SlideShare a Scribd company logo
รายงานพระวินัยปิฎก
จัดทาโดย
Phra Panma Seechanlian
ชั้นปี1
6013501005
คณะพุทธศาสตร์
สาขาพระพุทธศาสนา
๑. ความเป็ นมาของพระวินัยปิ ฎก
ต อ บ
พระวินัยพระพุทธองค์ไม่ได้ทรงบัญญัติไว้ล่วงหน้าเป็ นกฎสาเร็จรูปก่อนมีค
วามเสียหายเกิดขึ้นหากแต่เมื่อมีพระสงฆ์เกิดขึ้นและอยู่รวมกันจานวนมากมีความป
ระพฤติเสียหายเกิดขึ้นในหมู่สงฆ์พระองค์จึ่งทรงบัญญัติสิกขาบทห้ามประพฤติเช่นนั้
นอีกต่อไป ดั่งจะเห็นได้ว่า ในตอนต้นพุทธกาล คือตั้งแต่พรรษาที่1 ถึงพรรษา 11
พระพุทธเจ้ายังไม่ได้ทรงบัญญัติสิกขาบทไว้ เพราะภิกษุสงฆ์ล้วนมีวัตรปฏิบัติที่ดีงาม
คั้ น ต่ อ ม า ใ น พ ร ร ษ า ที่ 12 ข ณ ะ ป ร ะ ทั บ อ ยู่ ณ เ มื อ ง เ ว รั ญ ช า
พระสารีบุตรกราบทูลอาราธนาให้ทรงบัญญัติสิกขาบท ดังปรากฏในเวรัญชกัณฑ์ ว่า
“ถึงเวลาแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ที่พระผู้มีพระภาคจะทรงบัญญัติสิก ข า บท
ทรงยกปาติโมกข์ขึ้นแสดงแก่พระสาวกอันจะเป็ นเหตุให้พรหมจรรย์ดารงอยู่ได้ยืนน
าน”
ถึ ง ก ร ะ นั้ น พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ก็ ไ ม่ ไ ด้ ท ร ง บัญ ญัติ สิ ก ข า บ ท
เพราะในระยะนั้นภิกษุสงฆ์ส่วนใหญ่เป็ นพระอริยบุคคลทั้งนั้นการรักษาศีลของพระ
ภิกษุสงฆ์ในขณะนั้นจึงป็ นลักษณะจารีตประเพณีตามแบบอย่างที่พระพุทธเจ้าปฏิบัติ
มาทีเรียกว่า จาริตตศีล ดังที่พระพุทธองค์ตรัสตอบพระสารีบุตรว่า
“จงรอไปก่อนเถิด สารีบุตร ตถาคตรู้เวลาในเรื่องที่จะบัญญัติสิกขาบทนั้น
ศ า ส ด า จ ะ ยั ง ไ ม่ บั ญ ญั ติ สิ ก ข า บ ท แ ก่ ส า ว ก
ไม่ย กปา ติโ มกข์ขึ้นแสด งต ลอด เวลา ที่ยังไม่เกิด จึงจะบัญญัติสิกข าบท
จะย กปา ติโ มกข์ขึ้นแสด งแก่สา วกเพื่ อข จัด ธ รรมเห ล่า นั้น...สา รี บุ ต ร
ก็ภิกษุ สงฆ์ยังไม่มีเสนี ย ด ไม่มีโ ทษ ไม่มีสิ่งมัวห มอง บริสุทธิ์ผุด ผ่อง
ดารงอยู่ในสารคุณ แท้จริง ในภิกษุ 500 รูปนี้ ผู้มีคุณธรรมอย่างต่าก็ชั้นโสดาบัน”
ต่ อ ม า เ มื่ อ มี ภิ ก ษุ ป ร ะ พ ฤ ติ เ สี ย ห า ย เ กิ ด ขึ้ น ใ น ห มู่ ส ง ฆ์
จึงทรงบัญญัติสิกขาบทเล็กน้อยต่างๆ ที่เป็ นประเภทลหุกาบัติ(อาบัติเบา) อาทิเช่น
นิ ส สั ค คี ย ป า จิ ต ตี ย์ ป า จิ ต ตี ย์ ป า ฏิ เ ท ส นี ย ะ ไ ว้
ยังไม่ทรงบัญญัติสิกขาบทประเภทครุกาบัติ(อาบัติหนัก) อันได้แก่ปาราชิก
แ ล ะ สั ง ฆ า ทิ เ ส ส ใ น ร ะ ห ว่ า ง นี้ ท ร ง แ ส ด ง โ อ ว า ท ป า ติ โ ม ก ข์
