SlideShare a Scribd company logo
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
คำแนะนำสำหรับครู
การเรียนโดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง
ตามความสามารถ ครูเป็นผู้อานวยความสะดวกให้แก่นักเรียนตลอดจน
ให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดจากการใช้บทเรียนสาเร็จรูป
ดังนั้นเพื่อให้ได้ผลตามความมุ่งหมายที่ตั้งไว้ กาหนดให้ครูปฏิบัติตาม
คาแนะนาดังนี้
๑. อธิบายทาความเข้าใจกับนักเรียนเกี่ยวกับวิธีการใช้บทเรียนสาเร็จรูป
ตามลาดับ ดังนี้
- ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ และ
สาระสาคัญ
- ทาแบบทดสอบก่อนเรียนโดยยังไม่ต้องตรวจคาตอบ
- ศึกษาเนื้อหาทีละกรอบ ตอบคาถามประจากรอบ ตรวจคาตอบจาก
เฉลย
- ทาแบบทดสอบหลังเรียน
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน
๒. ชี้แจงในกรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผลร้อยละ ๘๐
นักเรียนจะต้องกลับไปศึกษาบทเรียน ตามลาดับอีกครั้งจนกว่าจะผ่าน
เกณฑ์การประเมินผล แล้วจึงไปเรียนรู้บทเรียนสาเร็จรูปเล่มต่อไป
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๓
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
คำแนะนำสำหรับนักเรียน
คาแนะนาในการใช้บทเรียนสาเร็จรูปสาหรับนักเรียน สาระการเรียนรู้นี้
เป็นบทเรียนสาเร็จรูปที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองและต้องปฏิบัติตาม
ข้อตกลงดังนี้
๑. เนื้อหาแต่ละตอน เรียกว่า “กรอบ”
๒. บทเรียนสาเร็จรูปเล่มนี้มีจานวน ๔ กรอบเนื้อหา ๔ กรอบคาถาม
ซึ่งเรียงลาดับจากง่ายไปยาก
๓. ศึกษาบทเรียนไปตามลาดับ ไม่ข้ามกรอบเนื้อหาใดเนื้อหาหนึ่งและปฏิบัติตาม
คาแนะนา อย่างเคร่งครัด
๔. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสาคัญ
๕. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน ๑๐ ข้อ นักเรียนต้องมีความซื่อสัตย์ต่อ
ตนเองโดยไม่ดูเฉลยแล้วตรวจคาตอบ
๖. ศึกษาเนื้อหาทีละกรอบเนื้อหา แล้วตอบคาถามประจากรอบ ตรวจคาตอบ
เฉลยในหน้าถัดไป
๗. เมื่อนักเรียนศึกษาบทเรียนจบแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน ๑๐ ข้อ นักเรียน
ต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองโดยไม่ดูเฉลยแล้วตรวจคาตอบ
๘. นักเรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินผลร้อยละ ๘๐ จึงจะสามารถไปศึกษา
บทเรียนสาเร็จรูปเล่มต่อไป
๙. ถ้านักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผล นักเรียนต้องกลับไปศึกษาบทเรียน
ตามลาดับอีกครั้งจนกว่าจะผ่านเกณฑ์การประเมินผล
๑๐. นักเรียนมีข้อสงสัยไม่เข้าใจให้ปรึกษาขอคาแนะนาจากครูผู้สอน
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๔
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
ขั้นตอนกำรเรียนบทเรียนสำเร็จรูป
เล่มที่ ๗ คำอุทำน
๑. อ่ำนคำแนะนำ
๒. ทำแบบทดสอบก่อน
เรียน
ไม่ผ่ำนเกณฑ์
๓. ศึกษำบทเรียนสำเร็จรูป
กิจกรรม
- ศึกษำกรอบเนื้อหำ
- ทำแบบฝึกกิจกรรม
- ตรวจคำตอบ
- ทบทวนเนื้อหำจำกกรอบสรุปเนื้อหำ
๔. ทำแบบทดสอบหลังเรียน
ศึกษำบทเรียนสำเร็จรูปเรื่องต่อไป
ผ่ำนเกณฑ์
กำรประเมินผล
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๕
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
สำระที่ ๔ หลักภำษำไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย
การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็น
สมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ท ๔.๑ ป.๖/๑. วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
จุดประสงค์กำรเรียนรู้
๑. นักเรียนบอกความหมายของคาอุทานได้ถูกต้อง
๒. นักเรียนวิเคราะห์ชนิดของคาอุทานในประโยคได้ถูกต้อง
๓. นักเรียนบอกหน้าที่ของคาอุทานได้ถูกต้อง
สำระสำคัญ
คำอุทำน คือ คาที่เปล่งเสียงออกมาเพื่อแสดงอารมณ์และความรู้สึก
ของผู้พูด มักจะเป็นคาที่ไม่มีความหมาย แต่เน้นความรู้สึก และอารมณ์ของ
ผู้พูด คาอุทาน
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๖
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
แบบทดสอบก่อนเรียน
คำชี้แจง ให้นักเรียน ทาเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร ก ข ค หรือ ง
ที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
................................................................................................
๑. คาอุทานมีความหมายอย่างไร
ก. คาที่ใช้แทนคานาม
ข. คาที่ใช้แทนคาสรรพนาม
ค. คาที่ใช้แสดงอารมณ์ ความรู้สึก
ง. คาที่ใช้เชื่อมต่อข้อความหรือประโยค
๒. ประโยคในข้อใดที่มีคาอุทาน
ก. เช้าวันนี้อากาศดีมาก
ข. โอ้โฮ! ทาไมเธอสวยจังเลย
ค. เขากลับมาถึงบ้านตั้งแต่เมื่อวาน
ง. สมศรีและสมชายเดินไปโรงเรียน
๓. “............น่ำสงสำรจริง” ควรเติมคาอุทานในข้อใด
ก. ว้าย!
ข. โอ้โฮ!
ค. ไชโย!
ง. พุทโธ่!
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๗
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
๔. คาว่า “ว้ำย” ในข้อใดใช้ถูกต้อง
ก. ว้าย! งูตัวใหญ่
ข. ว้าย! เก่งจังเลย
ค. ว้าย! แม่นอนอยู่ในบ้าน
ง. ว้าย! น่าสงสารอะไรอย่างนี้
๕. คาว่า “ไชโย” ในข้อใดเป็นคาอุทาน
ก. ไชโยเป็นนักฟุตบอล
ข. ไชโยทีมเราชนะแล้ว
ค. สาลีเป็นเพื่อนกับไชโย
ง. ต้นกล้าส่งเสียงร้องไชโย
๖. ข้อใดใช้คาอุทานต่างจากพวก
ก. ย่าไปวัดไปวา
ข. เฮ้ยเหนื่อยจัง
ค. โธ่น่าสงสารจัง
ง. อนิจจาทาไมเป็นแบบนี้
๗. ข้อใดเป็นคาอุทานเสริมบท
ก. แหม เธอพูดแบบนี้ได้อย่างไร
ข. โอ้โฮ ทาไมสวยอย่างนี้
ค. เฮ๊ะ นั่นกล่องอะไร
ง. ย่าไปวัดไปวาทุกวันพระ
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๘
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
๘. ข้อใดเป็นคาอุทานบอกอาการเสียใจ
ก. ว้าย! งูกัด
ข. ไชโย! ฉันสอบได้ที่หนึ่ง
ค. โอ้โฮ! ของขวัญชิ้นใหญ่
ง. โธ่! เขาไม่น่าทากับน้องอย่างนี้เลย
๙. “.................เจ็บจังเลย” ควรเติมคาอุทานในข้อใด
ก. อุ๊ย!
ข. แหม!
ค. ไชโย!
ง. อนิจจา!
