SlideShare a Scribd company logo
1 of 122
Download to read offline
ศาสตราจารย์ (ญาณวิทย์) ดร.อลงกลด แทนออมทอง
รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาท เนืองเฉลิม
แนวปฏิบัติการใช้เกณฑ์ และการสร้างผลงานวิชาการ
เพื่อใช้ขอตาแหน่งทางวิชาการ (ผศ. รศ. ศ.)
ประสบการณ์ชีวิตจริงมาบรรยาย
คณะกรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการ (ก.พ.ว.)
❖
ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานทางวิชาการ ผศ. รศ. ศ. ของ
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
(ก.พ.อ.) ตารา หนังสือ งานวิจัย บทความวิชาการ
งานรับใช้ท้องถิ่นและสังคม และอื่น ๆ
❖
แนวทางการพัฒนาการขอตาแหน่งวิชาการของ มทร.สุวรรณภูมิ
ต้นน้า (ตัวอาจารย์ และคณะที่สังกัด)
การเข้าใจเกณฑ์ การประเมินการสอน ตารา และหนังสือ
❖
กลางน้า (กองการเจ้าหน้าที่ และเรขา ก.พ.ว.)
การเข้าใจเกณฑ์ การรับเรื่อง และการส่งเรื่อง
❖
ปลายน้า (ก.พ.ว. และสภามหาวิทยาลัย)
การเลือกผู้ทรง และแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง
❖
(เหลือ 6 ปี)
(เหลือ 4 ปี)
(เหลือ 1 ปี)
(เหลือ 2 ปี)
เราชาว มรภ.สุวรรณภูมิ ยังมีอาจารย์อีกมากที่ยังพัฒนาตาแหน่งวิชาการได้
การดาเนินงานคณะกรรมการพิจารณาตาแหน่งวิชาการ (ก.พ.ว.)
• ระยะเวลาเร็วที่สุด 3 เดือน
• ระยะเวลามากที่สุด 1 ปี 6 เดือน
• ระยะเวลาโดยเฉลี่ย 6 เดือน
กรณีที่ผลการประเมินเป็ นเอกฉันท์นั้น สามารถดาเนินการได้
รวดเร็วยิ่งขึ้น เนื่องจากไม่ต้องมีการประชุมสรุปผลงานทางวิชาการ
ของกรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการ (กพว.) ส่วนกรณีที่ใช้ระยะ
เวลานานนั้น เนื่องมาจาก ขั้นตอนการทาบทามผู้ทรงคุณวุฒิที่
ประเมินผลงานทางวิชาการ (ไม่ตรงสาย หรือมีน้อย) การส่งผลการ
ประเมินล่าช้า (ต้องโทรตาม) และ การนัดประชุม (นัดแล้วเลื่อน)
If I had six hours to chop down a tree, I'd spend the first four
hours sharpening the axe.
ถ้าข้าพเจ้ามีเวลา 6 ชั่วโมงในการตัดต้นไม้ จะเอา 4 ชั่วโมงไว้ลับขวาน
อับราฮัม ลินคอล์น (Abraham Lincoln)
ประธานาธิบดีคนที่ 16 ของสหรัฐอเมริกา
ได้รับการยกย่องว่า เป็นประธานาธิบดีที่
ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งของสหรัฐ
การพัฒนาตนเองสู่เส้นทาง ศาสตราจารย์
มีผลงานวิชาการ (วิจัย) ที่ต่อเนื่อง และสม่าเสมอ (10 ปี)
❖
ให้วงการในศาสตร์ของสาขานั้น ๆ ยอมรับ
❖
มีผลงานวิชาการ (ตีพิมพ์) ด้านใดด้านหนึ่งโดดเด่น
❖
รวบรวมผลงานที่มีมาทั้งหมดมาเขียนหนังสือหรือตารา
แสดงให้เห็นถึงองค์ความรู้ (Body of knowledge)
❖
ก.พ.อ. ประกาศใช้ เกณฑ์ใหม่ปี 2564
รัฐมนตรีเซ็นวันที่ 27 ธ.ค. 2564
ฉบับที่ ๑
มีผลยกเลิกการใช้เกณฑ์ 2560 โดยทันที
ฉบับที่ ๒
ในกรณีที่สภามหาวิทยาลัยไม่มีศาสตราจารย์
ให้ศาสตราจารย์คนนอกเป็นประธาน ก.พ.ว. ได้
ฉบับที่ ๓
