SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
รองศาสตราจารย์พัชรี วรกิจพูนผล, RN, APN, PhD
กลุ่มวิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทบาทพยาบาล
การดูแลผู้ป่ วยที่มีภาวะปากแหว่ง
และ/หรือเพดานโหว่
หลักฐานเชิงประจักษ์
หัวข ้อเนื้อหา
ความหมาย ประเภท01
อุบัติการณ์ สาเหตุ ปัจจัย02
การรักษา03
ผลกระทบและบทบาทพยาบาล04
แบบทดสอบ
ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ แบ่งเป็น ปากแหว่ง (CL),
ปากแหว่งเพดานโหว่ (CLP),เพดานโหว่ (CP) เท่านั้น
CL/Pเป็นความพิการที่เกิดร่วมกับภาวะผิดปกติอื่นๆ
ของศีรษะและใบหน้า (Craniofacialanomaly)
CL/Pเป็นโรคทางกรรมพันธุ์ที่มีโอกาสเกิดซ้าได้ในลูกคนต่อไป
สูงประมาณ 3-15% ขึ้นอยู่กับชนิดของปากแหว่งเพดานโหว่
เด็กที่เกิดใหม่เป็นผู้ชาย โอกาสที่จะเกิดเพดานโหว่ สูงกว่า
เด็กที่เกิดเป็นเพศหญิง
ข้อใด
?
B
D
(Lewis et al., 2017)
คาย่อ
• CL
• CL ± A
• CP
• CLP
• CL ± P
• CP ± CL
• CL/P
(ปองใจ, 2553)
อุบัติการณ์
(มารศรี ชัยวรวิทย์กุล, 2555)
อุบัติการณ์
(Lewis et al., 2017)
(Lewis et al., 2017)
สาเหตุและปัจจัย
ปัจจัยทางด ้านพันธุกรรม ปัจจัยด ้านสิ่งแวดล ้อมที่เกี่ยวข ้องกับ
การตั้งครรภ์ของมารดา
0.4 mg of folic
acid daily
A special feeding device
Initiation of dental care
Psychosocial support / resources/ and Financial support
Information / Education
Speech assessment and intervention
Dental and orthodontic care
Hearing screening (6m)
Rule of 10 : Surgical interventions
การรักษาในระยะต่างๆ
“Rule of 10’s” เก่าไปรึยัง
โดย traditional timeline คือ 3-6 เดือน เพราะช่วงเวลาดังกล่าว
ทารกจึงจะมีลักษณะครบตาม “Rule of 10’s” ซึ่งได ้แก่ น้าหนัก 10
pounds เลือดมีระดับ hemoglobin 10g/dl หรือเม็ดเลือดขาว 10
(Chow et al., 2016) เพราะ William and Musgrave (1966) ระบุ
จะทาให ้เกิดภาวะแทรกซ ้อนได ้ถึง 5 เท่า แต่อย่างไรก็ตามปัจจุบัน
มีรายงานพบว่า การซ่อมแซมริมฝีปากแหว่งและจมูกในผู้ป่ วย 32
คนที่อายุเฉลี่ย 34.8 วัน (13–69 วัน) ได ้อย่างปลอดภัยและมี
ประสิทธิภาพในการปรับปรุงความสมมาตรของจมูก อย่างไรก็ตามมี
อัตราภาวะแทรกซ ้อนร ้อยละ 3.1 การผ่าตัดที่เร็วขึ้นเป็นกระบวน
ทัศน์เปลี่ยนในการรักษาปากแหว่งและความผิดปกติของจมูก และ
ผลการสารวจจากครอบครัวระบุว่าต ้องการการซ่อมแซมแบบเร็วนี้
(Hammoudeh et al., 2017)
Traditional timeline Rule of 10’s (delay until 3-6 months) 
Earlier interventions can lead to improve long-term
outcomes?
A paradigm shift of treatment
As early as 14 days of life
Early cleft lip and repair
It can be performed safely and is effective at improving
postoperative nasal symmetry. In terms of anesthesia,
complication rates similar to standard repair.
Complication
Indeed, this study was able to achieve a statistically
significance correction of cleft nasal deformity primarily
through nasal molding alone.
Long term data
Small sample sizes / high facility and experience of team
Limitations
Published online 26 June 2017
Wonder
ผลกระทบและบทบาทของสหวิทยาการ
ผลกระทบ
• ภาพลักษณ์ของใบหน้า
