SlideShare a Scribd company logo
ก
บุญจันทร์ บัวพา. (2557). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษไท
ที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง
ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ สาหรับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4 2) พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่องประวัติเล่าขานสืบสานตรุษไทที่เรียนด้วยหน่วย
การเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 3) ทดลองใช้หลักสูตรท้องถิ่น
เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ สาหรับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 4) ประเมินผลการใช้และปรับปรุงหลักสูตรท้องถิ่น และศึกษาความคิดเห็นของ
นักเรียนที่มีต่อหลักสูตรท้องถิ่น โดยทดลองใช้หลักสูตรกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนภูผาม่าน
จานวน 34 คน เวลา 1 ภาคเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
พื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม ประเด็นสนทนากลุ่ม แบบประเมินโครง
ร่างหลักสูตร 2) เครื่องมือที่ใช้ประเมินผลการเรียน ได้แก่หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
จานวน 10 หน่วยการเรียนรู้ แบบประเมินผลงานนักเรียน แบบทดสอบ แบบสอบถามความคิดเห็น
การวิจัยครั้งนี้ ใช้แบบแผนการวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้น ( Pre – Experimental Design) แบบกลุ่ม
ทดลองกลุ่มเดียวและวัดผลเฉพาะหลังการทดลอง ( One – Group Posttest – Only) วิเคราะห์ข้อมูล
โดยใช้ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า
1. จากการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน นักเรียนและผู้เกี่ยวข้องต้องการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง
ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ สาหรับชั้น
มัธยมศึกษาปี 4 เน้นรูปแบบของการพัฒนาการเรียนรู้จากสภาพแวดล้อมรอบตัว โดยศึกษาประวัติ
ความเป็นมาของอาเภอภูผาม่าน และประเพณีตรุษไท ออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ระหว่างกลุ่มสาระ มีผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและเนื้อหา ครูผู้สอน ปราชญ์ชาวบ้านและคณะครู
กลุ่มสาระที่บูรณาการเป็นผู้ร่วมให้ความรู้และประเมินผล
2. ผลการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เป็นหลักสูตรที่บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย,สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม,ศิลปะ,การงานอาชีพและเทคโนโลยี ประกอบด้วย
แนวคิด หลักการ จุดมุ่งหมาย คาอธิบายรายวิชา ผลการเรียน สาระการเรียนรู้ โครงสร้างหลักสูตร/
เวลาเรียน หน่วยการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและแหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล และแผนการจัดการเรียนรู้ เนื้อหาหลักสูตรมี 2 หัวเรื่อง 10 หน่วยการเรียนรู้
จัดทาแผนการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design) จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคกระบวนการกลุ่ม
กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายแบบเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ กระบวนการเรียนรู้แบบโครงงาน
การตรวจสอบประสิทธิภาพพบว่าหลักสูตรมีความเหมาะสมโดยมีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง
0.80-1.00
3. ผลการทดลองใช้หลักสูตร พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่สนใจ กระตือรือร้นในการเรียนรู้ และ
ร่วมมือปฏิบัติกิจกรรมทุกหน่วยการเรียนรู้ได้ตามวัตถุประสงค์
ข
4. ผลการประเมินและปรับปรุงหลักสูตร พบว่า นักเรียนมีผลการเรียนรู้หน่วยบูรณาการ
ระหว่างกลุ่มสาระ คิดเป็นคะแนนผลการเรียนทั้งสิ้นเฉลี่ยร้อยละ 85.27 โดยมีนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ที่ตั้ง
ไว้คือ 75/75 จานวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 94.12 ของจานวนทั้งหมด ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้
75/75 และมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรท้องถิ่นอยู่ในระดับมาก
ค
กิตติกรรมประกาศ
นมัสการพระครูอมรสารคุณ เจ้าคณะอาเภอภูผาม่าน วัดท่ากระบือ พระครูสุวรรณจิตตานุกูล
เจ้าอาวาสวัดทุ่งสว่าง พระครูเกษม ธรรมสุนทร เจ้าอาวาสวัดถ้าเทพนิมิต ขอขอบพระคุณ
นายพงษ์ศักดิ์ ตั้งวานิชกพงษ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น นายจารึก เหล่าประเสริฐ
นายอาเภอภูผาม่าน ที่สร้างแรงบันดาลใจและให้คาแนะนาแนวทางในการจัดทาหลักสูตรท้องถิ่น
งานวิจัยฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยดี เพราะผู้วิจัยได้รับความอนุเคราะห์อย่างสูงจากคณะผู้บริหาร
โรงเรียน นายสมควร ไกรพน ผู้อานวยการโรงเรียนภูผาม่าน นายบรรจง ทุมมี รองผู้อานวยการ
โรงเรียนภูผาม่าน คณะครูโรงเรียนภูผาม่าน คอยให้ความช่วยเหลือและให้คาแนะนาที่เป็นประโยชน์
อย่างยิ่งกับผู้วิจัย
ขอขอบพระคุณ ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน ที่ตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่
ผศ.สมเจตน์ ดวงพิทักษ์ คณบดีภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ผู้ให้
คาแนะนาด้านงานวิจัย ดร. ชัยโรจน์ วุฒิเจริญสิทธิ์ วัฒนธรรมอาเภอภูผาม่าน ผู้ให้คาแนะนา
ด้านหลักสูตรท้องถิ่น นวัตกรรม และเนื้อหา นายสมควร ไกรพน ผู้อานวยการโรงเรียนภูผาม่าน ผู้ให้
คาแนะนาด้านหลักสูตรท้องถิ่น นวัตกรรม และเนื้อหา นายมนตรี แก้วกามา ผู้อานวยการโรงเรียน
บ้านนาวงเดือน อาเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ ผู้ให้คาแนะนาด้านหลักสูตรและการสอนภาษาไทย