เกณฑ์ 2564 ยกเลิก TCI เหมือนเดิม
ไปประกาศไว้ในบทเฉพาะกาล
ฉบับที่ ๔
ใครมีงานตีพิมพ์ TCI 1, 2 และมี Peer reviewer จานวน 2 คน
ให้รีบใช้ก่อน 23 มิถุนายน 2563 (ประมาณ 4 เดือน)
บทเฉพาะกาล เกณฑ์ใหม่ปี 2564
ใครเผยแพร่งานวิจัยในวารสารระดับชาติ TCI1 และ TCI2
ก่อนวันที่ 8 มกราคม 2565 สามารถใช้ขอตาแหน่งทาง
วิชาการได้โดยอนุโลม
ประกาศ อว. วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565
ประกาศ อว. วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565
ผลงานวิชาการในเกณฑ์ 2564 แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
ทับซ้อนกับผลงานเฉพาะด้าน 5 ด้าน
มีรูปแบบและการเผยแพร่ที่เหมือนกัน
งานอื่นเพิ่มจาก 10 เป็น 12
เป็นอาจารย์กาลังขอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
(Assistant Professor)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เกณฑ์ใหม่ปี 2564 (สองชิ้นงาน)
เกณฑ์ปี 2564 มี 3 ระดับ B A A+ (ตัด B+ ออกไป)
งานวิจัย ตีพิมพ์ระดับชาติ, นานาชาติ (7 ฐาน) และ ประชุมวิชาการใช้ได้
วิธีปกติ
งานวิจัยใช้ได้มากกว่า 3 คน
ไม่ได้กาหนดว่าเป็น First author
(3 ตาแหน่ง)
มากาหนดข้างล่างอีกครั้ง
การมีส่วนร่วมของงานวิจัยเกณฑ์ใหม่ปี 2564
เกณฑ์ปี 2564: บทความวิจัย 1 เรื่อง ใช้ได้มากกว่า 3 คน (ตาแหน่ง)
ผู้ประพันธ์บรรณกิจ (Corresponding author)
การเผยแพร่งานวิจัย (การประชุมวิชาการ)
ประชุมวิชาการใช้ได้ได้โดยสมาคมวิชาการหรือวิชาชีพ และจัดครั้งที่ 5 ขึ้นไป
เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์กาลังขอ รองศาสตราจารย์
(Associate Professor)
รองศาสตราจารย์ เกณฑ์ใหม่ปี 2564 (วิธีที่ 1) 3 ชิ้นงาน
งานวิจัยใช้ได้ในวารสารระดับชาติ และนานาชาติ (7 ฐาน)
หนังสือ/ตาราใช้ได้เพียง 1 คน (สมมุติเขียน 2 คน)
ประชุมวิชาการใช้ไม่ได้
มีงานวิจัยและหนังสือ/ตารา
ผลงานทุกอย่างต้อง B (เท่า ผศ.)
วิธีปกติ
ตัวหนา
งานวิจัยได้มากกว่า 3 คน (ตาแหน่ง)
กาหนดว่าเป็น First author
มากาหนดข้างล่างอีกครั้ง
รองศาสตราจารย์ เกณฑ์ใหม่ปี 2564 (วิธีที่ 2) 3 ชิ้นงาน
มีงานวิจัย (ไม่มีหนังสือ/ตารา)
เน้นไปที่งานวิจัย 2 เรื่องต้องได้ A
เป็นFirst author หรือ
Corresponding author
ผลงานมีทั้ง B และ A
ถ้าชอบเสี่ยงแนะนาขอ 2 รอบ
ประชุมวิชาการใช้ไม่ได้
งานวิจัยใช้ได้ในวารสารระดับชาติ และนานาชาติ (7 ฐาน)
เป็นรองศาสตราจารย์กาลังขอ ศาสตราจารย์
(Professor)
ศาสตราจารย์ เกณฑ์ใหม่ปี 2564 วิธีที่ 1 (สายวิทยาศาสตร์)
งานวิจัยระดับนานาชาติ 7 ฐาน
ตาม ก.พ.อ. กาหนด
Q1, Q2, Q3, Q4
หนังสือ/ตาราใช้ได้เพียง 1 คน
มีงานวิจัยและหนังสือ/ตารา
งานวิจัยนานาชาติ 5 เรื่อง
วิธีปกติ
มากาหนดข้างล่างอีกครั้ง
ตัวหนา
งานวิจัยใช้ได้ในวารสารระดับนานาชาติ (7 ฐาน)
ศาสตราจารย์ เกณฑ์ใหม่ปี 2564 วิธีที่ 1 (สายสังคมศาสตร์)
วิธีปกติ