๑๐. “งูเงี้ยว................” ควรเติมคาในข้อใด
ก. งูเห่า
ข. งูจงอาง
ค. เขี้ยวขอ
ง. งูเหลือม
ตั้งใจอ่าน คิดวิเคราะห์
ข้อสอบนะครับ
ไปเรียนเรื่อง
คาอุทานเลยครับ
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๙
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
๑. ค ๖. ก
๒. ข ๗. ง
๓. ง ๘. ค
๔. ก ๙. ก
๕. ข ๑๐. ค
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๐
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
คำอุทำน
คำอุทำน คือ คาที่เปล่งเสียงออกมาเพื่อแสดงอารมณ์และความรู้สึก
ของผู้พูด เช่น ตกใจ ดีใจ เสียใจ ท้อใจ แปลกใจ โล่งใจ สงสาร ชื่นชม มักจะ
เป็นคาที่ไม่มีความหมาย แต่เน้นความรู้สึก และอารมณ์ของผู้พูด คา
อุทาน เสียงที่เปล่งออกมาเป็นคาอุทานนี้ แบ่งเป็น ๓ ลักษณะ
๑. เป็นคา เช่น โอ๊ย ว้าย แหม โถ เป็นต้น
๒. เป็นวลี เช่น พุทโธ่เอ๋ย คุณพระช่วย เป็นต้น
๓. เป็นประโยค เช่น ไฟไหมเจ้าข้า ป้าถูกรถชน เป็นต้น
สวัสดีครับน้องๆ วันนี้เราไป
เรียนรู้คาอุทานกันทีละกรอบ
เลยครับ
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๑
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
กรอบคาถามที่ ๑
คาอุทานคืออะไร
กรอบคาตอบที่ ๑
คาอุทาน คือ คาที่เปล่งออกมา
เพื่อแสดงความรู้สึกของผู้พูด
ชนิดของคำอุทำน
คำอุทำนแบ่งเป็น ๒ ชนิด ดังนี้
๑. อุทานบอกอาการ คือ คาที่บอกอารมณ์หรือความรู้สึกต่าง ๆ ของ
ผู้พูด คาอุทานชนิดนี้มักอยู่หน้าประโยค และมีเครื่องหมายอัศเจรีย์
( ! ) กากับอยู่ท้ายคาอุทาน แบ่งเป็น
๑.๑ อาการร้องเรียกหรือบอกให้รู้ตัว เช่น นี่แน่ะ! เฮ้ย! โว้ย!
๑.๒ อาการโกรธเคือง เช่น ดูดู๋! ชะๆ! ชิๆ!
๑.๓ อาการประหลาดใจหรือตกใจ เช่น เอ๊ะ! ว๊าย! แม่เจ้าโว้ย!
๑.๔ อาการสงสารหรือปลอบโยน เช่น อนิจจา! พุธโธ่!
๑.๕ อาการเข้าใจหรือรับรู้ เช่น เออ! เออน่ะ! อ้อ!
๑.๖ อาการเจ็บปวด เช่น โอย! โอ๊ย!
๑.๗ อาการจากสิ่งธรรมชาติ เช่น ตูม! โครม! เปรี้ยง!
เก่งจังเลย ต่อไปกรอบ
ที่ ๒ ครับ
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๒
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
ตัวอย่ำง
- โอ้โฮ! มากันทั้งหมดเลย
- เฮ้อ! สอบกี่ครั้งก็ได้คะแนนเท่าเดิม
กรอบคาถามที่ ๒
คาอุทานต้องมีเครื่องหมายวรรคตอนใดกากับ
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๓
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
กรอบคาตอบที่ ๒
เครื่องหมายอัศเจรีย์ ( ! )
๒. อุทำนเสริมบท คือ คาที่นามาเสริมเพื่อให้เกิดความสละสลวยขึ้น
๒.๑ มักเป็นคาคู่ที่มีเสียงสัมผัสคล้องจองกัน เช่น
- หนังสือหนังหำ
- อาบน้าอำบท่ำ
- กินข้าวกินปลำ
- หัวหลักหัวตอ
- วัดวำอาราม
- รถรำ
๒.๒ ไม่นิยมใส่เครื่องหมายอัศเจรีย์ ( ! ) กากับ
๒.๓ คาสร้อยในบทร้อยกรองก็จัดเป็นคาอุทานเสริมบท ได้แก่คา
ว่า แฮ เอย เทอญ นำ ฤำ โอ้ว่ำ แล เฮย เช่น
- เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
- โอ้ ศรีเสาวลักษณ์ล้า แลโลม โลกเอย
- โฉมควรจักฝากฟ้า ฤๅดิน ดีฤๅ
- พระสุเมรุเปื่อยเป็นตม ทบท่าว ลงนำ
เก่งจังตอบถูกอีกแล้ว
ต่อไปกรอบที่ ๓ ครับ
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๔
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
กรอบคาถามที่ ๓
..............ยิงเรือ ควรเติมคาใดลงไปในช่องว่าง
กรอบคำตอบที่ ๓
ผู้หญิง
หน้ำที่ของคำอุทำน
หน้ำที่ของคำอุทำน มีดังนี้คือ
๑. ทาหน้าที่แสดงความรู้สึกของผู้พูด เช่น
- ตายจริง! ฉันลืมเอากระเป๋าสตางค์มา
- โธ่! เธอคงจะหนาวมากละซิ
- เอ๊ะ! ใครกันที่นาดอกไม้มาวางไว้ที่โต๊ะของฉัน
๒. ทาหน้าที่เพิ่มน้าหนักของคา ซึ่งได้แก่คาอุทานเสริมบท เช่น
- ทาเสร็จเสียทีจะได้หมดเรื่องหมดราวกันไป
- เมื่อไรเธอจะหางงหางานทาเสียที
- เธอเห็นฉันเป็นหัวหลักหัวตอหรืออย่างไร
๓. ทาหน้าที่ประกอบข้อความในคาประพันธ์ เช่น
- แมวเอ๋ยแมวเหมียว
- มดเอ๋ยมดแดง
- กาเอ๋ยกาดา
เก่งมากครับ ต่อไป
กรอบที่ ๕ ครับ
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๕
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
กรอบคาถามที่ ๔
คาอุทานมีหน้าที่อย่างไรบ้าง
กรอบคำตอบที่ ๔
๑. ทาหน้าที่แสดงความรู้สึกของผู้พูด
๒. ทาหน้าที่เพิ่มน้าหนักของคา
๓. ทาหน้าที่ประกอบข้อความในคาประพันธ์
คำอุทำน คือ คาที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์หรือความรู้สึก
ของผู้พูด มักจะเป็นคาที่ไม่มีความหมาย แต่เน้นความรู้สึก และอารมณ์
ของผู้พูด
คำอุทำนแบ่งเป็น ๒ ชนิด ดังนี้
๑. อุทานบอกอาการ คือ คาที่บอกอารมณ์หรือความรู้สึกต่าง ๆ ของ
ผู้พูด คาอุทานชนิดนี้มักอยู่หน้าประโยคและมีเครื่องหมายอัศเจรีย์
( ! ) กากับอยู่ท้ายคาอุทาน
๒. อุทานเสริมบท คือ คาที่นามาเสริมเพื่อให้เกิดความสละสลวยขึ้น
หน้ำที่ของคำอุทำน มีดังนี้คือ
๑. ทาหน้าที่แสดงความรู้สึกของผู้พูด
๒. ทาหน้าที่เพิ่มน้าหนักของคา ซึ่งได้แก่คาอุทานเสริมบท
๓. ทาหน้าที่ประกอบข้อความในคาประพันธ์
ไชโย! จบแล้ว
ไปดูกรอบสรุป
นะ
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๖
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
กรอบแบบฝึกทักษะที่ ๑
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาอุทานที่กาหนดให้ไปเติมใน
ช่องว่างให้ได้ใจความที่สมบูรณ์
หนังสือหนังหา ลูกเต้า โธ่! เอ๊ะ! ว้าย!
เข้าวัดเข้าวา ไชโย! ดีใจ! อนิจจา! โอ้โอ!
๑. เธอเป็น........................เหล่าใคร
๒. แม่บอกลูกให้อ่าน...................................
