาวางตลาด ตองมีการ วิจัยการตลาดอยางถี่ถวนวา จะสรางภาพใหแกสินคา เหลานั้นอยางไร และจะมีวิธี โฆษณา และสงเสริมการขายอยางไรจึงจะติดตลาด แมจะพยายามสูกับสิ่งเหลานี้อยางไร ผูขาย ก็พยายามหาวิธีการใหมๆ โปรดสังเกตภาพโฆษณาเกาๆ เหลานี้ มาเสนออยูตลอดเวลา วิธี วาผูขายไดพยายามสรางภาพลักษณ จะนํามาตอสูกับการตลาด ของสินคาตางๆมาเปนเวลายาวนาน เหลานี้ได จะตองเปน นับแตเริ่มนําสินคาออกวางจําหนาย วิธีการที่มีประสิทธิผล และ ยั่งยืน ประเทศไทยมีจุด แข็งเรื่องวัฒนธรรมใน การกิน อาหารไทยมี ชื่อเสียงไปทั่วโลกในแง ของรสชาติ การจัดแตง อาหารใหสวยงาม และ ความเปนอาหารสุขภาพ การสงเสริมใหเด็กหันมา กินมื้อหลักที่อุดมดวยผัก ผลไม นาจะเปนกลวิธีใน การตอสูกับการตลาดได อยางยั่งยืนวิธีหนึ่งที่เปนวิธีที่นุมนวล และหลีกเลี่ยงความขัดแยงกับผลประโยชนมหาศาลของ บริษัทขามชาติตางๆ 10
  • 16. ประสิทธิผลของขอเสนอนี้ การศึกษาของ พัชรินทร เล็กสวัสดิ์ (2545) เรื่อง ประสิทธิผลของการประยุกตการสราง เสริมพลังชุมชนในโครงการสงเสริมทันตสุขภาพ เด็กวัยกอนเรียน จังหวัดลําปาง โดยชุมชน ดําเนินการควบคุมดูแลคุณภาพอาหารกลางวัน ฝกเด็กรับประทานผัก ผลไมมากขึ้น พรอมทั้งมี การสนับสนุน และระดมทรัพยากรภายในหมูบาน การประเมินผลเมื่อมีการดําเนินการในชุมชน มา 8 ป พบวา เปนงานที่ยั่งยืนในชุมชน ชุมชนดําเนินการไดเอง และมีประสิทธิผลในการลดโรค ฟนผุลงได กลาวคือ เด็กอายุ 2 ป มีฟนผุลดลงจากรอยละ 55.8 มาเปนรอยละ 25.0 เด็กอายุ 3 ป มีฟนผุลดลงจากรอยละ 75.9 มาเปนรอยละ 60.5 เมื่อเปรียบเทียบระหวาง พ.ศ. 2542 และ 2549 มีคาเฉลี่ยฟนผุ ถอน อุด เฉลี่ยตอคน ลดลงจาก 4.38 มาเปน 3 ซี่ตอคน5 จากการประเมินผลกระทบตอทันตสุขภาพในระยะเวลาเพียง 1 ป หลังการดําเนินการ โครงการศึกษาวิจัย "การแกไขปญหาทันตสุขภาพเด็กกอนวัยเรียนโดยกลมุแกนนําสตรี"ซึ่งเปน โครงการที่ใหการสงเสริมการรับประทานผักผลไมเชนกัน พบวา แผนคราบจุลินทรีย(วัดดวยดัช นี OHI) และอัตราเพิ่มของฟนผุ (วัดดวยดัชนี dmfs) ในกลุม เปาหมายลดลงอยาง มีนัยสําคัญ ทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุมทดลอง โดยเฉพาะในเด็กกลุมอายุ 1-3 ป สามารถลดอัตราเพิ่มของ dmfs ลงไดถึงรอยละ 47.16 สวนการวิจัย เรื่อง "โครงการพัฒนารูปแบบการสงเสริมสุขภาพชองปากเด็กวัยกอน เรียน”7 ซึ่งดําเนินการในเด็กกลุมอายุ 1-3 ป โดยการสงเสริมการกินอาหารมื้อหลักใหพอเพียง เหมาะสมโดยเนนการรับประทานผัก และผลไม เพื่อใหเด็กไดรับพลังงาน และสารอาหารที่ ครบถวน พอเพียง พบวา หลังดําเนินงานโครงการในพื้นที่ 18 ดือน จะเห็นถึงพฤติกรรมในการ กินที่เปลี่ยนแปลงไปของกลุมทดลอง กลาวคือ เด็กกินอาหารประเภทผัก ผลไม เพิ่มขึ้น ทั้ง 5 พัชรินทร เล็กสวัสดิ์ และคณะ กระบวนการพัฒนาเครือขายพันธมิตรสงเสริมสุขภาพเด็กวัยกอนเรียน ว.