เพื่อเป็ นแนวประพ ฤติปฏิบัติสาหรับภิกษุทั้งห ลาย ครั้นในพรรษาที่ ๒๐
พระผู้มีพระภาคจึงทรงบัญญัติปฐมปาราชิก สิกขาบทที่ 1 ห้ามภิกษุเสพเมถุน
โดยปรารภเหตุการณ์มัวหมองในคณะสงฆ์อันเนื่องมาจากการที่พระสุทินเสพเมถุนกั
บ อ ดี ต ภ ร ร ย า ที่ ป่ า ม ห า วั น ก รุ ง เ ว ส า ลี
นั บ เ ป็ น ค รั้ ง แ ร ก ที่ ท ร ง บั ญ ญั ติ สิ ก ข า บ ท ป ร ะ เ ภ ท ค รุ ก า บั ติ
และทรงบัญญัติเรื่อยมาทุกครั้งที่เกิดเหตุการณ์ไม่ดีไม่งามเกี่ยวกับครุกาบัติ
ขึ้นในคณะสงฆ์
๒. ความสาคัญของพระวินัยปิ ฎก
ตอบ พระวินัยปิ ฎก เป็ นคัมภีร์สาคัญที่ประมวลพุทธบัญญัติเกี่ยว กับศีล
และสิกขาบท ขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีชีวิตและวิธีดาเนินกิจการต่างๆ
ของภิกษุสงฆ์และภิกษุนีสงฆ์ พระวินัยซึ่งเป็นพระบัญญัตินี้ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วนคือ
อาทิพ รห มจริย กาสิกข า( ข้อ ป ฏิบัติอัน เ ป็ น เ บื้อ งต้นแห่งพ รห มจรรย์ )
และอภิสมาจาริกาสิกขา(ขนมธรรมเนียมประเพณีเกี่ยวกับมรรยาทและความเป็นอยู่
ที่ดีงาม)
พ ร ะ วิ นั ย ปิ ฎ ก เ ป็ น คัม ภี ร์ ที่ จ า เ ป็ น ส า ห รับ ป ฏิ บัติ ฝึ ก หั ด
อบรมกุลบุตรผู้เข้ามาบวชในพระพุทธศาสนาเพราะผู้เข้ามาบวชนั้นมาจากต่างตระกู
ลต่างชนชั้นต่างอัธยาศัยต่างจิตต่างใจหากไม่มีพระวินัยควบคุมความประพฤติให้เป็
นระเบียบเรียบร้อยก็จะเป็นหมู่ภิกษุที่สับสนวุ่นวายไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสศรัท
ธาถ้าภิกษุทุกรูปประพฤติตามวินัยก็จะเป็ นหมู่ภิกษุที่งดงามนาให้เกิดความเลื่อมใสศ
รัทธาและทาให้พระพุทธศาสนาดารงอยู่ยืนนานเปรียบเหมือนดอกไม้นานาชนิดถูกร้
อยไว้ด้วยด้ายจึงไม่แตกแยกกระจัดกระจายทั้งยังคุมกันเข้าเป็นพวงมาลัยที่สวยงาม
พระวินัยเป็นปัจจัยสาคัญต่อการดารงอยู่ได้ยืนนานของพระพุทธศาสนาดัง
จะเห็นได้ว่าพระมหากัสสปเถระผู้เป็ นประธานสงฆ์ในการจัดทาสังคายนาครั้งที่ ๑
ได้หารือกับพระสังคีติกาจารย์ทั้งหลายจะสังคายนาพระธรรมหรือพระวินัยก่อนพระสั
ง คี ติ ก า จ า ร ย์ ทั้ ง ห ล า ย ก ล่ า ว ว่ า
พระวินัยจัดว่าเป็นอายุของพระพุทธศาสนาเมื่อพระวินัยยังดารงอยู่พระศาสนาก็ชื่อว่
ายังดารงอยู่ดังนั้นจึงขอสังคายนาพระวินัยก่อน
แ ม้ ใ น ก า ร บั ญ ญั ติ พ ร ะ วิ นั ย นั้ น ก่ อ น ที่ จ ะ ท ร ง บั ญ ญั ติ