• การพูดไม่ชัด การได ้ยินบกพร่อง
• การติดเชื้อของหูชั้นกลางและ
ทางเดินหายใจส่วนบน
• ปัญหาช่องปากและฟัน
• การกลืนลาบาก
• การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ล่าช ้า
• ความวิตกกังวลใจของครอบครัว
• คุณภาพชีวิต
การดูแลแบบสหวิทยาการ
• ทีมแพทย์สาขาต่างๆ เช่น กุมารแพทย์สาขา
ต่างๆ ศัลยแพทย์ตกแต่ง โสต ศอ นาสิกแพทย์
วิสัญญีแพทย์
• ทีมพยาบาลผู ้ให ้การดูแลและให ้คาแนะนาใน
การให ้นมเด็ก
• นักโภชนาการ
• ทีมทันตแพทย์ เช่น ทันตแพทย์เฉพาะ
ทางด ้านศัลยศาตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟ
เชียล ทันตกรรมสาหรับเด็ก ทันตกรรมจัดฟัน
และทันตกรรมประดิษฐ์ เป็นต ้น รวมทั้งผู ้ช่วย
ทันตแพทย์และช่างทันตกรรม
• นักตรวจการได ้ยิน
• นักบาบัดการพูดนักเวชศาสตร์การสื่อ
ความหมาย/นักฝึกพูด
• นักสังคมสงเคราะห์ และบุคลากรทาง
สาธารณสุขอื่นๆ
(สุธีรา ประดับวงษ์, 2550)
(สุธีรา ประดับวงษ์, 2550)
พยาบาลยังขาดความรู้ที่ลึกซึ้ง สิ่งแวดล้อมห้องตรวจไม่เอื้ออานวยในการให้ความรู้
ไม่เข้าใจแผนการรักษาสมาชิกทีมไม่ทราบบทบาทหน้าที่ ขาดการสื่อสารการรักษาของสมาชิกทีม ขาดการประเมินผลลัพธ์ของการรักษา
ขาดความรู้ความเข้าใจในแผนการรักษา
เข้าถึงแหล่งประโยชน์ยาก
การศึกษา/ฐานะทางเศรษฐกิจ
นโยบายการรักษาไม่แน่นอน ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ความร่วมมือระหว่างองค์กร (ตัวกลางในการประสาน)
(สุธีรา ประดับวงษ์, 2550)
พยาบาลยังขาดความรู้ที่ลึกซึ้ง ได้แก่ การจัดสันเหงือกก่อนผ่าตัด กระบวนการทาและใส่เพดานเทียมกระบวนการจัดฟัน
พยาบาลยังขาดความรู้ที่ลึกซึ้ง ได้แก่ การฝึกพูด การประเมินภาวะความบกพร่องของเพดานอ่อนและผนังคอหอย
Coordinat
or
NURSE
Inform Rx.
Educate
Priority ER
F/U
Summary
problems
Database
management
Contact
special
clinic
Researcher
Environment
Facilitate
support
group
Evaluation
Meeting
Networking
group
ข ้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ก่อนการผ่าตัด (preoperative nursing diagnosis)
– เสี่ยงต่อได ้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต ้องการของร่างกาย
เนื่องจากความยากลาบากในการดูดนม (สอนอุ้มเวลาป้อน enlarge
stimulate swallow and rest ; ESSR method และ device ต่างๆ)
– การเจริญเติบโตและพัฒนาการล่าช ้าเนื่องจากได ้รับสารน้าและ
สารอาหารไม่เพียงพอ
– เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ ้อน เช่น การสาลัก เนื่องจากไม่สามารถ
ดูดกลืนได ้ปกติ
– สัมพันธภาพระหว่างทารกและครอบครัวบกพร่องเนื่องจากความรู้สึกผิด
หรือสูญเสีย หรือ บิดามารดาและผู้ดูแลวิตกกังวลเกี่ยวกับความผิดปกติ
แต่กาเนิดของทารก (อุ้ม อธิบายสาเหตุ รูปเทียบ support group สอน
อุ้มเวลาป้อน)
– บิดามารดาและผู้ดูแลขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและวิธรการรักษาผู้ป่ วย
– เสี่ยงต่อการติดเชื้อและการอุดกั้นในระบบทางเดินหายใจทั้งส่วนบนและ
ส่วนล่างจากเสมหะ
ข ้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
หลังการผ่าตัด (post-operative nursing diagnosis)
– เสี่ยงต่อการเกิดแผลแยกหรือติดเชื้อ
– ไม่สุขสบายเนื่องปวดแผลผ่าตัด
– เสี่ยงต่อการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบนและ
ส่วนล่างเนื่องจากการสาลัก