มีงานวิจัยและหนังสือ/ตารา
หนังสือ/ตารากาหนดตาแหน่งไว้ 1 เล่ม
มากาหนดข้างล่างอีกครั้ง
ตัวหนา
ใช้ผลงานตีพิมพ์
ในวารสารระดับชาติได้
ปรับลดลงจากเกณฑ์
2563 นานาชาติ 3 เรื่อง
ในหลายมหาวิทยาลัย ก.พ.ว. อนุโลมการบังคับใช้
ใครกาลังจะทาวิจัยแนะนาให้ขอจริยธรรม
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับเกณฑ์ใหม่ปี 2564
ยังไม่ถูกแต่งตั้ง ผศ. ให้ใช้ผลงานในอดีตได้หมด
ถูกแต่งตั้ง ผศ. และ รศ. แล้ว ให้ใช้งานย้อนหลังจากวันที่แต่งตั้ง
ได้ไม่เกิน 5 ปี ใช้ได้ไม่เกิน 1 ใน 3 และมีผลงานใหม่อย่างน้อย 2 เรื่อง
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับเกณฑ์ใหม่ปี 2564
การแต่งตั้งตาแหน่งทางวิชาการโดยวิธีพิเศษ
มีหนังสือหรือตารา
มีหนังสือหรือตารา
ใช้ผู้ทรง 3 คน เสียงต้องเป็นเอกฉันท์ทั้งหมด
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับเกณฑ์ใหม่ปี 2564
ผลงานที่ผ่านการประเมินเก็บไว้ใช้ได้แต่ ไม่เกินห้าปี
รวมทั้งขอร่วมกัน 2 คน เมื่อคนแรกขอไปแล้วให้คนที่สองต้องขอ ภายในห้าปี
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับเกณฑ์ใหม่ปี 2564
หมวด ๔ การลงโทษผู้กระทาผิด
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับเกณฑ์ใหม่ปี 2564
ผลงานที่มาจากวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา ผู้ขอต้องทาหน้าที่ริเริ่ม
กากับดูแล และมีบทบาทสาคัญในการวิเคราะห์ และสังเคราะห์งานวิจัย
ในบางมหาวิทยาลัยทางด้านสังคมศาสตร์ห้ามใช้วิทยานิพนธ์
ของนักศึกษามาขอตาแหน่งทางวิชาการ
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับเกณฑ์ใหม่ปี 2564
เกณฑ์ 2564 จะถูกใช้ไปจนครบสี่ปี
อาจถูกแก้ไขปรับปรุงได้เล็กน้อย อนุโลมใช้เกณฑ์ 60
วัฒนธรรมประเมินการสอนของ มทร.สุวรรณภูมิ
วันนี้เรามาช่วยสร้างวัฒนธรรมองค์กรใหม่กันดีไหม?
ปรับให้เหมาะสมกับเกณฑ์การขอตาแหน่งปี 2564
การขอตาแหน่ง ผศ. และ รศ. ของ มทร.สุวรรณภูมิ
ในอดีตที่ผ่านมามีปัญหาอยู่ที่ ขั้นตอน (ล่าช้า)
และ วิธีดาเนินการ (ยุ่งยาก ซับซ้อน) ในการประเมินเอกสารการสอนไหม?
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับเกณฑ์ใหม่ปี 2564
ผศ. (เอกสารประกอบการสอน) รศ. (เอกสารคาสอน)
วิชาอะไรก็ได้ สอนหนึ่งเทอม ย้อนหลังไม่เกิน 3 ปี
หลักสูตรเก่า ใหม่ได้ทั้งหมด สอนครบ 3 หน่วยกิต (45 คาบ)
อย่ายึดติดกับสาขาที่เรียนจบมา วิชาที่สอน คณะที่สังกัด
การขอตาแหน่งทางวิชาการ (ผศ. รศ.) ต้องผ่านการประเมินการสอน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์: เอกสารประกอบการสอน
รองศาสตราจารย์: เอกสารคาสอน
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการขอตาแหน่งทางวิชาการ
การประเมินการสอนเน้นความสามารถในการถ่ายทอดองค์ความรู้
เพื่อช่วยให้ผู้เรียน (นศ.) ได้เกิดการเรียนรู้
อาจารย์ทา Power Point หรือ Sheet ใช้สอน นศ. อยู่แล้วใช่ไหม?