พระพุทธเจ้าก็ตรัสบอกประโยชน์ของการบัญญัติอันแสดงถึงความสาคัญของพระวินั
ยไว้ ๑๐ ประการดังต่อไปนี้
๑.เพื่อความดีแห่งสงฆ์
๒.เพื่อความผาสุกแห่งสงฆ์
๓.เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก
๔.เพื่อความอยู่ผาสุกแห่งเหล่าภืกษุผู้มีศีลดีงาม
๕.เพื่อปิดกั้นอาสวะทั้งหลายอันจะบังเกิดขึ้นในปัจจุบัน
๖.เพื่อกาจัดอาสวะทั้งหลายอันจะบังเกิดขึ้นในอานาคด
๗.เพื่อความเลื่อมใสของคนที่ยังไม่เลื่อมใส
๘.เพื่อความเลื่อมใสยิ่งขึ้นไปของคนที่เลื่อมใสแล้ว
๙.เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม
๑๐.เพื่อเอื้อเฟื้อวินัย
๔. ประโยชน์ของการศึกษาพระวินัยปิ ฎก
ตอบ ๑ การศึกษาพระวินัยปิฎกทาให้ทราบความต่างกันของคาสั่งและคาสอน
๒ ต่ออายุพระพุทธศาสนาให้ยืนยาว
๓ ป ร ะ โ ย ช น์ ๑ ๐
ประการตามพุทธดารัสที่มีคาอธิบายอีกนัยหนึ่งก่อนบัญญัติวินัยแต่ละข้อ
๔
ได้รู้ความต่างกันของพระพุทธวจนที่เป็นชื่อเฉพาะทางพระพุทธศาสนาคือ
รู้โอวาทปาติโมกข์ รู้ภิกขุปาติโมกข์ รู้วิภังค์ รู้ปาริสุทธิศีล รู้ศีล ๕ รู้ศีล ๘
รู้ศีล ๑๐ รู้ศีล ๒๒๗ รู้ศีล ๓๓๑
๕ ได้ทราบคาย่อของพระวนัยปิฎก
๖ ได้ทราบคัมภีร์ที่อธิบายวินัยปิฎก
๗ แนวทางการบัญญัติกฎหมาย
๘ แนวทางการตัดสินคดี
๙ แนวทางการจัดระเบียบสังคม
๑๐ รู้จักแยกแยะภาวะสัตว์เดรัจฉานออกจากภาวะมนุษย์
๓. ความหมายและโครงสร้างของพระวินัยปิ ฎก
๑.ความหมายของพระวินัยปิ ฎก
ตอบ คาว่า “วินัย” พระอรรถกถาจารย์ได้ประพันธ์ความหมายเป็นคาถาไว้ว่า
วิวิธวิเสสนยตฺตา วินยนโต เจว กายวาจาน
วินยตฺถวิทูหิ อย วินโย วินโยติอกฺขาโต.
พระวินัยอันบัณฑิตผู้รู้อรรถแห่งวินัยทั้งหลายกล่าวว่า วินัย
เพราะมีนัยต่าง เพราะมีนัยพิเศษ และเพราะฝึกกายและวาจา
จากคาถาประพันธ์นั้น แบ่งความหมายของวินัยได้เป็น ๓ คือ
นัยที่ ๑ วินัย หมายถึงนัยต่างๆ (วิวิธ+นัย) ได้แก่ มีปาติโมกข์ ๒ คือ
ภิกขุปาติโมกข์ และภิกขุนีปาติโมกข์ มีวิภังค์ ๒ คือ มหาวิภังค์หรือภิกขุวิภังค์ มีอาบัติ
๗ กอง คือปาราชิก สังฆาทิเสส ถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนิยะ ทุกกฎ ทุพภาสิต
นั ย ที่ ๒ วิ นั ย ห ม า ย ถึ ง นั ย พิ เ ศ ษ ( วิ เ ส ส + นั ย ) ไ ด้ แ ก่
มี อ นุ บั ญ ญั ติ เ พิ่ ม เ ติ ม ใ ห้ สิ ก ข า บ ท มี ค ว า ม รั ต กุ ม ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น
ห รื อ ผ่ อ น ผั น ใ ห้ เ พ ล า ค ว า ม เ ข้ ม ง ว ด ล ง