๓. วันพระ..............................ไปทาบุญบ้างนะลูก
๔. ..................คุณพระช่วย
๕. ...................ทาไมสวยอย่างนี้
๖. ...................น่าสงสาร
๗. แก้มใส.............................ที่ได้เจอแม่ที่แท้จริง
๘. .......................พ่อกลับมาแล้ว
๙. ...................... นั่นกล่องอะไร
๑๐...........................เด็กตกน้า
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๗
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
กรอบแบบฝึกทักษะที่ ๒
คาชี้แจง ให้นักเรียนบอกชนิดของคาอุทานในประโยค
๗. ค่าแล้วยังไม่อาบน้าอาบท่า
๘. โอ้โฮ!นางสงกรานต์งามจริงๆ
๙. ไชโย! ฉันได้ไปเที่ยวทะเลแล้ว
๑๐. ถ้าป่วยก็กินหยูกกินยาจะได้หายไวๆ
๑. เขาทาเป็นไม่รู้ไม่ชี้กับเรื่องที่เกิดขึ้น
๓. ย่าไปวัดไปวาทุกวันพระ
๔. แม่เขาเลี้ยงดูปูเสื่อเป็นอย่างดี
๕. ว้าย! รถชนกัน
๖. โธ่! ทาไมจึงเป็นแบบนี้
๒. แหม ! เธอพูดแบบนี้ได้อย่างไร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๘
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
เฉลยกรอบแบบฝึกทักษะที่ ๑
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาอุทานที่กาหนดให้ไปเติมใน
ช่องว่างให้ได้ใจความที่สมบูรณ์
หนังสือหนังหา ลูกเต้า โธ่! เอ๊ะ! ว้าย!
เข้าวัดเข้าวา ไชโย! ดีใจ! อนิจจา! โอ้โอ!
เธอเป็น....................เหล่าใคร
๑. แม่บอกลูกให้อ่าน..........................
๒. วันพระ........................ไปทาบุญบ้างนะลูก
๓. ..................คุณพระช่วย
๔. ...................ทาไมสวยอย่างนี้
๕. ...................น่าสงสาร
๖. แก้มใส..................ที่ได้เจอแม่ที่แท้จริง
๗. .......................พ่อกลับมาแล้ว
๘. ...................... นั่นกล่องอะไร
๑๐...........................เด็กตกน้า
ลูกเต้า
หนังสือหนังหา
เข้าวัดเข้าวา
โธ่!
อนิจจา!
ดีอกดีใจ
ไชโย!
เอ๊ะ!
ว้าย!
โอ้โฮ!
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๙
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
เฉลยกรอบแบบฝึกทักษะที่ ๒
คาชี้แจง ให้นักเรียนบอกชนิดของคาอุทานในประโยค
๗. ค่าแล้วยังไม่อาบน้าอาบท่า
๘. โอ้โฮ!นางสงกรานต์งามจริงๆ
๙. ไชโย! ฉันได้ไปเที่ยวทะเลแล้ว
๑๐. ถ้าป่วยก็กินหยูกกินยาจะได้หายไวๆ
อุทานเสริมบท
อุทานบอกอาการ
อุทานบอกอาการ
อุทานเสริมบท
๑. เขาทาเป็นไม่รู้ไม่ชี้กับเรื่องที่เกิดขึ้น
๓. ย่าไปวัดไปวาทุกวันพระ
๔. แม่เขาเลี้ยงดูปูเสื่อเป็นอย่างดี
๕. ว้าย! รถชนกัน
๖. โธ่! ทาไมจึงเป็นแบบนี้
๒. แหม ! เธอพูดแบบนี้ได้อย่างไร
อุทานเสริมบท
อุทานบอกอาการ
อุทานเสริมบท
อุทานเสริมบท
อุทานบอกอาการ
อุทานบอกอาการ
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๐
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
แบบทดสอบหลังเรียน
คำชี้แจง ให้นักเรียน ทาเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร ก ข ค หรือ ง
ที่ถูกต้องที่สุดเพียงตัวเดียว
................................................................................................
๑. คาอุทานมีความหมายอย่างไร
ก. คาที่ใช้แทนคานาม
ข. คาที่ใช้แทนคาสรรพนาม
ค. คาที่ใช้แสดงอารมณ์ ความรู้สึก
ง. คาที่ใช้เชื่อมต่อข้อความหรือประโยค
๒. คาว่า “ไชโย” ในข้อใดเป็นคาอุทาน
ก. ไชโยเป็นนักฟุตบอล
ข. ไชโย! ทีมเราชนะแล้ว
ค. สาลีเป็นเพื่อนกับไชโย
ง. ต้นกล้าส่งเสียงร้องไชโย
๓. ข้อใดเป็นคาอุทานบอกอาการเสียใจ
ก. ว้าย! งูกัด
ข. ไชโย! ฉันสอบได้ที่หนึ่ง
ค. โอ้โฮ! ของขวัญชิ้นใหญ่
ง. โธ่! เขาไม่น่าทากับน้องอย่างนี้เลย
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๑
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
๔. คาว่า “ว้ำย” ในข้อใดใช้ถูกต้อง
ก. ว้าย! งูตัวใหญ่
ข. ว้าย! เก่งจังเลย
ค. ว้าย! แม่นอนอยู่ในบ้าน
ง. ว้าย! น่าสงสารอะไรอย่างนี้
๕. ประโยคในข้อใดที่มีคาอุทาน
ก. เช้าวันนี้อากาศดีมาก
ข. โอ้โฮ! ทาไมเธอสวยจังเลย
ค. เขากลับมาถึงบ้านตั้งแต่เมื่อวาน
ง. สมศรีและสมชายเดินไปโรงเรียน
๖. ข้อใดใช้คาอุทานต่างจากพวก
ก. ย่าไปวัดไปวา
ข. เฮ้ย! เหนื่อยจัง
ค. โธ่! น่าสงสารจัง
ง. อนิจจา! ทาไมเป็นแบบนี้
๗. “งูเงี้ยว................” ควรเติมคาในข้อใด
ก. งูเห่า
ข. งูจงอาง
ค. เขี้ยวขอ
ง. งูเหลือม
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๒
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
๘. “............น่ำสงสำรจริง” น่าจะเติมคาอุทานในข้อใด
ก. ว้าย!
ข. โอ้โฮ!
ค. ไชโย!
ง. พุทโธ่!
๙. “.................เจ็บจังเลย” ควรเติมคาอุทานในข้อใด
ก. อุ๊ย!
ข. แหม!
ค. ไชโย!
ง. อนิจจา!
๑๐. ข้อใดเป็นคาอุทานเสริมบท
ก. แหม เธอพูดแบบนี้ได้อย่างไร
ข. โอ้โฮ ทาไมสวยอย่างนี้
ค. เฮ๊ะ นั่นกล่องอะไร
ง. ย่าไปวัดไปวาทุกวันพระ
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๓
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
๑. ค ๖. ก
๒. ข ๗. ค
๓. ค ๘. ง
๔. ก ๙. ก
๕. ข ๑๐. ง
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๔
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
แบบสังเกตพฤติกรรม
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
คำชี้แจง : ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในขณะปฏิบัติกิจกรรม แล้วสรุปผล
การประเมิน การสังเกต ดังนี้
เลขที่
รำยกำรประเมิน ผลกำรประเมิน
๑.ควำมรู้
ควำมเข้ำใจ
๒.ควำมสนใจ
ในกำรร่วม
กิจกรรม
๓.กำรทำงำน
ตำม
กระบวนกำร
ทำงำน๔.