อาจารย์อารีย์รัตน์ โนนสุวรรณ อาจารย์ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม ผู้ให้คาแนะนาด้านหลักสูตรและการสอนภาษาไทย และคุณครูผู้คอยช่วยกากับ ดูแล ชี้แนะ
ให้กาลังใจในการทาผลงานตลอดการวิจัย คือ คุณครูอารี ราชสาร ครูอันดับ คศ.4 วิทยฐานะเชี่ยวชาญ
โรงเรียนโนนหันวิทยายน อาเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น และคุณครูสุพล อินเดีย ครูอันดับ คศ.3
วิทยฐานะชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านโนนสว่างท่ากระบือ อาเภอภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น
ขอขอบพระคุณ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนภูผาม่าน ปราชญ์ชาวบ้าน
วิทยากรท้องถิ่น ผู้รู้ในท้องถิ่น ตลอดจนผู้ปกครองนักเรียน ที่ให้ความอนุเคราะห์ในการให้ข้อมูลที่เป็น
ประโยชน์ในการพัฒนาหลักสูตร และสละเวลาอันมีค่าถ่ายทอดความรู้ให้กับนักเรียน ขอขอบพระคุณ
คณะครู ขอบใจนักเรียนทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นประโยชน์
ท้ายที่สุดขอกราบขอบพระคุณ คุณแม่สุบิน จันเวียง และทุกคนในครอบครัว โดยเฉพาะ
นายทรงเกียรติ บัวพา ที่ให้การสนับสนุน ให้กาลังใจ ช่วยเหลือในการทางาน ตลอดจนบุตรสาว
นางกษมา ตันวิสุทธิจินดา นางสาวกีรติ บัวพา และนางสาวพลอยไพลิน บัวพา ผู้ช่วยในการจัดรวบรวม
เอกสาร ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานวิจัยฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนตลอดจนผู้ที่สนใจ
โดยทั่วไป หากงานวิจัยนี้เกิดประโยชน์และคุณค่า ผู้วิจัยขอมอบอุทิศให้กับคุณพ่อแพง จันเวียง
คุณพ่อทา-คุณแม่เจียงคา บัวพา ผู้ให้การอบรมสั่งสอนและเป็นแรงบันดาลใจในการทางาน ขอมอบบูชา
แม่ผู้อบรมสั่งสอน และครู อาจารย์ผู้ประสิทธิ์ประศาสตร์วิชาทาให้ผู้วิจัยประสบความสาเร็จ
บุญจันทร์ บัวพา
ง
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ก
กิตติกรรมประกาศ ค
สารบัญ ง
สารบัญตาราง ช
สารบัญภาพ ฎ
บทที่ 1 บทนา
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของการวิจัย 1
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 7
1.3 สมมุติฐานของการวิจัย 8
1.4 ขอบเขตของการวิจัย 8
1.5 ข้อตกลงเบื้องต้น 11
1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 11
1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 21
บทที่ 2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
1.1 วิสัยทัศน์
1.2 หลักการ
1.3 จุดหมาย
1.4 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.5 กลุ่มสาระการเรียนรู้
1.6 กลุ่มสาระการเรียนรู้/มาตรฐานการเรียนรู้ที่บูรณาการ
1.7 สาระการเรียนรู้และตัวชี้วัดแกนกลางที่บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
1.8 ผลการเรียนรู้
2. แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร
2.1 ความหมายของหลักสูตร
2.2 ความสาคัญของหลักสูตร
2.3 องค์ประกอบของหลักสูตร
2.4 รูปแบบของหลักสูตร
2.5 คุณลักษณะหลักสูตรที่ดี
2.6 ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร
2.7 รูปแบบและกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
2.8 ผลการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร
2.9 การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม
25
25
25
25
26
27
27
37
39
40
40
41
42
43
44
45
46
56
58
จ
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
2.10 การประเมินผลหลักสูตร
3. การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น
3.1 ความหมายของหลักสูตรท้องถิ่น
3.2 ความสาคัญของการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น
3.3 ลักษณะการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น
3.4 กระบวนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น
4. บริบทของโรงเรียนภูผาม่าน
4.1 ข้อมูลทั่วไป
4.2 ประวัติ คติพจน์ ปรัชญา คาขวัญ
4.3 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
4.4 อัตลักษณ์ เอกลักษณ์
4.5 ลักษณะของชุมชน
5. หลักสูตรโรงเรียนภูผาม่าน พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
5.1 บทนา
5.2 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนภูผาม่าน พุทธศักราช 2553
6. หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้
บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
7. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
7.1 การวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
7.2 ตัวบ่งชี้และประโยชน์การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
8. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
8.1 ความหมายของการบูรณาการ
8.2 เหตุผลและความจาเป็นในการจัดการเรียนรู้บูรณาการ
8.3 รูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู้บูรณาการ
8.4 หลักการและขั้นตอนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ
8.5 คุณค่าของการจัดการเรียนรู้บูรณาการ
8.6 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการบูรณาการ
8.7 การสร้างหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
8.8 ลักษณะของหน่วยการเรียนรู้ที่ดี
9. การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ
9.1 ขั้นตอนการสร้างหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ
9.2 หลักการสาคัญของกระบวนการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ
9.3 ขั้นตอนการออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ
61
67
67
67
71
73
79
79
79
80
81
81
82
82
86
93
130
131
133
134
134
136
139
141
143
145
146
148
150
150
152
153
ฉ
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
10. แนวคิดทฤษฎี จิตวิทยา เทคนิคการจัดการเรียนรู้