มีความเหมาะสมแก่การกระทาความผิดหรือการล่วงละเมิด
นัยที่ ๓ วินัย หมายถึงกฎหรือข้อบังคับสาหรับฝึกอบรมกายและวาจา
( วิ น ย น โ ต เ จ ว ก า ย ว า จ า น ) ไ ด้ แ ก่
เป็นเครื่องป้องกันความประพฤติที่ไม่เหมาะสมทางกายและวาจา
อนึ่ง วินัย ยังมีคาที่ไวพจน์อื่นๆอีกดังนี้
๑. ศีล หมายถึงความประพฤติงามทางกายและวาจา
๒ . พ ร ะ บั ญ ญั ติ
หมายถึงข้อห้ามมิให้ภิกษุภิกษุนีประพฤติล่วงละเมิดชึ่งมีบทกาหนดโทษปรับอาบัติแ
ก่ผู้หลวงละเมิด ถ้าบัญญัติครั้งแรก เรียกว่า มูลบัญญัติ ถ้าบัญญัติแก่ไข้เพิ่มเติม
เรียกว่า อนุบัญญัติ
๓. สิกขาบท หมายถึงอุบายศึกษาหรือข้อศึกษา ได้แก่ ศีล ๕ ศีล ๘ ศีล
๑ ๐ ศี ล ๒ ๒ ๗ แ ล ะ ศี ล ๓ ๓ ๑
ข้อศึกษาเหล่านี้จัดเป็นเบื้องต้นแห่งฌานวิปัสสนาและอริยมรรค
ส่ว น ค า ว่า ปิ ฎ ก มี ค ว า ม ห ม า ย ๒ อ ย่ า ง คื อ ( ๑ ) ป ริยัติ
แปลว่าการศึกษาเล่าเรียน ในที่นี้หมายถึงคัมภีร์ห รือตารา (๒) ภาช นะ
หมายถึงอุปกรณ์เครื่องจาแนก รองรับรวบรวม หรือบรรจุ
เมื่อรวมคาว่า วินัย เข้ากับ ปิ ฎ ก เป็ นวินัย ปิ ฎก จึงห มาย ถึง
คัมภีร์ประมวลกฎสาหรับฝึกอบรมกายวาจาหรือภาชนะที่รวบรวมหรือบรรจุกฎสาหรั
บฝึกอบรมกายวาจา
๒. โครงสร้างของพระวินัยปิ ฎก
ตอบ
โครงสร้างของพระวินัยปิฎก
มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภัง
ค์
มหาวรรค จูฬวรรค ปริวาร
ภิกขุวิภังคโสฬสมหาวรร
ค
ภิกขุนีวิภังคโสฬสมหาวา
ร
สมุฏฐานสีสสังเขป
อันตรเปยยาล-สมถเภท
ขันธกะปุจฉาวาร-
เอกุตตริกนัย
อุโปสถาทิปุจฉาวิสัชชนา
อัตถวสปกรณ์-
คาถาสังคณิกะ
อธิกรณเภท-
อปรคาถาสังคณิกะ
โจทนากัณฑ์-จูฬสงคราม
มหาสงคราม-กฐินเภท
อุปาลิปัญจกะ-
อัตถาปัตติสมุฏฐาน
ทุติยคาถาสังคณิกะ
เสทโจนคาถา-ปัญจวรรค
ปาราชิกกัณ
ฑ์
สังฆาทิเสสกั
ณฑ์
อนิยตกัณฑ์
นิสสัคคิยกัณ
ฑ์
ปาจิตติกัณฑ์
ปาฏิเทสนิยกั
ณฑ์
เสขิยกัณฑ์
อธิกรณสมถ
ะ
มหาขันธกะ
อุโปสถขันธก
ะ
วัสสูปนายิกขั
นธกะ
ปวารณาขันธ
กะ
จัมมขันธกะ
เภสัชชขันธก
ะ
กฐินขันธกะ
จีวรขันกะ
จัมเปยยขันธ
กะ
โกสัมพิกขันะ
กะ
เวรัญชกัณฑ์
ปาราชิกกัณ
ฑ์
สังฆาทิเสสกั
ณฑ์
อนิยตกัณฑ์
นิสสัคคิยกัณ
ฑ์
ปาจิตติยกัณ
ฑ์
ปาฏิเทสนิยกั
ณฑ์
เสขิยกัณฑ์
อธิกรณสมถ
ะ
กัมมขันธกะ
ปาริวาสิกขันธกะ
สมุจจยขันธกะ
สมถขันธกะ
ขุททกวัตถุขันธก
ะเสนาสนะขันธก
ะ
สังฆเภทขันธกะ
วัตตขันทกะ
ปาติโมกขัฏฐปน
ขันธกะ
ภิกขุนีขันธกะ
ปัญจสติขันธกะ
สัตตสติกขันธกะ