และอาจารย์ทุกคนก็ทา มคอ. 3 ใช่หรือไม่?
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการขอตาแหน่งทางวิชาการ
เอกสารการสอน กฎหมายใช้คาว่า “เอกสาร”
เป็นได้ตั้งแต่ซีท (sheet) เย็บเล่ม จนถึงใกล้เคียงหนังสือ/ตารา
จะทาให้ง่ายก็ง่าย จะทาให้ยากก็ยาก
จุดประสงค์เริ่มแรกเพื่อให้อาจารย์ทา เอกสาร ใช้ประกอบการสอน
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการขอตาแหน่งทางวิชาการ
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการขอตาแหน่งทางวิชาการ
กฎหายให้ ก.พ.ว. มีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการประเมินการสอนได้
ต่อไปนี้ ก.พ.ว. จะให้การประเมินการสอนเป็นเรื่องของคณะ
เอกสารประกอบการสอน (คาสอน) ไม่ใช่ผลงานทางวิชาการใช่หรือไม่?
ก.พ.ว. มีหน้าที่หลักในการหาผู้ทรง 3 ท่าน ตรวจผลงานทางวิชาการ
ต้องผ่านประเมินการสอนถึงจะสามารถส่งผลงานวิชาการขอตาแหน่งได้
เรานับวันไหนเป็นวันแรกของการได้ตาแหน่งทางวิชาการ?
ผลงานวิชาการในเกณฑ์ 2564 แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
คาถาม : เอกสารประกอบการสอน (ผศ.)
เอกสารคาสอน (รศ.) ใช่ผลงานวิชาการไหม
ก.พ.ว. สามารถออกประกาศ (ข้อกาหนด) ประเมินการสอนเพิ่มเติมได้
มทร.สุวรรณภูมิ มีประกาศที่ชัดเจนในการประเมินการสอนที่สอดคล้อง
กับเกณฑ์ปี 2564 หรือไม่?
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการขอตาแหน่งทางวิชาการ
ระดับศาสตราจารย์ ไม่ต้องมีการประเมินการสอน แต่ต้องมีวิชาสอนใน
ระดับอุดมศึกษาอย่างน้อย 1 วิชา (ไม่ได้กาหนดจานวนคาบสอน)
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการขอตาแหน่งทางวิชาการ
เอกสารประกอบการสอน (ใช้กับผู้ช่วยศาสตราจารย์)
ไม่ควรเกินนี้ สอนแค่ไหนเขียนแค่นั้น แต่ต้องครอบคลุมคาอธิบายรายวิชา
ตรี โท เอก วิชาอะไรก็ได้
อย่ายึดติดกับสาขาที่ขอ สาขาที่จบมา คณะที่สังกัดอยู่
ใช้ Power Point
ได้ไหม?
ใช้ มคอ. 3 แทนแผนการสอน และหัวข้อการบรรยาย
ครอบคลุมแผนการสอน และหัวข้อการบรรยาย
เอกสารประกอบการสอน (ต่อ)
ในแต่ละมหาวิทยาลัยจะไม่เหมือนกัน: สอบสอนจริง สาธิตการสอน
สังเกตการสอน อัดวีดีโอ หรือประเมินจากเอกสาร
มทร.สุวรรณภูมิ ประเมินจากเอกสาร ง่ายที่สุด
ยกเลิก การสอบสอนจริงหน้าชั้นเรียนได้แล้ว
ช่วงโควิด หรือปิดเทอม เราจะประเมินการสอบสอนจริงอย่างไร?
สมมุติ เชิญผู้ทรงภายนอกมหาวิทยาลัย 2 ท่าน (ดูแลอย่างดี)
ในคานาให้ลงวันที่ เดือน ก่อนที่สอนในเทอมสุดท้าย
การพัฒนาเอกสารประกอบการสอน (ผศ.) เป็นเอกสารคาสอน (รศ.)
เพิ่มบท เพิ่มเนื้อหา พัฒนาภาพ เป็นต้น
เอกสารคาสอน (ต่อ)
ย้อนหลังไม่เกินสามปี : ให้ลงวันที่ในคานาก่อนวันเปิดเทอม
ที่สอนครั้งสุดท้าย
กฎหมายที่ว่าด้วยการประเมินการสอน
สามารถใช้ผลประเมินการสอนของนักศึกษามาใช้แทนได้
ใช้ผลประเมินการสอนของนักศึกษาที่มีอยู่แล้ว (ตามเกณฑ์ ก.พ.อ.)