10.1 ปัจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อการเสริมส่งการเรียนรู้
10.2 ทฤษฏี เทคนิค กระบวนการการจัดการเรียนรู้
11. สาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
11.1 สาระการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย,สังคม
ศึกษาฯ,ศิลปะและการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
11.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
12. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
12.1 งานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น
12.2 งานวิจัยเกี่ยวกับการสอนแบบบูรณาการ
13. กรอบแนวคิดการวิจัย
155
155
157
174
174
210
224
224
228
230
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
ขั้นตอนที่ 1 วิจัย (Research) : การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน
ขั้นตอนที่ 2 พัฒนา (Development) : การพัฒนาหลักสูตร
ขั้นตอนที่ 3 วิจัย (Research) : การทดลองใช้หลักสูตร
ขั้นตอนที่ 4 วิจัย (Research) : การประเมินผลการใช้และปรับปรุงหลักสูตร
235
244
263
275
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนที่ 1 วิจัย (Research) : การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนที่ 2 พัฒนา (Development) : การพัฒนา
หลักสูตร
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 วิจัย (Research) : การทดลองใช้หลักสูตร
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นตอนที่ 4 พัฒนา (Development) :
การประเมินผลการใช้
294
316
354
365
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
วิธีดาเนินงานวิจัย
สรุปผลการวิจัย
อภิปรายผลการวิจัย
ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย
377
378
380
387
บรรณานุกรม 389
ภาคผนวก 396
ช
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
ตารางที่ 1 แนวทางและกระบวนการของการพัฒนาหลักสูตร 55
ตารางที่ 2 วิธีการประเมินองค์ประกอบในด้านต่างๆ ของสตัฟเฟิลบีม 65
ตารางที่ 3 สรุปวิธีดาเนินการวิจัยขั้นตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน 242
ตารางที่ 3 สรุปวิธีดาเนินการวิจัยขั้นตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน (ต่อ) 243
ตารางที่ 4 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา
การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
247
ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา
การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
248
ตารางที่ 6 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา
การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
248
ตารางที่ 7 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา
การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
249
ตารางที่ 8 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา
การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
249
ตารางที่ 8 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา
การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 (ต่อ)
250
ตารางที่ 8 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา
การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 (ต่อ)
251
ตารางที่ 9 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา
การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
251
ตารางที่ 10 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา
การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
252
ตารางที่ 11 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา
การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 8
252
ตารางที่ 12 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา
การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9
253
ตารางที่ 13 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา
การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 10
253
ตารางที่ 14 สรุปวิธีการดาเนินการวิจัยขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาหลักสูตร 263
ตารางที่ 15 สรุปวิธีการดาเนินการวิจัยขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้หลักสูตร 274
ตารางที่ 16 แสดงรายละเอียดแบบทดสอบประกอบแผนการจัดการเรียนรู้/
หน่วยการเรียนรู้
277
ซ
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
ตารางที่ 16 แสดงรายละเอียดแบบทดสอบประกอบแผนการจัดการเรียนรู้/
หน่วยการเรียนรู้ (ต่อ)
278
ตารางที่ 16 แสดงรายละเอียดแบบทดสอบประกอบแผนการจัดการเรียนรู้/
หน่วยการเรียนรู้ (ต่อ)
279
ตารางที่ 16 แสดงรายละเอียดแบบทดสอบประกอบแผนการจัดการเรียนรู้/
หน่วยการเรียนรู้ (ต่อ)
280
ตารางที่ 16 แสดงรายละเอียดแบบทดสอบประกอบแผนการจัดการเรียนรู้/
หน่วยการเรียนรู้ (ต่อ)
281
ตารางที่ 17 วิเคราะห์ข้อสอบกลางภาคเรียน แบบทดสอบปรนัย จานวน 30 ข้อ 282
ตารางที่ 17 วิเคราะห์ข้อสอบกลางภาคเรียน แบบทดสอบปรนัย จานวน 30 ข้อ (ต่อ) 283
ตารางที่ 18 วิเคราะห์ข้อสอบกลางภาคเรียน แบบทดสอบอัตนัย 283
ตารางที่ 19 วิเคราะห์ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปลายภาคเรียน จานวน 60 ข้อ 284
ตารางที่ 19 วิเคราะห์ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปลายภาคเรียน จานวน 60 ข้อ
(ต่อ)
285
ตารางที่ 20 ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ 288
ตารางที่ 20 ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ (ต่อ) 289
ตารางที่ 20 ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ (ต่อ) 290