กระบวนกำร
คิด
๕.ผลงำน
สำเร็จ
เรียบร้อย
รวม
ระดับ
คุณภำพ
๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑
ระดับคุณภาพ
๓ = ดี , ๒ = พอใช้ , ๑ = ปรับปรุง
สรุปผลการประเมินการสังเกต
ดี ๑๑– ๑๕ คะแนน พอใช้ ๖–๑๐ คะแนน ปรับปรุง ต่ากว่า ๐- ๔ คะแนน
ลงชื่อ ผู้บันทึก
( ..................................................... )
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๕
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรประเมินกำรสังเกตพฤติกรรม
กำรปฏิบัติ คะแนน
ควำมรู้ควำมเข้ำใจ
๑. มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติกิจกรรมได้ชัดเจน
๒. มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติกิจกรรม
๓. ไม่มีความรู้ความเข้าใจ
๓
๒
๑
ควำมสนใจในกำรร่วมกิจกรรม
๑. มีความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรมอย่างสม่าเสมอ
๒. มีความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรม
๓. ไม่มีความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรม
๓
๒
๑
กำรทำงำนตำมกระบวนกำร
๑. วิเคราะห์งาน ก่อนลงมือทางาน วางแผนทางาน สารวจ
ข้อมูลตามประเด็นที่กาหนด
๒. วิเคราะห์งานที่ทา วางแผนทางาน สารวจข้อมูล
๓. สารวจและบันทึกข้อมูลได้เล็กน้อย
๓
๒
๑
กระบวนกำรคิด
๑. คิดอย่างสร้างสรรค์ และมีวิจารณญาณเพื่อให้ได้มาซึ่งองค์
ความรู้
๒. คิดอย่างสร้างสรรค์ และมีวิจารณญาณ
๓. คิดอย่างสร้างสรรค์
๓
๒
๑
ผลงำนสำเร็จเรียบร้อย
๑. ทางานเสร็จ ส่งงานครบตรงเวลา
๒. ทางานเสร็จส่งงานช้ามาก
๓. ทางานไม่เสร็จ ไม่สนใจ ไม่ส่งงาน
๓
๒
๑
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๖
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
แบบประเมินทักษะกระบวนกำร
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
เล่มที่ ๗ คำอุทำน
_____________________________________________________________
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตการใช้ทักษะกระบวนการในขณะปฏิบัติกิจกรรม
โดยเขียนระดับคะแนนลงในตารางที่ตรงกับความสามารถของผู้เรียน
เกณฑ์กำรให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนสม่าเสมอ ๓ คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนเป็นบางครั้ง ๒ คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครั้ง ๑ คะแนน
ชื่อ-สกุล
รำยกำรประเมิน
รวม
คะแนน
สรุปผลกำรประเมิน
กำรคิด กำรแก้ปัญหำ กำรเรียนรู้ ผ่ำน ไม่ผ่ำน
ลงชื่อ ผู้บันทึก
เกณฑ์กำรประเมิน
นักเรียนได้คะแนน ๖ คะแนนขึ้นไป
ถือว่า ผ่านเกณฑ์ประเมิน ( )
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๗
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
เล่มที่ ๗ คำอุทำน
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมการทางาน การปฏิบัติงานของนักเรียน โดยเขียนระดับ
คะแนนลงในตารางที่ตรงกับความสามารถของผู้เรียน
ชื่อ – สกุล
คุณธรรม จริยธรรม และค่ำนิยม
รวม
๔
สรุปผลกำร
ประเมิน
๑.มีวินัย
๒.ใฝ่เรียนรู้
๓.มุ่งมั่นในกำร
ทำงำน
๔.ควำมซื่อสัตย์
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
( )
เกณฑ์กำรประเมิน
นักเรียนมีการปฏิบัติ ๓ รายการ ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์ประเมิน
ระดับคะแนน ผ่าน ๑ รายการ ๓ คะแนน ผ่าน ๒ รายการ ๖ คะแนน
ผ่าน ๓ รายการ ๙ คะแนน ผ่าน ๔ รายการ ๑๒ คะแนน
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๘
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กำรปฏิบัติ คะแนน
มีวินัย
๑. ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบของครอบครัว
โรงเรียน และสังคมไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน และรับผิดชอบในการทางาน
๒. ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบของครอบครัวและ
โรงเรียน ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันและ
รับผิดชอบในการทางาน
๓. ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบของครอบครัว และ
โรงเรียน ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน
๓
๒
๑
ใฝ่เรียนรู้
๑. เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ และมีความเพียรพยายาม
ในการเรียนรู้ มีส่วนร่วมในการเรียนรู้และเข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้
ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนเป็นประจา
๒. เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ และมีความเพียรพยายาม
ในการเรียนรู้ มีส่วนร่วมในการเรียนรู้และเข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้
ต่าง ๆ บ่อยครั้ง
๓. เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ในการเรียน มีส่วนร่วมใน
การเรียนรู้และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ต่าง ๆ เป็นบางครั้ง
๓
๒
๑
มุ่งมั่นในกำรทำงำน
๑. ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ให้สาเร็จ มีการปรับปรุงและพัฒนาการทางานให้ดีขึ้นด้วยตนเอง
๒. ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ให้สาเร็จ มีการปรับปรุงและพัฒนาการทางานให้ดีขึ้น
๓. ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ให้สาเร็จ มีการปรับปรุงการทางานให้ดีขึ้น
๓
๒
๑
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๙
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ)
กำรปฏิบัติ คะแนน
ควำมซื่อสัตย์
๑. ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริงปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ทา
ตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับพ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู ละอายและเกรง
กลัวที่จะทาความผิด เป็นแบบอย่างที่ดี ด้านความซื่อสัตย์
๒. ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริง ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ทา
ตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับพ่อแม่ หรือผู้ปกครองและครู ละอายและเกรง
กลัวที่จะทาความผิด
๓. ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริง ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ทา
ตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับพ่อแม่ หรือผู้ปกครองและครู
๓
๒
๑
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๓๐
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
แบบบันทึกคะแนนทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
เล่มที่ ๗ คำอุทำน
ที่ ชื่อ/นามสกุล
คะแนนผลการทดสอบ
ความก้าวหน้า
ก่อนเรียน หลังเรียน
คะแนนเฉลี่ย
ร้อยละโดยรวม
ลงชื่อ ผู้บันทึก
( )
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๓๑
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
บรรณำนุกรม
กรมวิชาการ.คู่มือกำรจัดกำรเรียนรู้กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย.
กรุงเทพฯ.โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์,๒๕๔๕.
กาชัย ทองหล่อ. หลักภำษำไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาส์น, ๒๕๕๑.
เครือรัตน์ เรืองแก้ว. ชนิดของคำ. กรุงเทพฯ : ปาเจรา, ๒๕๔๖.
ทินรัตน์ จันทราภินันท์. หลักภำษำไทย ช่วงชั้นที่ ๒ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖.
กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์เดอะบุคส์ จากัด. ๒๕๔๙.
พรทิพย์ แฟงสุด. หลักภำษำ ม.ต้น. กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, ๒๕๕๒.
พัฒนา สุริยะ.รำยงำนกำรใช้บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง คำและชนิดของคำ
ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖. เลย.อัดสาเนา.๒๕๕๐.
สมศักดิ์ อัมพรวิสิทธิ์โสภา และคณะ. อัจฉริยภำพ ชุด หลักภำษำไทย.
กรุงเทพฯ : ภูมบัณฑิต, ๒๕๕๑.
สาลี รักสุทธิ และสุภาพ ปูนอน. แบบฝึกเสริมทักษะกลุ่มสำระภำษำไทย
ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖. กรุงเทพฯ : รุ่งเรืองสาส์นการพิมพ์.
ม.ป.ป.,๒๕๔๐.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,กระทรวงศึกษาธิการ.
หนังสือเรียนภำษำพำที ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖.พิมพ์ครั้งที่ ๒ .
กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,๒๕๔๘.
_____. หนังสือเรียนวรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖.พิมพ์ครั้งที่ ๒ .
กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,๒๕๔๘.
เอกรินทร์ สี่มหาศาล.แม่บทมำตรฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้
ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖.อักษรเจริญทัศน์,๒๕๔๔.
อัจรา ชีวพันธ์. หลักภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖. กรุงเทพฯ : แอล ที เพลส
จากัด. ๒๕๕๖.