แนวทางประเมินการสอนที่ง่าย และเป็นไปตามเกณฑ์ 2564
- เอกสารประกอบการสอน ที่มีแต่เนื้อหาเท่านั้น (เริ่มต้น ผศ.)
สอนเท่าไหน เขียนเท่านั้น แต่ต้องครอบคลุมคาอธิบายรายวิชา
(แบบฟอร์ม: ปก คานา สารบัญ เนื้อหาที่จะสอน บรรณานุกรม)
- มคอ. 3 ใช้แทน แผนการสอน และหัวข้อการบรรยาย
- ใช้ผลประเมินการสอนของนักศึกษา (ตามเกณฑ์ 9 ข้อ ก.พ.อ.)
แนวทางประเมินการสอนที่ง่าย และเป็นไปตามเกณฑ์ 2564
- เอกสารคาสอน (รศ.) พัฒนามาจากเอกสารประกอบการสอน
เพิ่มบท เพิ่มเนื้อหา พัฒนารูป เป็นต้น
(แบบฟอร์ม: ปก คานา สารบัญ เนื้อหาที่จะสอน บรรณานุกรม)
- มคอ. 3 ใช้แทน แผนการสอน และหัวข้อการบรรยาย
- ใช้ผลประเมินการสอนของนักศึกษา (ตามเกณฑ์ 9 ข้อ ก.พ.อ.)
(กรณีที่ใช้วิชาใหม่ให้ใช้เกณฑ์ เช่น เอกสารประกอบการสอน)
การประเมินการสอนในรูปแบบใหม่ของเราชาว มทร.สุวรรณภูมิ
สามารถประเมินการสอน ล่วงหน้า ได้ (ไม่ต้องส่งพร้อมผลงานทางวิชาการ)
ขึ้นบัญชี ไว้ได้ 3 ปี (ในกรณีที่ตกไม่ต้องประเมินการสอนอีกครั้ง)
ประเมินโดย ใช้เอกสาร และวีดีโอ เท่านั้น (ไม่ต้องสอบสอนหน้าชั้นเรียน)
ใช้ผู้ทรง 3 คน (ในคณะ 2 คน นอกคณะ 1 คน) สายตรง หรือเกี่ยวข้อง
ต่อไปนี้เราจะไม่ใช้ผู้ทรงภายนอกอีกแล้ว (ประหยัดเงิน การดูแล และเวลา)
ผู้ขอประเมิน มีส่วนร่วม ในการเสนอผู้ทรงคุณวุฒิเอง (แนวทางปฏิบัติ)
ผศ. ตรวจ ผศ. รศ. ตรวจ รศ. (หรือมีประสบการณ์สอน 7 ปี)
การประเมินการสอนในรูปแบบใหม่ของเราชาว มทร.สุวรรณภูมิ
การประเมินการสอนมีเกณฑ์ มาตรฐานระดับหนึ่ง ที่ไม่เป็นการขั้นขวางการ
เข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ (แก้ไขเท่าที่จาเป็น หรือเป็นแค่ข้อเสนอแนะ)
ระยะเวลาในการดาเนินการหลังจากแต่งตั้งคณะกรรมการ ให้แล้วเสร็จ
ภายใน 30 วัน ได้ไหม (ส่งผลการประเมิน) ของ มทร. ธัญบุรี 15 วัน
และเราจะจัดทาประกาศใช้กับ มทร.สุวรรณภูมิ
ให้คณบดีทุกคณะเป็นคนเสนอแต่งตั้งกรรมการประเมินการสอน
และ ก.พ.ว. จะคอยควบคุมดูแลอีกชั้น (เป็นไปตามเกณฑ์ ก.พ.อ. กาหนด)
การแต่งตั้งกรรมการ 3 คน จะต้องให้ 1 คน ทาหน้าที่ประธาน
การประเมินตารา (ใช้กับ ผศ. รศ. ศ.)
ตารา (ต่อ)
นี่คือปัญหากฎหมายต้องมีหลักฐาน
การประเมิน แต่ไม่บอกว่าทาอย่างไร?
ประเมินแล้วไม่แก้ได้ไหม?