More Related Content

What's hot

Lesson3
Lesson3Lesson3
Lesson1
Lesson1Lesson1
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธNet'Net Zii
 
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ประเพณีและวัฒนธรรมไทยประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย
พัน พัน
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
พัน พัน
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
Padvee Academy
 
SpaHealth
SpaHealthSpaHealth
SpaHealth
Molly Mo
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
Padvee Academy
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6thnaporn999
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
Bom Anuchit
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
Padvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
Namon Bob
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
Padvee Academy
 
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 

What's hot (20)

Lesson3
Lesson3Lesson3
Lesson3
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
 
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ประเพณีและวัฒนธรรมไทยประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
SpaHealth
SpaHealthSpaHealth
SpaHealth
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 

Similar to พระปันมาสาขาพุทธ

เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
Buddha1
Buddha1Buddha1
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
IntelligentChannel
 

Similar to พระปันมาสาขาพุทธ (20)

เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
Buddha1
Buddha1Buddha1
Buddha1
 
Buddha1
Buddha1Buddha1
Buddha1
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
num28
num28num28
num28
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
 

พระปันมาสาขาพุทธ

  • 1. รายงานพระวินัยปิฎก จัดทาโดย Phra Panma Seechanlian ชั้นปี1 6013501005 คณะพุทธศาสตร์ สาขาพระพุทธศาสนา ๑. ความเป็ นมาของพระวินัยปิ ฎก ต อ บ พระวินัยพระพุทธองค์ไม่ได้ทรงบัญญัติไว้ล่วงหน้าเป็ นกฎสาเร็จรูปก่อนมีค วามเสียหายเกิดขึ้นหากแต่เมื่อมีพระสงฆ์เกิดขึ้นและอยู่รวมกันจานวนมากมีความป ระพฤติเสียหายเกิดขึ้นในหมู่สงฆ์พระองค์จึ่งทรงบัญญัติสิกขาบทห้ามประพฤติเช่นนั้ นอีกต่อไป ดั่งจะเห็นได้ว่า ในตอนต้นพุทธกาล คือตั้งแต่พรรษาที่1 ถึงพรรษา 11 พระพุทธเจ้ายังไม่ได้ทรงบัญญัติสิกขาบทไว้ เพราะภิกษุสงฆ์ล้วนมีวัตรปฏิบัติที่ดีงาม คั้ น ต่ อ ม า ใ น พ ร ร ษ า ที่ 12 ข ณ ะ ป ร ะ ทั บ อ ยู่ ณ เ มื อ ง เ ว รั ญ ช า พระสารีบุตรกราบทูลอาราธนาให้ทรงบัญญัติสิกขาบท ดังปรากฏในเวรัญชกัณฑ์ ว่า “ถึงเวลาแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ที่พระผู้มีพระภาคจะทรงบัญญัติสิก ข า บท ทรงยกปาติโมกข์ขึ้นแสดงแก่พระสาวกอันจะเป็ นเหตุให้พรหมจรรย์ดารงอยู่ได้ยืนน าน” ถึ ง ก ร ะ นั้ น พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ก็ ไ ม่ ไ ด้ ท ร ง บัญ ญัติ สิ ก ข า บ ท เพราะในระยะนั้นภิกษุสงฆ์ส่วนใหญ่เป็ นพระอริยบุคคลทั้งนั้นการรักษาศีลของพระ ภิกษุสงฆ์ในขณะนั้นจึงป็ นลักษณะจารีตประเพณีตามแบบอย่างที่พระพุทธเจ้าปฏิบัติ มาทีเรียกว่า จาริตตศีล ดังที่พระพุทธองค์ตรัสตอบพระสารีบุตรว่า “จงรอไปก่อนเถิด สารีบุตร ตถาคตรู้เวลาในเรื่องที่จะบัญญัติสิกขาบทนั้น ศ า ส ด า จ ะ ยั ง ไ ม่ บั ญ ญั ติ สิ ก ข า บ ท แ ก่ ส า ว ก ไม่ย กปา ติโ มกข์ขึ้นแสด งต ลอด เวลา ที่ยังไม่เกิด จึงจะบัญญัติสิกข าบท จะย กปา ติโ มกข์ขึ้นแสด งแก่สา วกเพื่ อข จัด ธ รรมเห ล่า นั้น...สา รี บุ ต ร ก็ภิกษุ สงฆ์ยังไม่มีเสนี ย ด ไม่มีโ ทษ ไม่มีสิ่งมัวห มอง บริสุทธิ์ผุด ผ่อง ดารงอยู่ในสารคุณ แท้จริง ในภิกษุ 500 รูปนี้ ผู้มีคุณธรรมอย่างต่าก็ชั้นโสดาบัน”
  • 2. ต่ อ ม า เ มื่ อ มี ภิ ก ษุ ป ร ะ พ ฤ ติ เ สี ย ห า ย เ กิ ด ขึ้ น ใ น ห มู่ ส ง ฆ์ จึงทรงบัญญัติสิกขาบทเล็กน้อยต่างๆ ที่เป็ นประเภทลหุกาบัติ(อาบัติเบา) อาทิเช่น นิ ส สั ค คี ย ป า จิ ต ตี ย์ ป า จิ ต ตี ย์ ป า ฏิ เ ท ส นี ย ะ ไ ว้ ยังไม่ทรงบัญญัติสิกขาบทประเภทครุกาบัติ(อาบัติหนัก) อันได้แก่ปาราชิก แ ล ะ สั ง ฆ า ทิ เ ส ส ใ น ร ะ ห ว่ า ง นี้ ท ร ง แ ส ด ง โ อ ว า ท ป า ติ โ ม ก ข์ เพื่อเป็ นแนวประพ ฤติปฏิบัติสาหรับภิกษุทั้งห ลาย ครั้นในพรรษาที่ ๒๐ พระผู้มีพระภาคจึงทรงบัญญัติปฐมปาราชิก สิกขาบทที่ 1 ห้ามภิกษุเสพเมถุน โดยปรารภเหตุการณ์มัวหมองในคณะสงฆ์อันเนื่องมาจากการที่พระสุทินเสพเมถุนกั บ อ ดี ต ภ ร ร ย า ที่ ป่ า ม ห า วั น ก รุ ง เ ว ส า ลี นั บ เ ป็ น ค รั้ ง แ ร ก ที่ ท ร ง บั ญ ญั ติ สิ ก ข า บ ท ป ร ะ เ ภ ท ค รุ ก า บั ติ และทรงบัญญัติเรื่อยมาทุกครั้งที่เกิดเหตุการณ์ไม่ดีไม่งามเกี่ยวกับครุกาบัติ ขึ้นในคณะสงฆ์ ๒. ความสาคัญของพระวินัยปิ ฎก ตอบ พระวินัยปิ ฎก เป็ นคัมภีร์สาคัญที่ประมวลพุทธบัญญัติเกี่ยว กับศีล และสิกขาบท ขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีชีวิตและวิธีดาเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุนีสงฆ์ พระวินัยซึ่งเป็นพระบัญญัตินี้ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วนคือ อาทิพ รห มจริย กาสิกข า( ข้อ ป ฏิบัติอัน เ ป็ น เ บื้อ งต้นแห่งพ รห มจรรย์ ) และอภิสมาจาริกาสิกขา(ขนมธรรมเนียมประเพณีเกี่ยวกับมรรยาทและความเป็นอยู่ ที่ดีงาม) พ ร ะ วิ นั ย ปิ ฎ ก เ ป็ น คัม ภี ร์ ที่ จ า เ ป็ น ส า ห รับ ป ฏิ บัติ ฝึ ก หั ด อบรมกุลบุตรผู้เข้ามาบวชในพระพุทธศาสนาเพราะผู้เข้ามาบวชนั้นมาจากต่างตระกู ลต่างชนชั้นต่างอัธยาศัยต่างจิตต่างใจหากไม่มีพระวินัยควบคุมความประพฤติให้เป็ นระเบียบเรียบร้อยก็จะเป็นหมู่ภิกษุที่สับสนวุ่นวายไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสศรัท ธาถ้าภิกษุทุกรูปประพฤติตามวินัยก็จะเป็ นหมู่ภิกษุที่งดงามนาให้เกิดความเลื่อมใสศ รัทธาและทาให้พระพุทธศาสนาดารงอยู่ยืนนานเปรียบเหมือนดอกไม้นานาชนิดถูกร้ อยไว้ด้วยด้ายจึงไม่แตกแยกกระจัดกระจายทั้งยังคุมกันเข้าเป็นพวงมาลัยที่สวยงาม พระวินัยเป็นปัจจัยสาคัญต่อการดารงอยู่ได้ยืนนานของพระพุทธศาสนาดัง จะเห็นได้ว่าพระมหากัสสปเถระผู้เป็ นประธานสงฆ์ในการจัดทาสังคายนาครั้งที่ ๑ ได้หารือกับพระสังคีติกาจารย์ทั้งหลายจะสังคายนาพระธรรมหรือพระวินัยก่อนพระสั ง คี ติ ก า จ า ร ย์ ทั้ ง ห ล า ย ก ล่ า ว ว่ า พระวินัยจัดว่าเป็นอายุของพระพุทธศาสนาเมื่อพระวินัยยังดารงอยู่พระศาสนาก็ชื่อว่ ายังดารงอยู่ดังนั้นจึงขอสังคายนาพระวินัยก่อน แ ม้ ใ น ก า ร บั ญ ญั ติ พ ร ะ วิ นั ย นั้ น ก่ อ น ที่ จ ะ ท ร ง บั ญ ญั ติ พระพุทธเจ้าก็ตรัสบอกประโยชน์ของการบัญญัติอันแสดงถึงความสาคัญของพระวินั ยไว้ ๑๐ ประการดังต่อไปนี้ ๑.เพื่อความดีแห่งสงฆ์
  • 3. ๒.เพื่อความผาสุกแห่งสงฆ์ ๓.เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก ๔.เพื่อความอยู่ผาสุกแห่งเหล่าภืกษุผู้มีศีลดีงาม ๕.เพื่อปิดกั้นอาสวะทั้งหลายอันจะบังเกิดขึ้นในปัจจุบัน ๖.เพื่อกาจัดอาสวะทั้งหลายอันจะบังเกิดขึ้นในอานาคด ๗.เพื่อความเลื่อมใสของคนที่ยังไม่เลื่อมใส ๘.เพื่อความเลื่อมใสยิ่งขึ้นไปของคนที่เลื่อมใสแล้ว ๙.เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑๐.เพื่อเอื้อเฟื้อวินัย ๔. ประโยชน์ของการศึกษาพระวินัยปิ ฎก ตอบ ๑ การศึกษาพระวินัยปิฎกทาให้ทราบความต่างกันของคาสั่งและคาสอน ๒ ต่ออายุพระพุทธศาสนาให้ยืนยาว ๓ ป ร ะ โ ย ช น์ ๑ ๐ ประการตามพุทธดารัสที่มีคาอธิบายอีกนัยหนึ่งก่อนบัญญัติวินัยแต่ละข้อ ๔ ได้รู้ความต่างกันของพระพุทธวจนที่เป็นชื่อเฉพาะทางพระพุทธศาสนาคือ รู้โอวาทปาติโมกข์ รู้ภิกขุปาติโมกข์ รู้วิภังค์ รู้ปาริสุทธิศีล รู้ศีล ๕ รู้ศีล ๘ รู้ศีล ๑๐ รู้ศีล ๒๒๗ รู้ศีล ๓๓๑ ๕ ได้ทราบคาย่อของพระวนัยปิฎก ๖ ได้ทราบคัมภีร์ที่อธิบายวินัยปิฎก ๗ แนวทางการบัญญัติกฎหมาย ๘ แนวทางการตัดสินคดี ๙ แนวทางการจัดระเบียบสังคม ๑๐ รู้จักแยกแยะภาวะสัตว์เดรัจฉานออกจากภาวะมนุษย์ ๓. ความหมายและโครงสร้างของพระวินัยปิ ฎก ๑.ความหมายของพระวินัยปิ ฎก ตอบ คาว่า “วินัย” พระอรรถกถาจารย์ได้ประพันธ์ความหมายเป็นคาถาไว้ว่า วิวิธวิเสสนยตฺตา วินยนโต เจว กายวาจาน วินยตฺถวิทูหิ อย วินโย วินโยติอกฺขาโต. พระวินัยอันบัณฑิตผู้รู้อรรถแห่งวินัยทั้งหลายกล่าวว่า วินัย เพราะมีนัยต่าง เพราะมีนัยพิเศษ และเพราะฝึกกายและวาจา จากคาถาประพันธ์นั้น แบ่งความหมายของวินัยได้เป็น ๓ คือ