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๓๒
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
Piyarerk Bunkoson
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการNapadon Yingyongsakul
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
sripayom
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทยอร ครูสวย
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
สีและการผสมสี
สีและการผสมสีสีและการผสมสี
สีและการผสมสี
พัน พัน
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
กึม จันทิภา
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
wanchalerm sotawong
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
SophinyaDara
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
Khunnawang Khunnawang
 

What's hot (20)

แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
สีและการผสมสี
สีและการผสมสีสีและการผสมสี
สีและการผสมสี
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
 

Similar to เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทาน

แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
ppisoot07
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...0894239045
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือkrujee
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
kruthai40
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
พัน พัน
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshare
Numuk
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
niralai
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1krumildsarakam25
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
krumildsarakam25
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
Manas Panjai
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยthaneerat
 

Similar to เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทาน (20)

แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือ
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshare
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทาน

  • 1. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
  • 2. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ คำแนะนำสำหรับครู การเรียนโดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความสามารถ ครูเป็นผู้อานวยความสะดวกให้แก่นักเรียนตลอดจน ให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดจากการใช้บทเรียนสาเร็จรูป ดังนั้นเพื่อให้ได้ผลตามความมุ่งหมายที่ตั้งไว้ กาหนดให้ครูปฏิบัติตาม คาแนะนาดังนี้ ๑. อธิบายทาความเข้าใจกับนักเรียนเกี่ยวกับวิธีการใช้บทเรียนสาเร็จรูป ตามลาดับ ดังนี้ - ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ และ สาระสาคัญ - ทาแบบทดสอบก่อนเรียนโดยยังไม่ต้องตรวจคาตอบ - ศึกษาเนื้อหาทีละกรอบ ตอบคาถามประจากรอบ ตรวจคาตอบจาก เฉลย - ทาแบบทดสอบหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน ๒. ชี้แจงในกรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผลร้อยละ ๘๐ นักเรียนจะต้องกลับไปศึกษาบทเรียน ตามลาดับอีกครั้งจนกว่าจะผ่าน เกณฑ์การประเมินผล แล้วจึงไปเรียนรู้บทเรียนสาเร็จรูปเล่มต่อไป
  • 3. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๓ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ คำแนะนำสำหรับนักเรียน คาแนะนาในการใช้บทเรียนสาเร็จรูปสาหรับนักเรียน สาระการเรียนรู้นี้ เป็นบทเรียนสาเร็จรูปที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองและต้องปฏิบัติตาม ข้อตกลงดังนี้ ๑. เนื้อหาแต่ละตอน เรียกว่า “กรอบ” ๒. บทเรียนสาเร็จรูปเล่มนี้มีจานวน ๔ กรอบเนื้อหา ๔ กรอบคาถาม ซึ่งเรียงลาดับจากง่ายไปยาก ๓. ศึกษาบทเรียนไปตามลาดับ ไม่ข้ามกรอบเนื้อหาใดเนื้อหาหนึ่งและปฏิบัติตาม คาแนะนา อย่างเคร่งครัด ๔. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสาคัญ ๕. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน ๑๐ ข้อ นักเรียนต้องมีความซื่อสัตย์ต่อ ตนเองโดยไม่ดูเฉลยแล้วตรวจคาตอบ ๖. ศึกษาเนื้อหาทีละกรอบเนื้อหา แล้วตอบคาถามประจากรอบ ตรวจคาตอบ เฉลยในหน้าถัดไป ๗. เมื่อนักเรียนศึกษาบทเรียนจบแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน ๑๐ ข้อ นักเรียน ต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองโดยไม่ดูเฉลยแล้วตรวจคาตอบ ๘. นักเรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินผลร้อยละ ๘๐ จึงจะสามารถไปศึกษา บทเรียนสาเร็จรูปเล่มต่อไป ๙. ถ้านักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผล นักเรียนต้องกลับไปศึกษาบทเรียน ตามลาดับอีกครั้งจนกว่าจะผ่านเกณฑ์การประเมินผล ๑๐. นักเรียนมีข้อสงสัยไม่เข้าใจให้ปรึกษาขอคาแนะนาจากครูผู้สอน
  • 4. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๔ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ ขั้นตอนกำรเรียนบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ คำอุทำน ๑. อ่ำนคำแนะนำ ๒. ทำแบบทดสอบก่อน เรียน ไม่ผ่ำนเกณฑ์ ๓. ศึกษำบทเรียนสำเร็จรูป กิจกรรม - ศึกษำกรอบเนื้อหำ - ทำแบบฝึกกิจกรรม - ตรวจคำตอบ - ทบทวนเนื้อหำจำกกรอบสรุปเนื้อหำ ๔. ทำแบบทดสอบหลังเรียน ศึกษำบทเรียนสำเร็จรูปเรื่องต่อไป ผ่ำนเกณฑ์ กำรประเมินผล
  • 5. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๕ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ สำระที่ ๔ หลักภำษำไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็น สมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ป.๖/๑. วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ๑. นักเรียนบอกความหมายของคาอุทานได้ถูกต้อง ๒. นักเรียนวิเคราะห์ชนิดของคาอุทานในประโยคได้ถูกต้อง ๓. นักเรียนบอกหน้าที่ของคาอุทานได้ถูกต้อง สำระสำคัญ คำอุทำน คือ คาที่เปล่งเสียงออกมาเพื่อแสดงอารมณ์และความรู้สึก ของผู้พูด มักจะเป็นคาที่ไม่มีความหมาย แต่เน้นความรู้สึก และอารมณ์ของ ผู้พูด คาอุทาน
  • 6. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๖ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ แบบทดสอบก่อนเรียน คำชี้แจง ให้นักเรียน ทาเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร ก ข ค หรือ ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว ................................................................................................ ๑. คาอุทานมีความหมายอย่างไร ก. คาที่ใช้แทนคานาม ข. คาที่ใช้แทนคาสรรพนาม ค. คาที่ใช้แสดงอารมณ์ ความรู้สึก ง. คาที่ใช้เชื่อมต่อข้อความหรือประโยค ๒. ประโยคในข้อใดที่มีคาอุทาน ก. เช้าวันนี้อากาศดีมาก ข. โอ้โฮ! ทาไมเธอสวยจังเลย ค. เขากลับมาถึงบ้านตั้งแต่เมื่อวาน ง. สมศรีและสมชายเดินไปโรงเรียน ๓. “............น่ำสงสำรจริง” ควรเติมคาอุทานในข้อใด ก. ว้าย! ข. โอ้โฮ! ค. ไชโย! ง. พุทโธ่!