– เสี่ยงต่อการหายใจไม่มีประสิทธิภาพภายหลังได ้รับยา
ระงับความรู้สึก
– เสี่ยงต่อได ้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต ้องการ
ของร่างกายเนื่องจากข ้อจากัดของการดูดกลืนหลัง
ผ่าตัดปากแหว่งหรือเพดานโหว่
– บิดามารดาและผู้ดูแลขาดความรู้ความเข ้าใจเรื่องการ
ดูแลทารกที่ได ้รับการผ่าตัดเมื่อกลับไปอยู่ที่บ ้าน
บทบาทพยาบาล
To ensure that care is provided in a coordinated, consistent manner with the proper sequencing of evaluations and treatments within
the framework of the patients overall developmental, medical, and psychological needs (ACPA, 2017).
ส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการ:
ภาพลักษณ์ของใบหน้า
การดูดกลืนลาบาก การพูดไม่ชัด การได ้ยินบกพร่อง
ให ้ความรู้ผู้ดูแลเพื่อ
ป้องกันปัญหาสุขภาพ:
การติดเชื้อของหูชั้น
กลางและทางเดิน
หายใจส่วนบน ปัญหา
ช่องปากและฟัน
การกลืนลาบาก
ดูแลแบบองค์รวม
ทาหน้าที่ประสานงาน
ระหว่างครอบครัวและ
หน่วยงานต่างๆ โดย
คานึงถึงคุณภาพชีวิตของ
เด็กและครอบครัว:
ความวิตกกังวลใจของ
ครอบครัว การรักษาที่
ต่อเนื่องและยาวนาน
ค่าใช ้จ่าย
Assessment of growth and feeding practices in children with cleft lip and palate (Gopinath & Muda, 2005)
Weight Gain in Children with Cleft Lip and
Palate without Use of Palatal Plates
(Freitas et al., 2012)
Weight Gain in Children with Cleft Lip and
Palate without Use of Palatal Plates
(Freitas et al., 2012)
(Gopinath & Muda, 2005)
• 88.2% of the mother with CLP infants tried to BF, only 40% were successful (normal 90%)
• Anatomical defect in the lip and palate
• Ability of mothers to position the nipple properly in the infant’s mouth
• Use of bottles or spoons for feeding
(Gopinath & Muda, 2005)
• CLP infants from birth to 24 months were at
risk for common manifestations of infection
such as diarrhea and fever.
• Use of bottles or spoons for feeding
• CLP infants measured on the height growth
curve than normal infants, but there was no
difference in the other parameters.
• Rate of growth in height in this age
• By 3 years caught up to the normal
growth
Feeding methods for children with cleft lip
and/or palate: a systematic review
(Duartea, Ramosb, & Cardosoa, 2016)
squeezable bottle, syringe, and paladai bottle
การพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์หุ่นใบหน้าจาลอง
ปากแหว่งเพดานโหว
สื่อเสริมทักษะในการให ้ข ้อมูลแก่
ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะปากแหว่ง
เพดานโหว่ให ้มีความรู้ความเข ้าใจใน
ลักษณะของความผิดปกติที่มีส่วน
เกี่ยวข ้องในหลายระบบ พร ้อมทั้ง
การรักษาที่จะได ้รับจากทีมสหสาขา
วิชาชีพในระยะเวลาที่ยาวนาน ตาม
ช่วงอายุที่เหมาะสม
แหล่งข ้อมูล
แผ่นพับและ
สื่อต่างๆ
เครื่องประเมินการแปรเสียงและการสั่นพ ้องของเสียง
(Naso-articulometer)
หลังจากผ่าตัดแล ้ว เด็กส่วน
ใหญ่ยังต ้องเผชิญกับปัญหาการ
พูดผิดปกติ พูดไม่ชัด มากถึง
88.56% เสียงสั่นพ ้องหรือเสียง
ขึ้นจมูกผิดปกติ 43.26%
TAKE HOME MESSAGE
Thank you