ตารางที่ 20 ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ (ต่อ) 291
ตารางที่ 21 สรุปวิธีดาเนินการวิจัยขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการใช้และปรับปรุง
หลักสูตร
293
ตารางที่ 22 ตารางผลด้านคุณภาพผู้เรียน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ 296
ตารางที่ 22 ตารางผลด้านคุณภาพผู้เรียน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
(ต่อ)
297
ตารางที่ 22 ตารางผลด้านคุณภาพผู้เรียน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
(ต่อ)
298
ตารางที่ 22 ตารางผลด้านคุณภาพผู้เรียน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
(ต่อ)
299
ตารางที่ 22 ตารางผลด้านคุณภาพผู้เรียน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
(ต่อ)
300
ตารางที่ 22 ตารางผลด้านคุณภาพผู้เรียน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
(ต่อ)
301
ตารางที่ 22 ตารางผลด้านคุณภาพผู้เรียน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
(ต่อ)
302
ฌ
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
ตารางที่ 23 แสดงจานวนและร้อยละเกี่ยวกับสถานภาพและข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ
แบบสอบถาม
306
ตารางที่ 24 จานวนและร้อยละของความต้องการเกี่ยวกับหลักสูตร 307
ตารางที่ 24 จานวนและร้อยละของความต้องการเกี่ยวกับหลักสูตร (ต่อ) 308
ตารางที่ 25 จานวนและร้อยละเกี่ยวกับสถานภาพและข้อมูลทั่วไปของผู้ร่วมสนทนากลุ่ม 310
ตารางที่ 25 จานวนและร้อยละเกี่ยวกับสถานภาพและข้อมูลทั่วไปของผู้ร่วมสนทนากลุ่ม
(ต่อ)
311
ตารางที่ 26 แสดงหัวเรื่องที่ 1 ประวัติเล่าขาน 326
ตารางที่ 26 แสดงหัวเรื่องที่ 1 ประวัติเล่าขาน (ต่อ) 327
ตารางที่ 26 แสดงหัวเรื่องที่ 1 ประวัติเล่าขาน (ต่อ) 328
ตารางที่ 27 แสดงหัวเรื่องที่ 2 สืบสานตรุษไท 329
ตารางที่ 28 โครงสร้างรายวิชาหัวเรื่องที่ 1 ประวัติเล่าขาน 342
ตารางที่ 28 โครงสร้างรายวิชาหัวเรื่องที่ 1 ประวัติเล่าขาน (ต่อ) 343
ตารางที่ 29 โครงสร้างรายวิชาหัวเรื่องที่ 2 สืบสานตรุษไท 344
ตารางที่ 30
ตารางที่ 30
ตารางที่ 30
แผนการประเมินผล
แผนการประเมินผล (ต่อ)
แผนการประเมินผล (ต่อ)
345
346
347
ตารางที่ 31
ตารางที่ 31
ตารางที่ 31
ตารางที่ 31
ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษ
ไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษ
ไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ (ต่อ)
ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษ
ไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ (ต่อ)
ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษ
ไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ (ต่อ)
349
350
351
352
ตารางที่ 32 คะแนนการประเมินผลงานนักเรียนระหว่างเรียนแต่ละหน่วยการเรียนรู้ 369
ตารางที่ 33 คะแนนผลการเรียนรู้ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียน
ด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระจากคะแนนการประเมินผล
งานนักเรียน(รวม 10 หน่วยการเรียนรู้)และคะแนนแบบทดสอบหลังเรียน
370
ตารางที่ 34 ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษไทที่เรียนด้วยหน่วยการ
เรียนรู้แบบบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ โดยรวมและรายด้าน
372
ตารางที่ 35 ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหลักสูตร ด้านบรรยากาศใน
การเรียน โดยรวมและรายข้อ
373
ญ
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
ตารางที่ 36 ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหลักสูตร ด้านการจัด
กิจกรรมการสอน โดยรวมและรายข้อ
374
ตารางที่ 37 ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหลักสูตร ด้านประโยชน์ที่
ได้รับ โดยรวมและรายข้อ
375
ฎ
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
ภาพที่ 1 รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของไทเลอร์ 47
ภาพที่ 2 รูปแบบการออกแบบหลักสูตรของทาบา 49
ภาพที่ 3 ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของเซเลอร์ อเล็กซานเดอร์ และเลวิส 51
ภาพที่ 4 กระบวนการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดของ สงัด อุทรานันท์ 52
ภาพที่ 5 ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของโบแชมป์ 53
ภาพที่ 6 รูปแบบการประเมินและประเภทตัดสินใจ 63
ภาพที่ 7 การประเมินในแต่ละขั้นตอนของโพรวัส 66
ภาพที่ 8 รูปแบบการให้ข้อมูลย้อนกลับ 66
ภาพที่ 9 กระบวนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น 10 ขั้นตอน 76
ภาพที่ 10 ความสัมพันธ์ระหว่างขั้นตอนการรสร้างหลักสูตรกับองค์ประกอบของ
หลักสูตร
77
ภาพที่ 11 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 130
ภาพที่ 12 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 131
ภาพที่ 13 การวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 132
ภาพที่ 14 แสดงแนวคิดการวางแผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 132
ภาพที่ 15 ขั้นตอนการสร้างหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ 2 รูปแบบ 148
ภาพที่ 16 สรุปและเปรียบเทียบการวางแผนการจัดการเรียน 151
ภาพที่ 17 ขั้นตอนการสร้างหน่วยการเรียนรู้ด้วยรูปแบบของไทเลอร์และการออกแบบ
การเรียนรู้แบบย้อนกลับ
152
ภาพที่ 18 สรุปแนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้คาถามหมวกความคิด 6 ใบ 161
ภาพที่ 19 รายละเอียดขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงาน 168
ภาพที่ 20 ตัวอย่างทักษะการคิดที่จาเป็นสาหรับการคิดบูรณาการ 186
ภาพที่ 21 หลักการเขียนเบื้องต้น 193
ภาพที่ 22 การเขียนสารคดี 197
ภาพที่ 23 กรอบแนวคิดของการวิจัย 234