  • 4. นัยที่ ๑ วินัย หมายถึงนัยต่างๆ (วิวิธ+นัย) ได้แก่ มีปาติโมกข์ ๒ คือ ภิกขุปาติโมกข์ และภิกขุนีปาติโมกข์ มีวิภังค์ ๒ คือ มหาวิภังค์หรือภิกขุวิภังค์ มีอาบัติ ๗ กอง คือปาราชิก สังฆาทิเสส ถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนิยะ ทุกกฎ ทุพภาสิต นั ย ที่ ๒ วิ นั ย ห ม า ย ถึ ง นั ย พิ เ ศ ษ ( วิ เ ส ส + นั ย ) ไ ด้ แ ก่ มี อ นุ บั ญ ญั ติ เ พิ่ ม เ ติ ม ใ ห้ สิ ก ข า บ ท มี ค ว า ม รั ต กุ ม ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น ห รื อ ผ่ อ น ผั น ใ ห้ เ พ ล า ค ว า ม เ ข้ ม ง ว ด ล ง มีความเหมาะสมแก่การกระทาความผิดหรือการล่วงละเมิด นัยที่ ๓ วินัย หมายถึงกฎหรือข้อบังคับสาหรับฝึกอบรมกายและวาจา ( วิ น ย น โ ต เ จ ว ก า ย ว า จ า น ) ไ ด้ แ ก่ เป็นเครื่องป้องกันความประพฤติที่ไม่เหมาะสมทางกายและวาจา อนึ่ง วินัย ยังมีคาที่ไวพจน์อื่นๆอีกดังนี้ ๑. ศีล หมายถึงความประพฤติงามทางกายและวาจา ๒ . พ ร ะ บั ญ ญั ติ หมายถึงข้อห้ามมิให้ภิกษุภิกษุนีประพฤติล่วงละเมิดชึ่งมีบทกาหนดโทษปรับอาบัติแ ก่ผู้หลวงละเมิด ถ้าบัญญัติครั้งแรก เรียกว่า มูลบัญญัติ ถ้าบัญญัติแก่ไข้เพิ่มเติม เรียกว่า อนุบัญญัติ ๓. สิกขาบท หมายถึงอุบายศึกษาหรือข้อศึกษา ได้แก่ ศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑ ๐ ศี ล ๒ ๒ ๗ แ ล ะ ศี ล ๓ ๓ ๑ ข้อศึกษาเหล่านี้จัดเป็นเบื้องต้นแห่งฌานวิปัสสนาและอริยมรรค ส่ว น ค า ว่า ปิ ฎ ก มี ค ว า ม ห ม า ย ๒ อ ย่ า ง คื อ ( ๑ ) ป ริยัติ แปลว่าการศึกษาเล่าเรียน ในที่นี้หมายถึงคัมภีร์ห รือตารา (๒) ภาช นะ หมายถึงอุปกรณ์เครื่องจาแนก รองรับรวบรวม หรือบรรจุ เมื่อรวมคาว่า วินัย เข้ากับ ปิ ฎ ก เป็ นวินัย ปิ ฎก จึงห มาย ถึง คัมภีร์ประมวลกฎสาหรับฝึกอบรมกายวาจาหรือภาชนะที่รวบรวมหรือบรรจุกฎสาหรั บฝึกอบรมกายวาจา ๒. โครงสร้างของพระวินัยปิ ฎก ตอบ โครงสร้างของพระวินัยปิฎก
  • 5. มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภัง ค์ มหาวรรค จูฬวรรค ปริวาร ภิกขุวิภังคโสฬสมหาวรร ค ภิกขุนีวิภังคโสฬสมหาวา ร สมุฏฐานสีสสังเขป อันตรเปยยาล-สมถเภท ขันธกะปุจฉาวาร- เอกุตตริกนัย อุโปสถาทิปุจฉาวิสัชชนา อัตถวสปกรณ์- คาถาสังคณิกะ อธิกรณเภท- อปรคาถาสังคณิกะ โจทนากัณฑ์-จูฬสงคราม มหาสงคราม-กฐินเภท อุปาลิปัญจกะ- อัตถาปัตติสมุฏฐาน ทุติยคาถาสังคณิกะ เสทโจนคาถา-ปัญจวรรค ปาราชิกกัณ ฑ์ สังฆาทิเสสกั ณฑ์ อนิยตกัณฑ์ นิสสัคคิยกัณ ฑ์ ปาจิตติกัณฑ์ ปาฏิเทสนิยกั ณฑ์ เสขิยกัณฑ์ อธิกรณสมถ ะ มหาขันธกะ อุโปสถขันธก ะ วัสสูปนายิกขั นธกะ ปวารณาขันธ กะ จัมมขันธกะ เภสัชชขันธก ะ กฐินขันธกะ จีวรขันกะ จัมเปยยขันธ กะ โกสัมพิกขันะ กะ เวรัญชกัณฑ์ ปาราชิกกัณ ฑ์ สังฆาทิเสสกั ณฑ์ อนิยตกัณฑ์ นิสสัคคิยกัณ ฑ์ ปาจิตติยกัณ ฑ์ ปาฏิเทสนิยกั ณฑ์ เสขิยกัณฑ์ อธิกรณสมถ ะ กัมมขันธกะ ปาริวาสิกขันธกะ สมุจจยขันธกะ สมถขันธกะ ขุททกวัตถุขันธก ะเสนาสนะขันธก ะ สังฆเภทขันธกะ วัตตขันทกะ ปาติโมกขัฏฐปน ขันธกะ ภิกขุนีขันธกะ ปัญจสติขันธกะ สัตตสติกขันธกะ