ทันต สธ ปที่ 12 ฉบับที่ 1หนา 7-25 2550 6 ศรีสุดา ลีละศิธร วิกุล วิสาลเสสถ สุรัตน มงคลชัยอรัญญา วิไลลักษณ บังเกิดสิงห แล ะพวงทอง ผูกฤตยาคามี การประเมินผลโครงการแก ปญหาทันตสุขภาพเด็กวัยกอนเรียน โดยกลุมแกนนําสตรีอําเภอกันทรารมย จังหวัดศรีสะเกษ เอกสารโรเนียว 2545 7 Lekswat, P. et al. The Development of a Model for Oral Health Promotion in Preschool Children. Intercountry Centre for Oral Health, 2004. 11
  • 17. ปริมาณ และ ความถี่ และกินอาหารที่ไมมีประโยชน พวกอาหารหวาน ขนมถุง และของเหลว หวาน ลดลง ในแงของปริมาณ ความถี่ และ จํานวนเงินที่ใชซื้ออาหารที่ไมมีประโยชนพวกนี้ ในขณะที่กลุมควบคุมพบวา เมื่อเวลาผานไปจะรับประทานอาหารที่ไมมีประโยชนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังพบวา ในกลุมทดลอง มีจํานวนเด็กอวนลดลง กลาวคือการสงเสริมการกินผักผลไม ชวยใหเด็กที่เคยอวนกลับมามีรางกายที่สมสวน ในขณะที่กลุมควบคุม มีอัตราเด็กอวนเพิ่มขึ้น ผลจากการประเมิน 8 โครงการเด็กกินอิ่ม เรายิ้มได ที่ดําเนินการที่จังหวัดศรีสะเกษ พบวาการสงเสริม เรื่องการกินอาหารกลางวันที่สงเสริมการกินผักผลไมใหกับเด็ก สามารถ แกปญหาไดทั้ง ปญหาเด็กน้ําหนักต่ํากวาเกณฑ และเด็กอวน ดังแสดงในกราฟ ความชุกของภาวะอวน และ น้ําหนักเกิน (weight for length) ของเด็กนักเรียนจังหวัดศรีสะเกษ ป 2545-2550 รอยละ 10 คา ของประเทศ 8 6 4.29 3.9 4 3.09 2.64 1.63 2 0 2545 2546 2547 2548 2549 2550 ป ที่มา: สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ความชุกของภาวะน้ําหนักต่ํากวาเกณฑ (weight for age) ของเด็ก นักเรียนจังหวัดศรีสะเกษ ป 2545-2550 รอ ยละ 20 19.64 14.7 15 11.91 8.42 คาของประเทศ 10 6.38 5 0 ป 2545 2546 2547 2548 2549 2550 ที่มา: สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ 8 สุทธิลักษณ สมิตะสิริ นําเสนอ ในการประชุม Formulation Regional Oral Health Strategy ตุลาคม 2551 12