More Related Content

What's hot

โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
Mo Taengmo
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดSiriluk Singka
 
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
risa021040
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourismchickyshare
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Thidarat Termphon
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
amixdouble
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
Pawit Chamruang
 
Is 1 5-artificial
Is 1 5-artificialIs 1 5-artificial
Is 1 5-artificial
PennapaPengkuy
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
Sircom Smarnbua
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsawชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
Krutanapron Nontasaen
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพpeter dontoom
 
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Ocean'Funny Haha
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
tanakit pintong
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
KruBeeKa
 

What's hot (16)

โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
 
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourism
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
Is 1 5-artificial
Is 1 5-artificialIs 1 5-artificial
Is 1 5-artificial
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsawชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 

Similar to บทคัดย่อ

การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...Nattapon
 
รายงานประกอบสื่อGmc2014
รายงานประกอบสื่อGmc2014รายงานประกอบสื่อGmc2014
รายงานประกอบสื่อGmc2014Wichai Likitponrak
 
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบKobwit Piriyawat
 
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
โรงเรียนพานพร้าว สพม
 
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนเรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
Marg Kok
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
KruBeeKa
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6Nutsara Mukda
 
Effective Teacher Education
Effective Teacher EducationEffective Teacher Education
Effective Teacher Education
Monthon Sorakraikitikul
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
Wichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
Wichai Likitponrak
 
Supervision
SupervisionSupervision
Supervision
peter dontoom
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 

Similar to บทคัดย่อ (20)

การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
 
รายงานประกอบสื่อGmc2014
รายงานประกอบสื่อGmc2014รายงานประกอบสื่อGmc2014
รายงานประกอบสื่อGmc2014
 
Aw หนองหว้า
Aw หนองหว้า Aw หนองหว้า
Aw หนองหว้า
 
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
 
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
 
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนเรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
 
06chap4
06chap406chap4
06chap4
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
 
7
77
7
 
996 File
996 File996 File
996 File
 
Effective Teacher Education
Effective Teacher EducationEffective Teacher Education
Effective Teacher Education
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
3
33
3
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
 
Supervision
SupervisionSupervision
Supervision
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