  • 7. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๗ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ ๔. คาว่า “ว้ำย” ในข้อใดใช้ถูกต้อง ก. ว้าย! งูตัวใหญ่ ข. ว้าย! เก่งจังเลย ค. ว้าย! แม่นอนอยู่ในบ้าน ง. ว้าย! น่าสงสารอะไรอย่างนี้ ๕. คาว่า “ไชโย” ในข้อใดเป็นคาอุทาน ก. ไชโยเป็นนักฟุตบอล ข. ไชโยทีมเราชนะแล้ว ค. สาลีเป็นเพื่อนกับไชโย ง. ต้นกล้าส่งเสียงร้องไชโย ๖. ข้อใดใช้คาอุทานต่างจากพวก ก. ย่าไปวัดไปวา ข. เฮ้ยเหนื่อยจัง ค. โธ่น่าสงสารจัง ง. อนิจจาทาไมเป็นแบบนี้ ๗. ข้อใดเป็นคาอุทานเสริมบท ก. แหม เธอพูดแบบนี้ได้อย่างไร ข. โอ้โฮ ทาไมสวยอย่างนี้ ค. เฮ๊ะ นั่นกล่องอะไร ง. ย่าไปวัดไปวาทุกวันพระ
  • 8. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๘ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ ๘. ข้อใดเป็นคาอุทานบอกอาการเสียใจ ก. ว้าย! งูกัด ข. ไชโย! ฉันสอบได้ที่หนึ่ง ค. โอ้โฮ! ของขวัญชิ้นใหญ่ ง. โธ่! เขาไม่น่าทากับน้องอย่างนี้เลย ๙. “.................เจ็บจังเลย” ควรเติมคาอุทานในข้อใด ก. อุ๊ย! ข. แหม! ค. ไชโย! ง. อนิจจา! ๑๐. “งูเงี้ยว................” ควรเติมคาในข้อใด ก. งูเห่า ข. งูจงอาง ค. เขี้ยวขอ ง. งูเหลือม ตั้งใจอ่าน คิดวิเคราะห์ ข้อสอบนะครับ ไปเรียนเรื่อง คาอุทานเลยครับ
  • 9. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๙ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ๑. ค ๖. ก ๒. ข ๗. ง ๓. ง ๘. ค ๔. ก ๙. ก ๕. ข ๑๐. ค
  • 10. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๐ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ คำอุทำน คำอุทำน คือ คาที่เปล่งเสียงออกมาเพื่อแสดงอารมณ์และความรู้สึก ของผู้พูด เช่น ตกใจ ดีใจ เสียใจ ท้อใจ แปลกใจ โล่งใจ สงสาร ชื่นชม มักจะ เป็นคาที่ไม่มีความหมาย แต่เน้นความรู้สึก และอารมณ์ของผู้พูด คา อุทาน เสียงที่เปล่งออกมาเป็นคาอุทานนี้ แบ่งเป็น ๓ ลักษณะ ๑. เป็นคา เช่น โอ๊ย ว้าย แหม โถ เป็นต้น ๒. เป็นวลี เช่น พุทโธ่เอ๋ย คุณพระช่วย เป็นต้น ๓. เป็นประโยค เช่น ไฟไหมเจ้าข้า ป้าถูกรถชน เป็นต้น สวัสดีครับน้องๆ วันนี้เราไป เรียนรู้คาอุทานกันทีละกรอบ เลยครับ
  • 11. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๑ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ กรอบคาถามที่ ๑ คาอุทานคืออะไร กรอบคาตอบที่ ๑ คาอุทาน คือ คาที่เปล่งออกมา เพื่อแสดงความรู้สึกของผู้พูด ชนิดของคำอุทำน คำอุทำนแบ่งเป็น ๒ ชนิด ดังนี้ ๑. อุทานบอกอาการ คือ คาที่บอกอารมณ์หรือความรู้สึกต่าง ๆ ของ ผู้พูด คาอุทานชนิดนี้มักอยู่หน้าประโยค และมีเครื่องหมายอัศเจรีย์ ( ! ) กากับอยู่ท้ายคาอุทาน แบ่งเป็น ๑.๑ อาการร้องเรียกหรือบอกให้รู้ตัว เช่น นี่แน่ะ! เฮ้ย! โว้ย! ๑.๒ อาการโกรธเคือง เช่น ดูดู๋! ชะๆ! ชิๆ! ๑.๓ อาการประหลาดใจหรือตกใจ เช่น เอ๊ะ! ว๊าย! แม่เจ้าโว้ย! ๑.๔ อาการสงสารหรือปลอบโยน เช่น อนิจจา! พุธโธ่! ๑.๕ อาการเข้าใจหรือรับรู้ เช่น เออ! เออน่ะ! อ้อ! ๑.๖ อาการเจ็บปวด เช่น โอย! โอ๊ย! ๑.๗ อาการจากสิ่งธรรมชาติ เช่น ตูม! โครม! เปรี้ยง! เก่งจังเลย ต่อไปกรอบ ที่ ๒ ครับ
  • 12. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๒ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ ตัวอย่ำง - โอ้โฮ! มากันทั้งหมดเลย - เฮ้อ! สอบกี่ครั้งก็ได้คะแนนเท่าเดิม กรอบคาถามที่ ๒ คาอุทานต้องมีเครื่องหมายวรรคตอนใดกากับ
  • 13. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๓ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ กรอบคาตอบที่ ๒ เครื่องหมายอัศเจรีย์ ( ! ) ๒. อุทำนเสริมบท คือ คาที่นามาเสริมเพื่อให้เกิดความสละสลวยขึ้น ๒.๑ มักเป็นคาคู่ที่มีเสียงสัมผัสคล้องจองกัน เช่น - หนังสือหนังหำ - อาบน้าอำบท่ำ - กินข้าวกินปลำ - หัวหลักหัวตอ - วัดวำอาราม - รถรำ ๒.๒ ไม่นิยมใส่เครื่องหมายอัศเจรีย์ ( ! ) กากับ ๒.๓ คาสร้อยในบทร้อยกรองก็จัดเป็นคาอุทานเสริมบท ได้แก่คา ว่า แฮ เอย เทอญ นำ ฤำ โอ้ว่ำ แล เฮย เช่น - เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย - โอ้ ศรีเสาวลักษณ์ล้า แลโลม โลกเอย - โฉมควรจักฝากฟ้า ฤๅดิน ดีฤๅ - พระสุเมรุเปื่อยเป็นตม ทบท่าว ลงนำ เก่งจังตอบถูกอีกแล้ว ต่อไปกรอบที่ ๓ ครับ
  • 14. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๔ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ กรอบคาถามที่ ๓ ..............ยิงเรือ ควรเติมคาใดลงไปในช่องว่าง กรอบคำตอบที่ ๓ ผู้หญิง หน้ำที่ของคำอุทำน หน้ำที่ของคำอุทำน มีดังนี้คือ ๑. ทาหน้าที่แสดงความรู้สึกของผู้พูด เช่น - ตายจริง! ฉันลืมเอากระเป๋าสตางค์มา - โธ่! เธอคงจะหนาวมากละซิ - เอ๊ะ! ใครกันที่นาดอกไม้มาวางไว้ที่โต๊ะของฉัน ๒. ทาหน้าที่เพิ่มน้าหนักของคา ซึ่งได้แก่คาอุทานเสริมบท เช่น - ทาเสร็จเสียทีจะได้หมดเรื่องหมดราวกันไป - เมื่อไรเธอจะหางงหางานทาเสียที - เธอเห็นฉันเป็นหัวหลักหัวตอหรืออย่างไร ๓. ทาหน้าที่ประกอบข้อความในคาประพันธ์ เช่น - แมวเอ๋ยแมวเหมียว - มดเอ๋ยมดแดง - กาเอ๋ยกาดา เก่งมากครับ ต่อไป กรอบที่ ๕ ครับ
  • 15. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๕ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ กรอบคาถามที่ ๔ คาอุทานมีหน้าที่อย่างไรบ้าง กรอบคำตอบที่ ๔ ๑. ทาหน้าที่แสดงความรู้สึกของผู้พูด ๒. ทาหน้าที่เพิ่มน้าหนักของคา ๓. ทาหน้าที่ประกอบข้อความในคาประพันธ์ คำอุทำน คือ คาที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์หรือความรู้สึก ของผู้พูด มักจะเป็นคาที่ไม่มีความหมาย แต่เน้นความรู้สึก และอารมณ์ ของผู้พูด คำอุทำนแบ่งเป็น ๒ ชนิด ดังนี้ ๑. อุทานบอกอาการ คือ คาที่บอกอารมณ์หรือความรู้สึกต่าง ๆ ของ ผู้พูด คาอุทานชนิดนี้มักอยู่หน้าประโยคและมีเครื่องหมายอัศเจรีย์ ( ! ) กากับอยู่ท้ายคาอุทาน ๒. อุทานเสริมบท คือ คาที่นามาเสริมเพื่อให้เกิดความสละสลวยขึ้น หน้ำที่ของคำอุทำน มีดังนี้คือ ๑. ทาหน้าที่แสดงความรู้สึกของผู้พูด ๒. ทาหน้าที่เพิ่มน้าหนักของคา ซึ่งได้แก่คาอุทานเสริมบท ๓. ทาหน้าที่ประกอบข้อความในคาประพันธ์ ไชโย! จบแล้ว ไปดูกรอบสรุป นะ
  • 16. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๖ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ กรอบแบบฝึกทักษะที่ ๑ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาอุทานที่กาหนดให้ไปเติมใน ช่องว่างให้ได้ใจความที่สมบูรณ์ หนังสือหนังหา ลูกเต้า โธ่! เอ๊ะ! ว้าย! เข้าวัดเข้าวา ไชโย! ดีใจ! อนิจจา! โอ้โอ! ๑. เธอเป็น........................เหล่าใคร ๒. แม่บอกลูกให้อ่าน................................... ๓. วันพระ..............................ไปทาบุญบ้างนะลูก ๔. ..................คุณพระช่วย ๕. ...................ทาไมสวยอย่างนี้ ๖. ...................น่าสงสาร ๗. แก้มใส.............................ที่ได้เจอแม่ที่แท้จริง ๘. .......................พ่อกลับมาแล้ว ๙. ...................... นั่นกล่องอะไร ๑๐...........................เด็กตกน้า