  • 18. นอกจากนี้ผลการวิจัยทุกเรื่องบงชี้วาการสงเสริมใหเด็กไดรับประทานอาหารมื้อหลักที่ ครบถวน พอเพียง ยังชวยใหเด็กมีการเจริญเติบโตที่เหมาะสม และมีพัฒนาการเต็มศักยภาพตาม วัยอีกดวย พันธมิตรถูกใจ เมื่อเราพบวามาตรการในการสงเสริมอาหารมื้อหลักใหแกเด็กจะชวยใหเด็กรับประทาน อาหารที่ไมมีประโยชนลดลงดังนี้แลว เราก็นําเรื่องนี้ไปบอกเลากับครู พี่เลี้ยงเด็ก ผูแทนจาก องคการบริการสวนทองถิ่น และผูปกครองที่เปนพันธมิตรในการตอสูกับอาหารที่ไมมีประโยชน ของเด็กในการประชุม “การสงเสริมสุขภาพชองปากและพัฒนาการของเด็กปฐมวัยและเด็กวัย เรียนชวงตน จ.เชียงใหม” ปรากฏวาเปนที่ถูกใจของพันธมิตรมาก เพราะเขาเห็นวามาตรการ การสงเสริม อาหารที่เปนประโยชน อันเปนมาตรการเชิงบวกที่ทําไดงาย ไดใชความคิดริเริ่ม ที่ ดีๆ ทาทายความสามารถ นอกจากนี้การสงเสริมการรับประทานที่มีประโยชนยังทําใหขยาย ประเด็นในเรื่องสุขภาพ จากสุขภาพในชองปากออกไปสูเรื่องการปองกันโรคไรเชื้อที่กําลังเปน ปญหาสุขภาพที่เริ่มคุกคามประชาชนเปนจํานวนมากอยูในปจจุบัน ทําใหหาพันธมิตรที่มา รวมกันดําเนินงานไดงาย ซึ่งนาจะสงผลใหเกิดความสําเร็จไดอยางยั่งยืน จากเหตุผลที่กลาวมาทั้งหมดนี้ทําใหเกิดแนวทาง สงเสริม วัยซน วันใส ใสใจมื้อหลัก 13
  • 19. วิธีการสงเสริม ที่ขอนําเสนอ  เคล็ด(ไม)ลับในการสรางสุขนินับการกินใหเด็ก การสรางคานิยมในการรับประทาน ดวยเทคนิคในการสงเสริม การปลูกผัก การใหเด็กชวยประกอบอาหาร และการสรางวินัย ในการรับประทานอยางตอเนื่อง ชวยสรางสุขนิสัยในการกินให เกิดขึ้นได นอกจากนี้ การจัดสภาพแวดลอมที่เหมาะสมยัง เปนปจจัยสําคัญตอความสําเร็จอีกดวย  อาหารกลางวันในโรงเรียน ที่เปนมากกวา พลังงาน และโภชนาการ เบื้องหลังอาหารกลางวันในโรงเรียน ที่รัฐบาลของประเทศที่ พัฒนาแลวทุมทุนมหาศาลใหแกเด็กๆมีอะไรซอนอยูมากมาย นาคนหา  กระบวนการสงเสริมมื้อหลักที่ถูกใจชาวไทย ดวยความเอาใจใส และใสใจของของครู ผูปกครอง องคการ บริหารสวนทองถิ่น ตลอดจนชุมชน ที่ใหความสําคัญตอ สุขภาพอนามัย และ การเจริญเติบโตของเด็ก ไดชวยกัน ดําเนินงานสงเสริมมื้อหลัก ภายใตขอจํากัดมากมายของ ประเทศไทย เปนเสมือนแสงสองทางในการดําเนินงานที่ลวน ทาทายความสามารถ 14
  • 20. กระบวนการที่ไดมาของขอมูลทีนํามาเสนอในหนังสือเลมนี้ ประกอบดวยขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. เรียบเรียงขอมูลจากการศึกษาที่เกี่ยวของที่มีอยูแลว ทั้งในประเทศ และตางประเทศ 2. นําขอมูลที่หาได พรอม แนวคิด”สงเสริมวัยซน วัยใส ใสใจมื้อหลัก” และ ประสิทธิผลใน การแกไขปญหาสุขภาพ เสนอแกกลุมเปาหมาย อันไดแก พอ แม ครู พี่เลี้ยง และ ผูรับผิดชอบเด็กวัยกอนเรียน