บทคัดย่อ

  • 1. ก บุญจันทร์ บัวพา. (2557). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษไท ที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ สาหรับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 2) พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่องประวัติเล่าขานสืบสานตรุษไทที่เรียนด้วยหน่วย การเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 3) ทดลองใช้หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ สาหรับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 4) ประเมินผลการใช้และปรับปรุงหลักสูตรท้องถิ่น และศึกษาความคิดเห็นของ นักเรียนที่มีต่อหลักสูตรท้องถิ่น โดยทดลองใช้หลักสูตรกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนภูผาม่าน จานวน 34 คน เวลา 1 ภาคเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล พื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม ประเด็นสนทนากลุ่ม แบบประเมินโครง ร่างหลักสูตร 2) เครื่องมือที่ใช้ประเมินผลการเรียน ได้แก่หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ จานวน 10 หน่วยการเรียนรู้ แบบประเมินผลงานนักเรียน แบบทดสอบ แบบสอบถามความคิดเห็น การวิจัยครั้งนี้ ใช้แบบแผนการวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้น ( Pre – Experimental Design) แบบกลุ่ม ทดลองกลุ่มเดียวและวัดผลเฉพาะหลังการทดลอง ( One – Group Posttest – Only) วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. จากการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน นักเรียนและผู้เกี่ยวข้องต้องการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ สาหรับชั้น มัธยมศึกษาปี 4 เน้นรูปแบบของการพัฒนาการเรียนรู้จากสภาพแวดล้อมรอบตัว โดยศึกษาประวัติ ความเป็นมาของอาเภอภูผาม่าน และประเพณีตรุษไท ออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ระหว่างกลุ่มสาระ มีผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและเนื้อหา ครูผู้สอน ปราชญ์ชาวบ้านและคณะครู กลุ่มสาระที่บูรณาการเป็นผู้ร่วมให้ความรู้และประเมินผล 2. ผลการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เป็นหลักสูตรที่บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย,สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม,ศิลปะ,การงานอาชีพและเทคโนโลยี ประกอบด้วย แนวคิด หลักการ จุดมุ่งหมาย คาอธิบายรายวิชา ผลการเรียน สาระการเรียนรู้ โครงสร้างหลักสูตร/ เวลาเรียน หน่วยการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและแหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และแผนการจัดการเรียนรู้ เนื้อหาหลักสูตรมี 2 หัวเรื่อง 10 หน่วยการเรียนรู้ จัดทาแผนการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design) จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคกระบวนการกลุ่ม กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายแบบเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ กระบวนการเรียนรู้แบบโครงงาน การตรวจสอบประสิทธิภาพพบว่าหลักสูตรมีความเหมาะสมโดยมีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.80-1.00 3. ผลการทดลองใช้หลักสูตร พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่สนใจ กระตือรือร้นในการเรียนรู้ และ ร่วมมือปฏิบัติกิจกรรมทุกหน่วยการเรียนรู้ได้ตามวัตถุประสงค์
  • 2. ข 4. ผลการประเมินและปรับปรุงหลักสูตร พบว่า นักเรียนมีผลการเรียนรู้หน่วยบูรณาการ ระหว่างกลุ่มสาระ คิดเป็นคะแนนผลการเรียนทั้งสิ้นเฉลี่ยร้อยละ 85.27 โดยมีนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ที่ตั้ง ไว้คือ 75/75 จานวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 94.12 ของจานวนทั้งหมด ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 75/75 และมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรท้องถิ่นอยู่ในระดับมาก
  • 3. ค กิตติกรรมประกาศ นมัสการพระครูอมรสารคุณ เจ้าคณะอาเภอภูผาม่าน วัดท่ากระบือ พระครูสุวรรณจิตตานุกูล เจ้าอาวาสวัดทุ่งสว่าง พระครูเกษม ธรรมสุนทร เจ้าอาวาสวัดถ้าเทพนิมิต ขอขอบพระคุณ นายพงษ์ศักดิ์ ตั้งวานิชกพงษ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น นายจารึก เหล่าประเสริฐ นายอาเภอภูผาม่าน ที่สร้างแรงบันดาลใจและให้คาแนะนาแนวทางในการจัดทาหลักสูตรท้องถิ่น งานวิจัยฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยดี เพราะผู้วิจัยได้รับความอนุเคราะห์อย่างสูงจากคณะผู้บริหาร โรงเรียน นายสมควร ไกรพน ผู้อานวยการโรงเรียนภูผาม่าน นายบรรจง ทุมมี รองผู้อานวยการ โรงเรียนภูผาม่าน คณะครูโรงเรียนภูผาม่าน คอยให้ความช่วยเหลือและให้คาแนะนาที่เป็นประโยชน์ อย่างยิ่งกับผู้วิจัย ขอขอบพระคุณ ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน ที่ตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผศ.สมเจตน์ ดวงพิทักษ์ คณบดีภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ผู้ให้ คาแนะนาด้านงานวิจัย ดร. ชัยโรจน์ วุฒิเจริญสิทธิ์ วัฒนธรรมอาเภอภูผาม่าน ผู้ให้คาแนะนา ด้านหลักสูตรท้องถิ่น นวัตกรรม และเนื้อหา นายสมควร ไกรพน ผู้อานวยการโรงเรียนภูผาม่าน ผู้ให้ คาแนะนาด้านหลักสูตรท้องถิ่น นวัตกรรม และเนื้อหา นายมนตรี แก้วกามา ผู้อานวยการโรงเรียน บ้านนาวงเดือน อาเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ ผู้ให้คาแนะนาด้านหลักสูตรและการสอนภาษาไทย อาจารย์อารีย์รัตน์ โนนสุวรรณ อาจารย์ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ผู้ให้คาแนะนาด้านหลักสูตรและการสอนภาษาไทย และคุณครูผู้คอยช่วยกากับ ดูแล ชี้แนะ ให้กาลังใจในการทาผลงานตลอดการวิจัย คือ คุณครูอารี ราชสาร ครูอันดับ คศ.4 วิทยฐานะเชี่ยวชาญ โรงเรียนโนนหันวิทยายน อาเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น และคุณครูสุพล อินเดีย ครูอันดับ คศ.3 วิทยฐานะชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านโนนสว่างท่ากระบือ อาเภอภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น ขอขอบพระคุณ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนภูผาม่าน ปราชญ์ชาวบ้าน วิทยากรท้องถิ่น ผู้รู้ในท้องถิ่น ตลอดจนผู้ปกครองนักเรียน ที่ให้ความอนุเคราะห์ในการให้ข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ในการพัฒนาหลักสูตร และสละเวลาอันมีค่าถ่ายทอดความรู้ให้กับนักเรียน ขอขอบพระคุณ คณะครู ขอบใจนักเรียนทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ท้ายที่สุดขอกราบขอบพระคุณ คุณแม่สุบิน จันเวียง และทุกคนในครอบครัว โดยเฉพาะ นายทรงเกียรติ บัวพา ที่ให้การสนับสนุน ให้กาลังใจ ช่วยเหลือในการทางาน ตลอดจนบุตรสาว นางกษมา ตันวิสุทธิจินดา นางสาวกีรติ บัวพา และนางสาวพลอยไพลิน บัวพา ผู้ช่วยในการจัดรวบรวม เอกสาร ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานวิจัยฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนตลอดจนผู้ที่สนใจ โดยทั่วไป หากงานวิจัยนี้เกิดประโยชน์และคุณค่า ผู้วิจัยขอมอบอุทิศให้กับคุณพ่อแพง จันเวียง คุณพ่อทา-คุณแม่เจียงคา บัวพา ผู้ให้การอบรมสั่งสอนและเป็นแรงบันดาลใจในการทางาน ขอมอบบูชา แม่ผู้อบรมสั่งสอน และครู อาจารย์ผู้ประสิทธิ์ประศาสตร์วิชาทาให้ผู้วิจัยประสบความสาเร็จ บุญจันทร์ บัวพา