  • 17. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๗ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ กรอบแบบฝึกทักษะที่ ๒ คาชี้แจง ให้นักเรียนบอกชนิดของคาอุทานในประโยค ๗. ค่าแล้วยังไม่อาบน้าอาบท่า ๘. โอ้โฮ!นางสงกรานต์งามจริงๆ ๙. ไชโย! ฉันได้ไปเที่ยวทะเลแล้ว ๑๐. ถ้าป่วยก็กินหยูกกินยาจะได้หายไวๆ ๑. เขาทาเป็นไม่รู้ไม่ชี้กับเรื่องที่เกิดขึ้น ๓. ย่าไปวัดไปวาทุกวันพระ ๔. แม่เขาเลี้ยงดูปูเสื่อเป็นอย่างดี ๕. ว้าย! รถชนกัน ๖. โธ่! ทาไมจึงเป็นแบบนี้ ๒. แหม ! เธอพูดแบบนี้ได้อย่างไร
  • 18. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๘ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ เฉลยกรอบแบบฝึกทักษะที่ ๑ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาอุทานที่กาหนดให้ไปเติมใน ช่องว่างให้ได้ใจความที่สมบูรณ์ หนังสือหนังหา ลูกเต้า โธ่! เอ๊ะ! ว้าย! เข้าวัดเข้าวา ไชโย! ดีใจ! อนิจจา! โอ้โอ! เธอเป็น....................เหล่าใคร ๑. แม่บอกลูกให้อ่าน.......................... ๒. วันพระ........................ไปทาบุญบ้างนะลูก ๓. ..................คุณพระช่วย ๔. ...................ทาไมสวยอย่างนี้ ๕. ...................น่าสงสาร ๖. แก้มใส..................ที่ได้เจอแม่ที่แท้จริง ๗. .......................พ่อกลับมาแล้ว ๘. ...................... นั่นกล่องอะไร ๑๐...........................เด็กตกน้า ลูกเต้า หนังสือหนังหา เข้าวัดเข้าวา โธ่! อนิจจา! ดีอกดีใจ ไชโย! เอ๊ะ! ว้าย! โอ้โฮ!
  • 19. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๑๙ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ เฉลยกรอบแบบฝึกทักษะที่ ๒ คาชี้แจง ให้นักเรียนบอกชนิดของคาอุทานในประโยค ๗. ค่าแล้วยังไม่อาบน้าอาบท่า ๘. โอ้โฮ!นางสงกรานต์งามจริงๆ ๙. ไชโย! ฉันได้ไปเที่ยวทะเลแล้ว ๑๐. ถ้าป่วยก็กินหยูกกินยาจะได้หายไวๆ อุทานเสริมบท อุทานบอกอาการ อุทานบอกอาการ อุทานเสริมบท ๑. เขาทาเป็นไม่รู้ไม่ชี้กับเรื่องที่เกิดขึ้น ๓. ย่าไปวัดไปวาทุกวันพระ ๔. แม่เขาเลี้ยงดูปูเสื่อเป็นอย่างดี ๕. ว้าย! รถชนกัน ๖. โธ่! ทาไมจึงเป็นแบบนี้ ๒. แหม ! เธอพูดแบบนี้ได้อย่างไร อุทานเสริมบท อุทานบอกอาการ อุทานเสริมบท อุทานเสริมบท อุทานบอกอาการ อุทานบอกอาการ
  • 20. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๐ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ แบบทดสอบหลังเรียน คำชี้แจง ให้นักเรียน ทาเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร ก ข ค หรือ ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงตัวเดียว ................................................................................................ ๑. คาอุทานมีความหมายอย่างไร ก. คาที่ใช้แทนคานาม ข. คาที่ใช้แทนคาสรรพนาม ค. คาที่ใช้แสดงอารมณ์ ความรู้สึก ง. คาที่ใช้เชื่อมต่อข้อความหรือประโยค ๒. คาว่า “ไชโย” ในข้อใดเป็นคาอุทาน ก. ไชโยเป็นนักฟุตบอล ข. ไชโย! ทีมเราชนะแล้ว ค. สาลีเป็นเพื่อนกับไชโย ง. ต้นกล้าส่งเสียงร้องไชโย ๓. ข้อใดเป็นคาอุทานบอกอาการเสียใจ ก. ว้าย! งูกัด ข. ไชโย! ฉันสอบได้ที่หนึ่ง ค. โอ้โฮ! ของขวัญชิ้นใหญ่ ง. โธ่! เขาไม่น่าทากับน้องอย่างนี้เลย
  • 21. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๑ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ ๔. คาว่า “ว้ำย” ในข้อใดใช้ถูกต้อง ก. ว้าย! งูตัวใหญ่ ข. ว้าย! เก่งจังเลย ค. ว้าย! แม่นอนอยู่ในบ้าน ง. ว้าย! น่าสงสารอะไรอย่างนี้ ๕. ประโยคในข้อใดที่มีคาอุทาน ก. เช้าวันนี้อากาศดีมาก ข. โอ้โฮ! ทาไมเธอสวยจังเลย ค. เขากลับมาถึงบ้านตั้งแต่เมื่อวาน ง. สมศรีและสมชายเดินไปโรงเรียน ๖. ข้อใดใช้คาอุทานต่างจากพวก ก. ย่าไปวัดไปวา ข. เฮ้ย! เหนื่อยจัง ค. โธ่! น่าสงสารจัง ง. อนิจจา! ทาไมเป็นแบบนี้ ๗. “งูเงี้ยว................” ควรเติมคาในข้อใด ก. งูเห่า ข. งูจงอาง ค. เขี้ยวขอ ง. งูเหลือม
  • 22. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๒ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ ๘. “............น่ำสงสำรจริง” น่าจะเติมคาอุทานในข้อใด ก. ว้าย! ข. โอ้โฮ! ค. ไชโย! ง. พุทโธ่! ๙. “.................เจ็บจังเลย” ควรเติมคาอุทานในข้อใด ก. อุ๊ย! ข. แหม! ค. ไชโย! ง. อนิจจา! ๑๐. ข้อใดเป็นคาอุทานเสริมบท ก. แหม เธอพูดแบบนี้ได้อย่างไร ข. โอ้โฮ ทาไมสวยอย่างนี้ ค. เฮ๊ะ นั่นกล่องอะไร ง. ย่าไปวัดไปวาทุกวันพระ
  • 23. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๓ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ๑. ค ๖. ก ๒. ข ๗. ค ๓. ค ๘. ง ๔. ก ๙. ก ๕. ข ๑๐. ง
  • 24. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๔ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ แบบสังเกตพฤติกรรม กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ คำชี้แจง : ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในขณะปฏิบัติกิจกรรม แล้วสรุปผล การประเมิน การสังเกต ดังนี้ เลขที่ รำยกำรประเมิน ผลกำรประเมิน ๑.ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ๒.ควำมสนใจ ในกำรร่วม กิจกรรม ๓.กำรทำงำน ตำม กระบวนกำร ทำงำน๔. กระบวนกำร คิด ๕.ผลงำน สำเร็จ เรียบร้อย รวม ระดับ คุณภำพ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ระดับคุณภาพ ๓ = ดี , ๒ = พอใช้ , ๑ = ปรับปรุง สรุปผลการประเมินการสังเกต ดี ๑๑– ๑๕ คะแนน พอใช้ ๖–๑๐ คะแนน ปรับปรุง ต่ากว่า ๐- ๔ คะแนน ลงชื่อ ผู้บันทึก ( ..................................................... )
  • 25. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๕ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรประเมินกำรสังเกตพฤติกรรม กำรปฏิบัติ คะแนน ควำมรู้ควำมเข้ำใจ ๑. มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติกิจกรรมได้ชัดเจน ๒. มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติกิจกรรม ๓. ไม่มีความรู้ความเข้าใจ ๓ ๒ ๑ ควำมสนใจในกำรร่วมกิจกรรม ๑. มีความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรมอย่างสม่าเสมอ ๒. มีความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรม ๓. ไม่มีความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรม ๓ ๒ ๑ กำรทำงำนตำมกระบวนกำร ๑. วิเคราะห์งาน ก่อนลงมือทางาน วางแผนทางาน สารวจ ข้อมูลตามประเด็นที่กาหนด ๒. วิเคราะห์งานที่ทา วางแผนทางาน สารวจข้อมูล ๓. สารวจและบันทึกข้อมูลได้เล็กน้อย ๓ ๒ ๑ กระบวนกำรคิด ๑. คิดอย่างสร้างสรรค์ และมีวิจารณญาณเพื่อให้ได้มาซึ่งองค์ ความรู้ ๒. คิดอย่างสร้างสรรค์ และมีวิจารณญาณ ๓. คิดอย่างสร้างสรรค์ ๓ ๒ ๑ ผลงำนสำเร็จเรียบร้อย ๑. ทางานเสร็จ ส่งงานครบตรงเวลา ๒. ทางานเสร็จส่งงานช้ามาก ๓. ทางานไม่เสร็จ ไม่สนใจ ไม่ส่งงาน ๓ ๒ ๑