More Related Content

Similar to Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว่ โดย รศ.ดร พัชรี วรกิจพูนผล

บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็กCPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็กThorsang Chayovan
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-newwarit_sara
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็กแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรtaem
 
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...cmucraniofacial
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักdentyomaraj
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
หลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdf
หลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdfหลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdf
หลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdfssuser5ac523
 
9789740333463
97897403334639789740333463
9789740333463CUPress
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCCAPD AngThong
 

Similar to Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว่ โดย รศ.ดร พัชรี วรกิจพูนผล (20)

โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_นโครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็กCPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-new
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็กแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene  สำหรับผู้ป่วยปากแ...
Slide ความรู้ด้านการเตรียมสุขภาพช่องปากและฟัน Oral hygiene สำหรับผู้ป่วยปากแ...
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 
หลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdf
หลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdfหลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdf
หลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdf
 
Program roadmap14 final
Program roadmap14 finalProgram roadmap14 final
Program roadmap14 final
 
9789740333463
97897403334639789740333463
9789740333463
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 
Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 

Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว่ โดย รศ.ดร พัชรี วรกิจพูนผล

  • 1. รองศาสตราจารย์พัชรี วรกิจพูนผล, RN, APN, PhD กลุ่มวิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บทบาทพยาบาล การดูแลผู้ป่ วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ/หรือเพดานโหว่ หลักฐานเชิงประจักษ์
  • 2. หัวข ้อเนื้อหา ความหมาย ประเภท01 อุบัติการณ์ สาเหตุ ปัจจัย02 การรักษา03 ผลกระทบและบทบาทพยาบาล04
  • 3. แบบทดสอบ ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ แบ่งเป็น ปากแหว่ง (CL), ปากแหว่งเพดานโหว่ (CLP),เพดานโหว่ (CP) เท่านั้น CL/Pเป็นความพิการที่เกิดร่วมกับภาวะผิดปกติอื่นๆ ของศีรษะและใบหน้า (Craniofacialanomaly) CL/Pเป็นโรคทางกรรมพันธุ์ที่มีโอกาสเกิดซ้าได้ในลูกคนต่อไป สูงประมาณ 3-15% ขึ้นอยู่กับชนิดของปากแหว่งเพดานโหว่ เด็กที่เกิดใหม่เป็นผู้ชาย โอกาสที่จะเกิดเพดานโหว่ สูงกว่า เด็กที่เกิดเป็นเพศหญิง ข้อใด ? B D
  • 4. (Lewis et al., 2017) คาย่อ • CL • CL ± A • CP • CLP • CL ± P • CP ± CL • CL/P
  • 8. (Lewis et al., 2017) สาเหตุและปัจจัย ปัจจัยทางด ้านพันธุกรรม ปัจจัยด ้านสิ่งแวดล ้อมที่เกี่ยวข ้องกับ การตั้งครรภ์ของมารดา
  • 9. 0.4 mg of folic acid daily A special feeding device Initiation of dental care Psychosocial support / resources/ and Financial support Information / Education Speech assessment and intervention Dental and orthodontic care Hearing screening (6m) Rule of 10 : Surgical interventions การรักษาในระยะต่างๆ