  • 4. ง สารบัญ หน้า บทคัดย่อภาษาไทย ก กิตติกรรมประกาศ ค สารบัญ ง สารบัญตาราง ช สารบัญภาพ ฎ บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของการวิจัย 1 1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 7 1.3 สมมุติฐานของการวิจัย 8 1.4 ขอบเขตของการวิจัย 8 1.5 ข้อตกลงเบื้องต้น 11 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 11 1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 21 บทที่ 2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 1.1 วิสัยทัศน์ 1.2 หลักการ 1.3 จุดหมาย 1.4 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 1.6 กลุ่มสาระการเรียนรู้/มาตรฐานการเรียนรู้ที่บูรณาการ 1.7 สาระการเรียนรู้และตัวชี้วัดแกนกลางที่บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ 1.8 ผลการเรียนรู้ 2. แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร 2.1 ความหมายของหลักสูตร 2.2 ความสาคัญของหลักสูตร 2.3 องค์ประกอบของหลักสูตร 2.4 รูปแบบของหลักสูตร 2.5 คุณลักษณะหลักสูตรที่ดี 2.6 ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร 2.7 รูปแบบและกระบวนการพัฒนาหลักสูตร 2.8 ผลการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร 2.9 การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม 25 25 25 25 26 27 27 37 39 40 40 41 42 43 44 45 46 56 58
  • 5. จ สารบัญ (ต่อ) หน้า 2.10 การประเมินผลหลักสูตร 3. การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น 3.1 ความหมายของหลักสูตรท้องถิ่น 3.2 ความสาคัญของการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น 3.3 ลักษณะการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น 3.4 กระบวนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น 4. บริบทของโรงเรียนภูผาม่าน 4.1 ข้อมูลทั่วไป 4.2 ประวัติ คติพจน์ ปรัชญา คาขวัญ 4.3 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ 4.4 อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ 4.5 ลักษณะของชุมชน 5. หลักสูตรโรงเรียนภูผาม่าน พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 5.1 บทนา 5.2 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนภูผาม่าน พุทธศักราช 2553 6. หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้ บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ 7. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 7.1 การวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 7.2 ตัวบ่งชี้และประโยชน์การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 8. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ 8.1 ความหมายของการบูรณาการ 8.2 เหตุผลและความจาเป็นในการจัดการเรียนรู้บูรณาการ 8.3 รูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู้บูรณาการ 8.4 หลักการและขั้นตอนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ 8.5 คุณค่าของการจัดการเรียนรู้บูรณาการ 8.6 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการบูรณาการ 8.7 การสร้างหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ 8.8 ลักษณะของหน่วยการเรียนรู้ที่ดี 9. การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ 9.1 ขั้นตอนการสร้างหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ 9.2 หลักการสาคัญของกระบวนการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ 9.3 ขั้นตอนการออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ 61 67 67 67 71 73 79 79 79 80 81 81 82 82 86 93 130 131 133 134 134 136 139 141 143 145 146 148 150 150 152 153
  • 6. ฉ สารบัญ (ต่อ) หน้า 10. แนวคิดทฤษฎี จิตวิทยา เทคนิคการจัดการเรียนรู้ 10.1 ปัจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อการเสริมส่งการเรียนรู้ 10.2 ทฤษฏี เทคนิค กระบวนการการจัดการเรียนรู้ 11. สาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 11.1 สาระการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย,สังคม ศึกษาฯ,ศิลปะและการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 11.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น 12. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 12.1 งานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น 12.2 งานวิจัยเกี่ยวกับการสอนแบบบูรณาการ 13. กรอบแนวคิดการวิจัย 155 155 157 174 174 210 224 224 228 230 บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 วิจัย (Research) : การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ขั้นตอนที่ 2 พัฒนา (Development) : การพัฒนาหลักสูตร ขั้นตอนที่ 3 วิจัย (Research) : การทดลองใช้หลักสูตร ขั้นตอนที่ 4 วิจัย (Research) : การประเมินผลการใช้และปรับปรุงหลักสูตร 235 244 263 275 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนที่ 1 วิจัย (Research) : การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนที่ 2 พัฒนา (Development) : การพัฒนา หลักสูตร ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 วิจัย (Research) : การทดลองใช้หลักสูตร ผลการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นตอนที่ 4 พัฒนา (Development) : การประเมินผลการใช้ 294 316 354 365 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ วิธีดาเนินงานวิจัย สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลการวิจัย ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย 377 378 380 387 บรรณานุกรม 389 ภาคผนวก 396
  • 7. ช สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า ตารางที่ 1 แนวทางและกระบวนการของการพัฒนาหลักสูตร 55 ตารางที่ 2 วิธีการประเมินองค์ประกอบในด้านต่างๆ ของสตัฟเฟิลบีม 65 ตารางที่ 3 สรุปวิธีดาเนินการวิจัยขั้นตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน 242 ตารางที่ 3 สรุปวิธีดาเนินการวิจัยขั้นตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน (ต่อ) 243 ตารางที่ 4 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 247 ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 248 ตารางที่ 6 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 248 ตารางที่ 7 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 249 ตารางที่ 8 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 249 ตารางที่ 8 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 (ต่อ) 250 ตารางที่ 8 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 (ต่อ) 251 ตารางที่ 9 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 251 ตารางที่ 10 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 252 ตารางที่ 11 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 252 ตารางที่ 12 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 253 ตารางที่ 13 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นผลการเรียนรู้บูรณา การระหว่างกลุ่มสาระ หัวเรื่องที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 253 ตารางที่ 14 สรุปวิธีการดาเนินการวิจัยขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาหลักสูตร 263 ตารางที่ 15 สรุปวิธีการดาเนินการวิจัยขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้หลักสูตร 274 ตารางที่ 16 แสดงรายละเอียดแบบทดสอบประกอบแผนการจัดการเรียนรู้/ หน่วยการเรียนรู้ 277