ขององคการบริหารสวนทองถิ่น 3. ขอรับทราบความคิดเห็น เกี่ยวกับขอมูลที่นําเสนอ ประสบการณที่เคยสงเสริมการกินมื้อ หลักของเด็ก และแนวทางที่คิดวาจะปฏิบัติตอไป 4. นําขอมูลที่ไดมาคัดเลือก กรณีที่สําเร็จ และผูอื่นอาจนําไปปฏิบัติตอได นํามาเรียบเรียงให เหมาะสม ขอมูลที่ไดจากตางประเทศ: เคล็ด(ไม)ลับในการสรางสุขนิสัยการกินใหเด็ก การสรางคานิยมในการรับประทาน การสงเสริมการปลูกผัก อาจเริ่มจากที่บาน ประสบการณจากครอบครัวหนึ่งเลาวา “ครอบครัวเรามีลูก 3 คน อายุ 5 ขวบ 3 ขวบ และขวบครึ่ง เราสอน ใหเขารูวาอาหารที่ดีตอสุขภาพเปนอยางไร เด็กๆจะคอยๆซึมซับ และบางครั้งก็ไดยินเขาคุยกันวากินแอปเปลแลวจะทําใหแข็งแรง เราจะปลุกอะไรที่กินไดทุกป ไมจําเปนตองใชที่มากมาย ปนี้เรา ปลูกมะเขือเทศหลายๆพันธุ ปที่แลวเราปลูกฟกทอง สิ่งเหลานี้จะ ชวยสอนเด็กใหรูจักการปลูกพืชผักและยังไดลิ้มลองผักสดๆที่ปลูก เองดวย 15
  • 21. การสงเสริมใหเด็กปรุงอาหาร โรงเรียนควรมีชั่วโมงสอนการทําอาหารในเวลาหรือ นอกเวลาเรียน หรือพอแมอาจสอนเด็กที่บานโดยเริ่มจากการทําอาหารงายๆที่ไมตองใชทักษะ มากมาย เด็กเล็กอาจมีสวนในการลางผักผลไมหรือตวงวัดอาหารบางอยาง เด็กโตขึ้นมาอาจ ชวยหั่นผัก ฯลฯ การเรียนรูวิธีทําอาหารจะใหประโยชนคือ 1. ชวยใหเด็กมีความรูในการเลือกวัตถุดิบ และเรียนรูสวนประกอบของอาหารวาชนิดใดมี ประโยชนตอสุขภาพ เพื่อใหหางไกลจากอาหารสําเร็จรูปหรืออาหารจานดวนที่มีน้ําตาล ไขมันและเกลือในปริมาณสูง 2. สรางความสัมพันธใน ครอบครัว ขณะปรุงอาหาร ดวยกันเด็กจะมีความรูสึก เหมือนตัวเองเติบโตเปน ผูใหญเกินอายุเพราะไดรับ การไววางใจในทํากิจกรรมที่ สําคัญในครอบครัว สงผลให เด็กมีความรับผิดชอบมากขึ้น นอกจากนี้ยังชวยใหเด็กเกิด ความผอนคลาย กลาพูดกลาเลาประสบการณตางๆขณะอยูใกลชิดกัน 3. ทํา ให เด็ก ภูม ิใจในตั วเอง เมื่อพูด ได เต็มปากเต็ ม คํา วาทําอาหารชนิดนี้ ดว ยตัวเอง หรื อ เมื่อไดรับคําชมเชยวาอรอย 4. ทํา ใหเด็กยอมลิ้มลองอาหารชนิดใหม ๆง ายขึ้น เด็ กที่ทํา อาหารดวยตั วเองมักจะยอมกิน หรืออยางนอยลองชิมสิ่งที่ตัวเองปรุง แมวาครั้งแรกๆอาจกินไม หมดหรือไมยอมลองเลย โดยเฉพาะผักและผลไมบางชนิด 5. การ ปรุ งอาหารช ว ยให เ ด็ ก เรี ย นรู ทัก ษะด า นคณิ ต ศาสตร เช น ½ ถ ว ยจะมี ป ริ ม าณ มากกวา ¼ ถวย หรือ ถาดขนาด 13 x 9 เปนอยางไร ฯลฯ 6. การอ านคูม ือปรุงอาหารเปนวิ ธี หัดอ านหนั งสือที่ ดีที่สุ ด เพราะถ าปฏิบั ติต ามขั้ นตอนได ถูกตองอาหารมักออกมาดี ทําใหเด็กเรียนรูความสําคัญของการอานหนังสือ 16