  • 10. “Rule of 10’s” เก่าไปรึยัง โดย traditional timeline คือ 3-6 เดือน เพราะช่วงเวลาดังกล่าว ทารกจึงจะมีลักษณะครบตาม “Rule of 10’s” ซึ่งได ้แก่ น้าหนัก 10 pounds เลือดมีระดับ hemoglobin 10g/dl หรือเม็ดเลือดขาว 10 (Chow et al., 2016) เพราะ William and Musgrave (1966) ระบุ จะทาให ้เกิดภาวะแทรกซ ้อนได ้ถึง 5 เท่า แต่อย่างไรก็ตามปัจจุบัน มีรายงานพบว่า การซ่อมแซมริมฝีปากแหว่งและจมูกในผู้ป่ วย 32 คนที่อายุเฉลี่ย 34.8 วัน (13–69 วัน) ได ้อย่างปลอดภัยและมี ประสิทธิภาพในการปรับปรุงความสมมาตรของจมูก อย่างไรก็ตามมี อัตราภาวะแทรกซ ้อนร ้อยละ 3.1 การผ่าตัดที่เร็วขึ้นเป็นกระบวน ทัศน์เปลี่ยนในการรักษาปากแหว่งและความผิดปกติของจมูก และ ผลการสารวจจากครอบครัวระบุว่าต ้องการการซ่อมแซมแบบเร็วนี้ (Hammoudeh et al., 2017)
  • 11. Traditional timeline Rule of 10’s (delay until 3-6 months)  Earlier interventions can lead to improve long-term outcomes? A paradigm shift of treatment As early as 14 days of life Early cleft lip and repair It can be performed safely and is effective at improving postoperative nasal symmetry. In terms of anesthesia, complication rates similar to standard repair. Complication Indeed, this study was able to achieve a statistically significance correction of cleft nasal deformity primarily through nasal molding alone. Long term data Small sample sizes / high facility and experience of team Limitations Published online 26 June 2017
  • 13. ผลกระทบและบทบาทของสหวิทยาการ ผลกระทบ • ภาพลักษณ์ของใบหน้า • การพูดไม่ชัด การได ้ยินบกพร่อง • การติดเชื้อของหูชั้นกลางและ ทางเดินหายใจส่วนบน • ปัญหาช่องปากและฟัน • การกลืนลาบาก • การเจริญเติบโตและพัฒนาการ ล่าช ้า • ความวิตกกังวลใจของครอบครัว • คุณภาพชีวิต การดูแลแบบสหวิทยาการ • ทีมแพทย์สาขาต่างๆ เช่น กุมารแพทย์สาขา ต่างๆ ศัลยแพทย์ตกแต่ง โสต ศอ นาสิกแพทย์ วิสัญญีแพทย์ • ทีมพยาบาลผู ้ให ้การดูแลและให ้คาแนะนาใน การให ้นมเด็ก • นักโภชนาการ • ทีมทันตแพทย์ เช่น ทันตแพทย์เฉพาะ ทางด ้านศัลยศาตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟ เชียล ทันตกรรมสาหรับเด็ก ทันตกรรมจัดฟัน และทันตกรรมประดิษฐ์ เป็นต ้น รวมทั้งผู ้ช่วย ทันตแพทย์และช่างทันตกรรม • นักตรวจการได ้ยิน • นักบาบัดการพูดนักเวชศาสตร์การสื่อ ความหมาย/นักฝึกพูด • นักสังคมสงเคราะห์ และบุคลากรทาง สาธารณสุขอื่นๆ (สุธีรา ประดับวงษ์, 2550)
  • 14. (สุธีรา ประดับวงษ์, 2550) พยาบาลยังขาดความรู้ที่ลึกซึ้ง สิ่งแวดล้อมห้องตรวจไม่เอื้ออานวยในการให้ความรู้ ไม่เข้าใจแผนการรักษาสมาชิกทีมไม่ทราบบทบาทหน้าที่ ขาดการสื่อสารการรักษาของสมาชิกทีม ขาดการประเมินผลลัพธ์ของการรักษา ขาดความรู้ความเข้าใจในแผนการรักษา เข้าถึงแหล่งประโยชน์ยาก การศึกษา/ฐานะทางเศรษฐกิจ นโยบายการรักษาไม่แน่นอน ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ความร่วมมือระหว่างองค์กร (ตัวกลางในการประสาน)
  • 15. (สุธีรา ประดับวงษ์, 2550) พยาบาลยังขาดความรู้ที่ลึกซึ้ง ได้แก่ การจัดสันเหงือกก่อนผ่าตัด กระบวนการทาและใส่เพดานเทียมกระบวนการจัดฟัน พยาบาลยังขาดความรู้ที่ลึกซึ้ง ได้แก่ การฝึกพูด การประเมินภาวะความบกพร่องของเพดานอ่อนและผนังคอหอย
  • 17.
  • 18. ข ้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ก่อนการผ่าตัด (preoperative nursing diagnosis) – เสี่ยงต่อได ้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต ้องการของร่างกาย เนื่องจากความยากลาบากในการดูดนม (สอนอุ้มเวลาป้อน enlarge stimulate swallow and rest ; ESSR method และ device ต่างๆ) – การเจริญเติบโตและพัฒนาการล่าช ้าเนื่องจากได ้รับสารน้าและ สารอาหารไม่เพียงพอ – เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ ้อน เช่น การสาลัก เนื่องจากไม่สามารถ ดูดกลืนได ้ปกติ – สัมพันธภาพระหว่างทารกและครอบครัวบกพร่องเนื่องจากความรู้สึกผิด หรือสูญเสีย หรือ บิดามารดาและผู้ดูแลวิตกกังวลเกี่ยวกับความผิดปกติ แต่กาเนิดของทารก (อุ้ม อธิบายสาเหตุ รูปเทียบ support group สอน อุ้มเวลาป้อน) – บิดามารดาและผู้ดูแลขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและวิธรการรักษาผู้ป่ วย – เสี่ยงต่อการติดเชื้อและการอุดกั้นในระบบทางเดินหายใจทั้งส่วนบนและ ส่วนล่างจากเสมหะ