  • 8. ซ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า ตารางที่ 16 แสดงรายละเอียดแบบทดสอบประกอบแผนการจัดการเรียนรู้/ หน่วยการเรียนรู้ (ต่อ) 278 ตารางที่ 16 แสดงรายละเอียดแบบทดสอบประกอบแผนการจัดการเรียนรู้/ หน่วยการเรียนรู้ (ต่อ) 279 ตารางที่ 16 แสดงรายละเอียดแบบทดสอบประกอบแผนการจัดการเรียนรู้/ หน่วยการเรียนรู้ (ต่อ) 280 ตารางที่ 16 แสดงรายละเอียดแบบทดสอบประกอบแผนการจัดการเรียนรู้/ หน่วยการเรียนรู้ (ต่อ) 281 ตารางที่ 17 วิเคราะห์ข้อสอบกลางภาคเรียน แบบทดสอบปรนัย จานวน 30 ข้อ 282 ตารางที่ 17 วิเคราะห์ข้อสอบกลางภาคเรียน แบบทดสอบปรนัย จานวน 30 ข้อ (ต่อ) 283 ตารางที่ 18 วิเคราะห์ข้อสอบกลางภาคเรียน แบบทดสอบอัตนัย 283 ตารางที่ 19 วิเคราะห์ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปลายภาคเรียน จานวน 60 ข้อ 284 ตารางที่ 19 วิเคราะห์ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปลายภาคเรียน จานวน 60 ข้อ (ต่อ) 285 ตารางที่ 20 ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ 288 ตารางที่ 20 ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ (ต่อ) 289 ตารางที่ 20 ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ (ต่อ) 290 ตารางที่ 20 ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ (ต่อ) 291 ตารางที่ 21 สรุปวิธีดาเนินการวิจัยขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการใช้และปรับปรุง หลักสูตร 293 ตารางที่ 22 ตารางผลด้านคุณภาพผู้เรียน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ 296 ตารางที่ 22 ตารางผลด้านคุณภาพผู้เรียน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ (ต่อ) 297 ตารางที่ 22 ตารางผลด้านคุณภาพผู้เรียน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ (ต่อ) 298 ตารางที่ 22 ตารางผลด้านคุณภาพผู้เรียน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ (ต่อ) 299 ตารางที่ 22 ตารางผลด้านคุณภาพผู้เรียน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ (ต่อ) 300 ตารางที่ 22 ตารางผลด้านคุณภาพผู้เรียน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ (ต่อ) 301 ตารางที่ 22 ตารางผลด้านคุณภาพผู้เรียน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ (ต่อ) 302
  • 9. ฌ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า ตารางที่ 23 แสดงจานวนและร้อยละเกี่ยวกับสถานภาพและข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ แบบสอบถาม 306 ตารางที่ 24 จานวนและร้อยละของความต้องการเกี่ยวกับหลักสูตร 307 ตารางที่ 24 จานวนและร้อยละของความต้องการเกี่ยวกับหลักสูตร (ต่อ) 308 ตารางที่ 25 จานวนและร้อยละเกี่ยวกับสถานภาพและข้อมูลทั่วไปของผู้ร่วมสนทนากลุ่ม 310 ตารางที่ 25 จานวนและร้อยละเกี่ยวกับสถานภาพและข้อมูลทั่วไปของผู้ร่วมสนทนากลุ่ม (ต่อ) 311 ตารางที่ 26 แสดงหัวเรื่องที่ 1 ประวัติเล่าขาน 326 ตารางที่ 26 แสดงหัวเรื่องที่ 1 ประวัติเล่าขาน (ต่อ) 327 ตารางที่ 26 แสดงหัวเรื่องที่ 1 ประวัติเล่าขาน (ต่อ) 328 ตารางที่ 27 แสดงหัวเรื่องที่ 2 สืบสานตรุษไท 329 ตารางที่ 28 โครงสร้างรายวิชาหัวเรื่องที่ 1 ประวัติเล่าขาน 342 ตารางที่ 28 โครงสร้างรายวิชาหัวเรื่องที่ 1 ประวัติเล่าขาน (ต่อ) 343 ตารางที่ 29 โครงสร้างรายวิชาหัวเรื่องที่ 2 สืบสานตรุษไท 344 ตารางที่ 30 ตารางที่ 30 ตารางที่ 30 แผนการประเมินผล แผนการประเมินผล (ต่อ) แผนการประเมินผล (ต่อ) 345 346 347 ตารางที่ 31 ตารางที่ 31 ตารางที่ 31 ตารางที่ 31 ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษ ไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษ ไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ (ต่อ) ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษ ไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ (ต่อ) ปฏิทินการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษ ไทที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ (ต่อ) 349 350 351 352 ตารางที่ 32 คะแนนการประเมินผลงานนักเรียนระหว่างเรียนแต่ละหน่วยการเรียนรู้ 369 ตารางที่ 33 คะแนนผลการเรียนรู้ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียน ด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระจากคะแนนการประเมินผล งานนักเรียน(รวม 10 หน่วยการเรียนรู้)และคะแนนแบบทดสอบหลังเรียน 370 ตารางที่ 34 ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ประวัติเล่าขานสืบสานตรุษไทที่เรียนด้วยหน่วยการ เรียนรู้แบบบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ โดยรวมและรายด้าน 372 ตารางที่ 35 ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหลักสูตร ด้านบรรยากาศใน การเรียน โดยรวมและรายข้อ 373
  • 10. ญ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า ตารางที่ 36 ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหลักสูตร ด้านการจัด กิจกรรมการสอน โดยรวมและรายข้อ 374 ตารางที่ 37 ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหลักสูตร ด้านประโยชน์ที่ ได้รับ โดยรวมและรายข้อ 375
  • 11. ฎ สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า ภาพที่ 1 รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของไทเลอร์ 47 ภาพที่ 2 รูปแบบการออกแบบหลักสูตรของทาบา 49 ภาพที่ 3 ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของเซเลอร์ อเล็กซานเดอร์ และเลวิส 51 ภาพที่ 4 กระบวนการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดของ สงัด อุทรานันท์ 52 ภาพที่ 5 ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของโบแชมป์ 53 ภาพที่ 6 รูปแบบการประเมินและประเภทตัดสินใจ 63 ภาพที่ 7 การประเมินในแต่ละขั้นตอนของโพรวัส 66 ภาพที่ 8 รูปแบบการให้ข้อมูลย้อนกลับ 66 ภาพที่ 9 กระบวนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น 10 ขั้นตอน 76 ภาพที่ 10 ความสัมพันธ์ระหว่างขั้นตอนการรสร้างหลักสูตรกับองค์ประกอบของ หลักสูตร 77 ภาพที่ 11 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 130 ภาพที่ 12 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 131 ภาพที่ 13 การวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 132 ภาพที่ 14 แสดงแนวคิดการวางแผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 132 ภาพที่ 15 ขั้นตอนการสร้างหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ 2 รูปแบบ 148 ภาพที่ 16 สรุปและเปรียบเทียบการวางแผนการจัดการเรียน 151 ภาพที่ 17 ขั้นตอนการสร้างหน่วยการเรียนรู้ด้วยรูปแบบของไทเลอร์และการออกแบบ การเรียนรู้แบบย้อนกลับ 152 ภาพที่ 18 สรุปแนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้คาถามหมวกความคิด 6 ใบ 161 ภาพที่ 19 รายละเอียดขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงาน 168 ภาพที่ 20 ตัวอย่างทักษะการคิดที่จาเป็นสาหรับการคิดบูรณาการ 186 ภาพที่ 21 หลักการเขียนเบื้องต้น 193 ภาพที่ 22 การเขียนสารคดี 197 ภาพที่ 23 กรอบแนวคิดของการวิจัย 234