  • 22. 7. สวนหนึ่งของการปรุงอาหารคือการซื้อวัตถุดิบ เด็กไดเรียนรูแหลงที่ม าของอาหาร เชน พิซซาไมจําเปนตองซื้อจากรานขายฟาสตฟูด หรือซอสสปาเกตตีก็สามารถทําเองไดโดย ไมตองซื้อชนิดบรรจุกระปอง 8. การปรุงอาหารชวยใหเด็กเรียนรูวัฒนธรรมการกินของชนชาติอื่นๆ การสรางวินัยในการกิน ทําไมเด็กชอบหรือไมชอบกินอาหารบางอยาง พฤติกรรมการกินของเด็กขึ้นกับ หลายปจจัย – กรรมพันธุอาจมีสวนบางเล็กนอย แตปจจัยสวนใหญเกิดจาก พอแมและคนใน ครอบครัว ความสัมพันธในสังคม เพื่อนบาน ชุมชน และโรงเรียน และอีกดานหนึ่งที่สงผลกระทบ ในวงกวางก็คือ วัฒนธรรมการกิน ภาวะเศรษฐกิจ และอิทธิพลของการตลาด พอแม: เปนคนแรกที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการกินของเด็ก พันธุกรรมและ สรีรศาสตรมีสวนกําหนดคุณลักษณะเฉพาะบางอยาง เชน ความสามารถที่จะบอกวาตัวเองหิว อยากอาหาร หรืออิ่มแลว หรือการรับสัมผัสตางๆ เชน กลิ่น ความนากิน และรสชาติของอาหาร การที่เด็กจะชอบหรือเกลียดรสชาติอาหารชนิดใดมาแตกําเนิดพบไดนอยมาก เทาที่พบ คือ ไมสามารถทนรสขมได ทําใหเด็กไมชอบกินผักขมๆ เชน บรอคโคลี่ หรือชอบรสหวานหรือ อาหารมันๆมาก 17
  • 23. โดยธรรมชาติเด็กมักชอบ อาหารรสหวาน มัน เค็ม แตไมชอบรส ขมหรือรสจัดจาน ไมคอยกลาลอง อาหารแปลกๆใหมๆ เด็กสวนใหญจะมี พฤติกรรมลักษณะนี้ไปจนถึงวัยผูใหญ ถาพอแมสนองตอบโดยยอมใหเด็กกิน แตอาหารที่ชอบ ก็จะบมเพาะนิสัยให เด็กติดการกินอาหารที่ไมดีตอสุขภาพ มีงานวิจัยที่พบวาอิทธิพลจาก สิ่งแวดลอมและดานจิตใจสามารถ ปรับเปลี่ยนลักษณะตามธรรมชาติของ เด็กได พอแมตองใจแข็งไมตามใจเด็ก และใหเด็กมีโอกาสสัมผัสอาหารที่มีประโยชนตอสุขภาพบอยๆ งานวิจัยดานโภชนาการชี้วา การสัมผัสอาหารซ้ําๆจะชวยเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็ก ชวยใหเด็กลดอาหารหวานได งานวิจัย ชิ้นลาพบวา ทารกในครรภที่คุนเคยกับรสชาติอาหารที่แมกินผานทางรกระหวางตั้งครรภจะ พัฒนาความชอบอาหารรสนั้นๆหลังคลอด ดังนั้นการจะถายทอดความชอบรสชาติใดๆจึง สามารถทําไดดีที่สุดระหวางตั้งครรภ ซึ่งสามารถควบคุมพฤติกรรมการกินของเด็กไดเต็มรอย ผูหญิงตั้งครรภจึงควรเลือกกินอาหารที่มีประโยชนตอสุขภาพ ความชอบหรือไมชอบในวัยเด็กจะกลายเปนนิสัยติดตัวเด็กตั้งแตอายุ 2 ขวบ ชวง 5 ป จากนี้อาจเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็กไดบางเล็กนอย พบวา สามารถคาดเดาอาหารที่เด็กวัย 8 ขวบชอบกินจากอาหารที่เขาชอบเมื่ออายุ 4 