  • 26. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๖ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ แบบประเมินทักษะกระบวนกำร กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ เล่มที่ ๗ คำอุทำน _____________________________________________________________ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตการใช้ทักษะกระบวนการในขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยเขียนระดับคะแนนลงในตารางที่ตรงกับความสามารถของผู้เรียน เกณฑ์กำรให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนสม่าเสมอ ๓ คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนเป็นบางครั้ง ๒ คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครั้ง ๑ คะแนน ชื่อ-สกุล รำยกำรประเมิน รวม คะแนน สรุปผลกำรประเมิน กำรคิด กำรแก้ปัญหำ กำรเรียนรู้ ผ่ำน ไม่ผ่ำน ลงชื่อ ผู้บันทึก เกณฑ์กำรประเมิน นักเรียนได้คะแนน ๖ คะแนนขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์ประเมิน ( )
  • 27. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๗ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ เล่มที่ ๗ คำอุทำน คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมการทางาน การปฏิบัติงานของนักเรียน โดยเขียนระดับ คะแนนลงในตารางที่ตรงกับความสามารถของผู้เรียน ชื่อ – สกุล คุณธรรม จริยธรรม และค่ำนิยม รวม ๔ สรุปผลกำร ประเมิน ๑.มีวินัย ๒.ใฝ่เรียนรู้ ๓.มุ่งมั่นในกำร ทำงำน ๔.ควำมซื่อสัตย์ ลงชื่อ ผู้ประเมิน ( ) เกณฑ์กำรประเมิน นักเรียนมีการปฏิบัติ ๓ รายการ ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน ผ่าน ๑ รายการ ๓ คะแนน ผ่าน ๒ รายการ ๖ คะแนน ผ่าน ๓ รายการ ๙ คะแนน ผ่าน ๔ รายการ ๑๒ คะแนน
  • 28. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๘ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ กำรปฏิบัติ คะแนน มีวินัย ๑. ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบของครอบครัว โรงเรียน และสังคมไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติ กิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน และรับผิดชอบในการทางาน ๒. ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบของครอบครัวและ โรงเรียน ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันและ รับผิดชอบในการทางาน ๓. ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบของครอบครัว และ โรงเรียน ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน ๓ ๒ ๑ ใฝ่เรียนรู้ ๑. เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ และมีความเพียรพยายาม ในการเรียนรู้ มีส่วนร่วมในการเรียนรู้และเข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนเป็นประจา ๒. เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ และมีความเพียรพยายาม ในการเรียนรู้ มีส่วนร่วมในการเรียนรู้และเข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ ต่าง ๆ บ่อยครั้ง ๓. เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ในการเรียน มีส่วนร่วมใน การเรียนรู้และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ต่าง ๆ เป็นบางครั้ง ๓ ๒ ๑ มุ่งมั่นในกำรทำงำน ๑. ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ให้สาเร็จ มีการปรับปรุงและพัฒนาการทางานให้ดีขึ้นด้วยตนเอง ๒. ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ให้สาเร็จ มีการปรับปรุงและพัฒนาการทางานให้ดีขึ้น ๓. ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ให้สาเร็จ มีการปรับปรุงการทางานให้ดีขึ้น ๓ ๒ ๑
  • 29. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๒๙ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) กำรปฏิบัติ คะแนน ควำมซื่อสัตย์ ๑. ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริงปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ทา ตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับพ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู ละอายและเกรง กลัวที่จะทาความผิด เป็นแบบอย่างที่ดี ด้านความซื่อสัตย์ ๒. ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริง ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ทา ตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับพ่อแม่ หรือผู้ปกครองและครู ละอายและเกรง กลัวที่จะทาความผิด ๓. ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริง ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ทา ตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับพ่อแม่ หรือผู้ปกครองและครู ๓ ๒ ๑
  • 30. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๓๐ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ แบบบันทึกคะแนนทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ เล่มที่ ๗ คำอุทำน ที่ ชื่อ/นามสกุล คะแนนผลการทดสอบ ความก้าวหน้า ก่อนเรียน หลังเรียน คะแนนเฉลี่ย ร้อยละโดยรวม ลงชื่อ ผู้บันทึก ( )
  • 31. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๓๑ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ บรรณำนุกรม กรมวิชาการ.คู่มือกำรจัดกำรเรียนรู้กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย. กรุงเทพฯ.โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์,๒๕๔๕. กาชัย ทองหล่อ. หลักภำษำไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาส์น, ๒๕๕๑. เครือรัตน์ เรืองแก้ว. ชนิดของคำ. กรุงเทพฯ : ปาเจรา, ๒๕๔๖. ทินรัตน์ จันทราภินันท์. หลักภำษำไทย ช่วงชั้นที่ ๒ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์เดอะบุคส์ จากัด. ๒๕๔๙. พรทิพย์ แฟงสุด. หลักภำษำ ม.ต้น. กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, ๒๕๕๒. พัฒนา สุริยะ.รำยงำนกำรใช้บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง คำและชนิดของคำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖. เลย.อัดสาเนา.๒๕๕๐. สมศักดิ์ อัมพรวิสิทธิ์โสภา และคณะ. อัจฉริยภำพ ชุด หลักภำษำไทย. กรุงเทพฯ : ภูมบัณฑิต, ๒๕๕๑. สาลี รักสุทธิ และสุภาพ ปูนอน. แบบฝึกเสริมทักษะกลุ่มสำระภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖. กรุงเทพฯ : รุ่งเรืองสาส์นการพิมพ์. ม.ป.ป.,๒๕๔๐. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนภำษำพำที ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖.พิมพ์ครั้งที่ ๒ . กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,๒๕๔๘. _____. หนังสือเรียนวรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖.พิมพ์ครั้งที่ ๒ . กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,๒๕๔๘. เอกรินทร์ สี่มหาศาล.แม่บทมำตรฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖.อักษรเจริญทัศน์,๒๕๔๔. อัจรา ชีวพันธ์. หลักภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖. กรุงเทพฯ : แอล ที เพลส จากัด. ๒๕๕๖.
  • 32. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทำน หน้ำ ๓๒ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