  • 19. ข ้อวินิจฉัยทางการพยาบาล หลังการผ่าตัด (post-operative nursing diagnosis) – เสี่ยงต่อการเกิดแผลแยกหรือติดเชื้อ – ไม่สุขสบายเนื่องปวดแผลผ่าตัด – เสี่ยงต่อการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบนและ ส่วนล่างเนื่องจากการสาลัก – เสี่ยงต่อการหายใจไม่มีประสิทธิภาพภายหลังได ้รับยา ระงับความรู้สึก – เสี่ยงต่อได ้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต ้องการ ของร่างกายเนื่องจากข ้อจากัดของการดูดกลืนหลัง ผ่าตัดปากแหว่งหรือเพดานโหว่ – บิดามารดาและผู้ดูแลขาดความรู้ความเข ้าใจเรื่องการ ดูแลทารกที่ได ้รับการผ่าตัดเมื่อกลับไปอยู่ที่บ ้าน
  • 20. บทบาทพยาบาล To ensure that care is provided in a coordinated, consistent manner with the proper sequencing of evaluations and treatments within the framework of the patients overall developmental, medical, and psychological needs (ACPA, 2017). ส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการ: ภาพลักษณ์ของใบหน้า การดูดกลืนลาบาก การพูดไม่ชัด การได ้ยินบกพร่อง ให ้ความรู้ผู้ดูแลเพื่อ ป้องกันปัญหาสุขภาพ: การติดเชื้อของหูชั้น กลางและทางเดิน หายใจส่วนบน ปัญหา ช่องปากและฟัน การกลืนลาบาก ดูแลแบบองค์รวม ทาหน้าที่ประสานงาน ระหว่างครอบครัวและ หน่วยงานต่างๆ โดย คานึงถึงคุณภาพชีวิตของ เด็กและครอบครัว: ความวิตกกังวลใจของ ครอบครัว การรักษาที่ ต่อเนื่องและยาวนาน ค่าใช ้จ่าย Assessment of growth and feeding practices in children with cleft lip and palate (Gopinath & Muda, 2005)
  • 21. Weight Gain in Children with Cleft Lip and Palate without Use of Palatal Plates (Freitas et al., 2012)
  • 22. Weight Gain in Children with Cleft Lip and Palate without Use of Palatal Plates (Freitas et al., 2012)
  • 23. (Gopinath & Muda, 2005) • 88.2% of the mother with CLP infants tried to BF, only 40% were successful (normal 90%) • Anatomical defect in the lip and palate • Ability of mothers to position the nipple properly in the infant’s mouth • Use of bottles or spoons for feeding
  • 24. (Gopinath & Muda, 2005) • CLP infants from birth to 24 months were at risk for common manifestations of infection such as diarrhea and fever. • Use of bottles or spoons for feeding • CLP infants measured on the height growth curve than normal infants, but there was no difference in the other parameters. • Rate of growth in height in this age • By 3 years caught up to the normal growth
  • 25. Feeding methods for children with cleft lip and/or palate: a systematic review (Duartea, Ramosb, & Cardosoa, 2016) squeezable bottle, syringe, and paladai bottle
  • 26. การพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์หุ่นใบหน้าจาลอง ปากแหว่งเพดานโหว สื่อเสริมทักษะในการให ้ข ้อมูลแก่ ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะปากแหว่ง เพดานโหว่ให ้มีความรู้ความเข ้าใจใน ลักษณะของความผิดปกติที่มีส่วน เกี่ยวข ้องในหลายระบบ พร ้อมทั้ง การรักษาที่จะได ้รับจากทีมสหสาขา วิชาชีพในระยะเวลาที่ยาวนาน ตาม ช่วงอายุที่เหมาะสม
  • 28. เครื่องประเมินการแปรเสียงและการสั่นพ ้องของเสียง (Naso-articulometer) หลังจากผ่าตัดแล ้ว เด็กส่วน ใหญ่ยังต ้องเผชิญกับปัญหาการ พูดผิดปกติ พูดไม่ชัด มากถึง 88.56% เสียงสั่นพ ้องหรือเสียง ขึ้นจมูกผิดปกติ 43.26%