ขวบซึ่งสวนใหญชอบที่จะกินอาหารที่พอแมไม อยากใหกิน หลังจาก 2 ขวบไปแลวอิทธิพลจากภายนอกจะเริ่มเขามามีบทบาท จะเห็นวา การจะ ปรับเปลี่ยนนิสัยการกินของเด็กนั้นมีชวงเวลาเพียง ‘นอยนิด’เทานั้น ในขวบปแรก ชวงเวลาใหอาหารเด็กเปนเวลาแหงการเสริมสรางสัมพันธภาพของแมและ ลูก เปนการแบงปนประสบการณที่นอกเหนือจากการเลี้ยงดูใหอิ่มหนําสําราญแลว ยังเปนเวลา แสดงออกถึงความไวเนื้อเชื่อใจและความมั่นคงปลอดภัย เมื่อเขาถึงวัย 1-5 ป เด็กมีพัฒนาการดานรางกายและสติปญญาเร็วมาก พฤติกรรมการ กินและความชอบอาหารจะเปลี่ยนจากการพึ่งพาแม เปนการหัดเรียนรูดวยตัวเอง โดยแมมีหนาที่ ‘คอยควบคุม’ 18
  • 24. เด็กวัยนี้จะมีพฤติกรรมการกินตางๆกัน อาจไมกลากินอาหารที่ไมคุนเคย หรือมีแนวโนม ชอบกินอาหารบางอยางซ้ําๆ หรือบางคนไมยอมกินอาหารที่เปอนอาหารชนิดอื่น วิธีแกไขก็คือ การซื้อถาดอาหารและแยกอาหารใสแตละหลุม การแกพฤติกรรมของเด็กตองทําแบบคอยเปนคอยไป วันนี้กาวหนาไป 1 กาวแตวัน ถัดไปอาจตองยอมถอยกลับมา 1 กาวก็ได เสนทางสูความสําเร็จอยูลิบๆไกลออกไป แตสิ่งตอง ทําระหวางทางนั้นคือ ความมุงมั่นที่จะใหเด็กไดรับอาหารที่สมดุล บางครั้งเด็กไมชอบกินผัก บางอยาง อาจไมเกี่ยวกับตัวผักชนิดนั้น แตเด็กอาจมีประสาทรสที่ตางจากคนอื่นมาแตกําเนิด เด็กกลุมนี้จะไวตอการรับรสขม อาหารที่ปรุงแบบจืดชืด หรือเปนการตอตานพอแมที่ชอบขูวา ‘ถาไมกินผัก ก็ไมตองกินของหวาน’ วิธีการนี้ไมไดสงผลดีเลยแตกลับทําใหเด็กเกลียดผักชนิด นั้นมากขึ้น ทางที่ดีควรพยายามชักชวนเด็กใหทดลองทานโดยไมมีการคาดโทษหรือควบคุม มากเกินไป เพราะบรรยากาศในการกินอาหารที่ดีจะชวยสงเสริมใหเด็กกินอาหารที่ดีตอสุขภาพ ในภายภาคหนา วิธีการที่ดีอีกวิธีหนึ่ง คือ ความ เพียรพยายามอยางตอเนื่อง งานวิจัย ชิ้นหนึ่งใหเด็ก ลองชิมรสชาติผัก ใหมๆ 1 อยาง เชน พริกหยวก วันละ 10 ครั้ง พบวาความถี่ในการสัมผัส เพิ่มความชอบของเด็ก หรืองานวิจัย คลายๆกันที่ลองใหเด็กกลุมหนึ่งกินผัก ชนิดเดียววันละ 1 ครั้งติดตอกัน 14 วัน (ปรุงแบบตางๆไมซ้ํากัน)ก็ไดผลดี เชนกัน บุคคลที่สําคัญและมีบทบาทมากที่สุด คือ พอแม - เด็กในวัย 2-6 ปชอบกินผักหรือผลไม มากนอยเพียงใดดูไดจากปริมาณที่พอแมบริโภค ไมมีเด็กอยากกินอะไรที่คนอื่นเขาไมกินกัน ดังนั้นถาพอแมกิน เขาก็จะกินดวย การที่พอแมเปนแบบอยางที่ดีใหลูกจึงเปนสิ่งจําเปน การชี้ให ลูกเห็นโดยทางตรงวา ‘นี่คือสิ่งที่แมกิน’ หรือทางออมโดยแนะนําวา ‘การลิ้มลองอาหารใหมๆเปน ประสบการณที่นาตื่นเตน ทําใหสุขภาพแข็งแรง และยังอรอยดวย’ 19
  • 25. การจะเปนแบบอยางที่ดีใหลูกเห็น พฤติกรรมการกินที่ถูกตอง ตองพยายามกิน อาหารกับลูก เวลาอาหารควรเปนเวลาสําคัญ ทั้งในดานโภชนาการและการพูดคุยสังสรรค มีงานวิจัยมากมายที่พบวา ครอบครัวที่กิน อาหารดวยกันจะกินอาหารที่มีประโยชนตอ สุขภาพมากกวา และเด็กมีแนวโนมที่มีผล การเรียนดีกวา ไมคอยหันเหไปหายาเสพติด และแอลกอฮอล ที่สําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ พอแมสามารถคงความเปนตัวอยางที่ดีใหลูกดานการเลือก ซื้อเฉพาะอาหารสุขภาพเขาบาน เด็กเล็กในขวบปแรกๆจะเปนนักสํารวจพฤติกรรมของพอแม ดังนั้นจะซึมซับพฤติกรรมการกินที่ดี แมจะไมคอยชอบอาหารบางอยางมากนัก พอแมคือตนแบบของลูก พอแมอาจเปนไดทั้งตนแบบที่ ‘ดี’ และ ‘ไมด’ ของเด็กก็ได ี  ในชวงขวบปแรกๆ เด็กเรียนรูวา ตองกินอะไร กินเมื่อใด และกินมากแคไหน ขึ้นอยูกับวัฒนธรรมในครอบครัว ทัศนคติ ความเชื่อ และธรรมเนียมปฏิบัติ เกี่ยวกับอาการการกิน  สิ่งที่พอแมกินจะเปนตัวอยางใหลูก งานวิจัยชิ้นหนึ่งพบวา ในครอบครัวที่แมชอบ ดื่มนม ลูกสาวจะดื่มนมมากกวาและกินน้ําอัดลมนอยลง และงานวิจัยอีกชิ้นโดย นักวิจัยกลุมเดียวกันก็พบวา แมที่กินผักและผลไมมากจะมีลูกสาวที่กินผักผลไม มากกวาดวย  เด็กที่เห็นพอแมอดอาหารเพื่อลดความอวนจะอดอาหารเชนเดียวกัน โดยเชื่อวา สิ่งนี้เปนพฤติกรรมการกินที่ปกติ การบังคับใหลูกกินอาหารโดยใหรางวัลลอใจ ชวยใหเด็กกินอาหารอยางถูกตองหรือไม  การบังคับใหลูกกินอาหารบางอยางจะทําใหเด็กกินไดนอยลง อาหารที่เด็กถูก บังคับใหกินมากขึ้นและบอยครั้งขึ้น ไดแก ผักและผลไม งานวิจัยพบวายิ่งบังคับ ใหเด็กกินผักและผลไมมากขึ้นจะลดความชอบของเด็ก ทําใหเด็กยิ่งกินนอยลง  การใหรางวัลลอใจ เพื่อใหเด็กกินอาหาร ‘สุขภาพ’ จะเพิ่มความเกลียดอาหารนั้น ใหเด็ก ตอไปเด็กจะไมอยากกินอีก 20
  • 26. การหามกินอาหารบางอยางที่พอแมเห็นวา ‘ไมคอยดีตอสุขภาพ’ อยางเครงครัด มากเกินไป (เชน อาหารหวานจัด มีไขมันสูง มีแคลอรีสูง ) อาจสงผลใหเด็กกิน อาหารเหลานี้มากจนลนเกินและ ‘โหยหา’ แตอาหารประเภทนี้ ดังนั้น แทนที่จะ หามโดยเด็ดขาด อาจซื้อติดบานไวเพียงเล็กนอย  พอแมที่เปนโรคอวนหรือมีปญหาเรื่องการควบคุมน้ําหนักตัว ตองระวังเรื่องการ ควบคุมอาหาร เพราะเด็กอาจไดรับสารอาหารไมเพียงพอตามไปดวย อาหารชนิดใดที่ควรใหเด็กกิน พอแมควรระมัดระวังและเลือกอาหารที่มีประโยชนตอ สุขภาพมาปรุงอาหารและของวางทุกมื้อ เพื่อใหเด็กคุนเคยวาสิ่งเหลานี้คือ ‘อาหาร ปกติ’ที่เขาควรเลือกกิน เมื่อ ‘อาหารสุขภาพ’ กลายเปน ‘อาหารปกติ’ และเด็กเห็นพอแม กินอาหารเหลานี้เปนประจํา โอกาสที่เด็กจะ เติบโตและเลือกกินไดอยางถูกตองก็มีความ เปนไปไดสูง ปจจัยที่มีผลตอการเลือกอาหารสําหรับเด็ก  ความสะดวกในการเขาถึงอาหาร ปจจุบันอาหารมีใหเลือกกินอยางเหลือเฟอและ งายดาย ทําใหเผลอกินทั้งๆที่ไมหิว หรือไมไดตระหนักวาทั้งวันกินมากเทาใด แลว ผูเชี่ยวชาญเชื่อวาความสะดวกในการเขาถึงอาหารเปนสาเหตุของการมี น้ําหนักตัวเกินพิกัดในคนอเมริกันทั้งเด็กและผูใหญ โรงเรียนจะมีตูขายขนมและ เครื่องดื่มที่ไมคอยมีประโยชนตอสุขภาพ รานฟาสตฟูดมีกระจัดกระจายอยูทวไป ั่ และสวนใหญขายอาหารขนาด ‘super-sized’ ทําใหไดรับแคลอรี่มากเกินความ ตองการของรางกาย ปจจุบันแมขนาด ‘ปกติ’ ที่มีจําหนายก็มีปริมาณมากกวาใน อดีต ดังนั้น พยายามทําอาหารกินเอง เพื่อเด็กจะไดกินตรงเวลา ไมหิวจัดจนตอง ซื้อขนมหรือฟาสตฟูดมากินบอยๆ 21
  • 27. แบบแผนการกิน เด็กที่กินอาหารตรงตามเวลาที่บานมักจะไดรับอาหารที่มี ประโยชนตอสุขภาพ และพบมีปญหาเรื่องน้ําหนักตัวเกิน นอยกวาเด็กที่กินจุบจิบ ตลอดทั้งวัน การเสียเวลาจัดเตรียมอาหารจะชวยใหเด็กไดรับสารอาหารครบ และ การกินอาหารพรอมหนากันในครอบครัวจะชวยสงเสริมความใกลชิดใน ครอบครัว เปนเวลาสําคัญสําหรับแลกเปลี่ยนและพูดคุยถึงกิจกรรมที่เกิดขึ้นใน แตละวัน และยังชวยใหเด็กเรียนรูรูปแบบของ ‘อาหารสมดุล’ วาควรมีลักษณะ แบบใด  อาหารกับสังคมและวัฒนธรรม ความเชื่อทางศาสนา ฯลฯ อาจทําใหตองงด อาหารบางอยาง และอาหารของบางเชื้อชาติก็เปนอาหารสุขภาพที่ดี เชน สปา เก็ตตีใสซอสมะเขือเทศ ใสเนื้อ และเนยแข็ง จัดเปนอาหารครบ 4 หมูได แตตอง ไมใสไขมันมากเกินไป  อารมณ โรคซึมเศรา วิตกกังวล ความเบื่อหนาย จะสงผลใหเกิดนิสัยการกินที่ไม ดี ดังนั้นตองรักษาเรื่องอารมณกอน  อาหารและการตลาด ปญหาจากสภาพเศรษฐกิจในปจจุบันสรางความเสียหาย ใหกับครอบครัวเปนจํานวนมาก หลายคนหันมาเปนลูกคาอาหารจานดวนแทน ซึ่งรานเหลานี้ก็ตอบสนองลูกคาอยางดี โดยไมสนใจกระแสสุขภาพและการโจมตี วาอาหารฟาสตฟูดไขมันสูงทําใหเกิดโรคอวน หลายบริษัทรุกชองทางเดลิเวอรี เนนความสะดวก รวดเร็ว บริการถึงบาน เพิ่มเวลาใหบริการ 24 ชั่วโมง หรือแจก ของแถมรวมกับอาหารที่สั่งซื้อเพื่อลอใจเด็ก ซึ่งเด็กสามารถเขาถึงชองทาง เหลานี้ไดสะดวกขึ้น ปจจุบันเจาของตลาดสินคาเด็กยังหันมาลงโฆษณาเพื่อ เขาถึงกลุมเปาหมายผานทางเคเบิล-ทีวีดาวเทียมแทนการโฆษณาผานฟรีทีวีเพื่อ เลี่ยงขอจํากัดที่หนวยงานรัฐบังคับใช 22