เสนอให้มีการจัดตั้งสานักพิมพ์ มทร.สุวรรณภูมิ (เริ่มต้นทา e-book)
แบบฟอร์มประเมินหนังสือ และตาราที่ไม่ยุ่งยาก
ตารา (ต่อ)
ตกแล้วแก้ไข ส่งกลับเข้าไปใหม่ได้
การประเมินหนังสือ (ใช้กับ ผศ. รศ. ศ.)
คาถาม : ทาไมตาราสามารถพัฒนามาจากเอกสารคาสอนได้
แต่หนังสือห้ามพัฒนามาจากเอกสารคาสอน (Plagiarism)?
หนังสือ (ต่อ)
เกณฑ์ปี 2564 นามารวมไว้
หนังสือ (ต่อ)
ตกแล้วแก้ไข ส่งกลับเข้าไปใหม่ได้
การเผยแพร่เหมือนกับตารา
ต่อไปนี้เราชาว มรภ.เพชรบูรณ์ จะพัฒนาให้เป็นไปตามเกณฑ์
เอกสารประกอบการสอน เอกสารคาสอน
❖
เอกสารคาสอน ตารา (ระเบียบใหม่ หนังสือไม่ได้)
❖
พัฒนา
พัฒนา
วางแผนดี สามารถใช้หนึ่งวิชาพัฒนาจนได้เป็นรองศาสตราจารย์
การประเมินหนังสือ/ตาราในรูปแบบใหม่
ก.พ.ว. มอบอานาจ เป็นเรื่องของคณะ ดาเนินการ
เกณฑ์ 2564 ไม่ได้ออกเป็นประกาศ เป็นแค่แนวปฏิบัติจะได้ไหม
สามารถ ประเมินล่วงหน้าได้ (พร้อมแล้วค่อยส่งขอตาแหน่งทางวิชาการ)
ผู้ขอประเมิน มีส่วนร่วม ในการเสนอผู้ทรงคุณวุฒิเอง
ใช้ผู้ทรงคุณวุฒิ ใน มทร.สุวรรณภูมิ 1 คน และนอกมหาวิทยาลัย 1 คน
ให้คณบดีทุกคณะเป็นคนเสนอแต่งตั้งกรรมการประเมินตารา และหนังสือ
และ ก.พ.ว. จะคอยควบคุมดูแลอีกชั้น (เป็นไปตามเกณฑ์ ก.พ.อ. กาหนด)
แบบฟอร์ม การประเมินไม่ยุ่งยากซ้าซ้อนมาก (ขอเสนอแบบฟอร์มง่าย ๆ)
ให้ทุกคณะปฏิบัติในทิศทางเดียวกัน และเก็บเป็นหลักฐานให้ ก.พ.ว.
การประเมินหนังสือ/ตาราในรูปแบบใหม่
คุณสมบัติผู้ทรง ใช้หลักการเดียวกับการประเมินการสอน
ผศ. ตรวจ ผศ. รศ. ตรวจ รศ. ศ. ตรวจ ศ. (หรือมีประสบการสอน 7 ปี)
การประเมินมีเกณฑ์ มาตรฐานระดับหนึ่ง ที่ไม่เป็นการกั้นขวาง
เอกสารประกอบการสอน (ผศ.) สามารถ พัฒนา เป็นเอกสารคาสอน (รศ.)
และเอกสารคาสอนสามารถ พัฒนา เป็นตาราได้
Your Publication May Change the World
Jame Watson Francis Crick
DNA Structure Charles Darwin Gregor Mendel
Evolution Genetics
มารี คูรี (Marie Curie)
นักฟิสิกส์และนักเคมีผู้บุกเบิกงานวิจัยด้านกัมมันตภาพรังสีและเป็นผู้ค้นพบ
ธาตุเรเดียมที่ใช้รักษาโรคมะเร็ง ผู้หญิงเพียงคนเดียวที่ได้รางวัลโนเบล 2 ครั้ง
และคนเดียวที่ได้รางวัลโนเบลด้านวิทยาศาสตร์ 2 สาขา การค้นพบและการทุ่มเท
ทางานที่ช่วยชีวิตผู้คนได้จานวนมาก กลับต้องแลกด้วยชีวิตของเธอเอง เสียชีวิต
ด้วยโรคไขกระดูกฝ่ ออันเป็นผลพวงจากการได้รับกัมมันตภาพรังสีขณะทางาน
มาตลอดชีวิต
บาร์บารา แม็กคินท็อก (Barbara McClintock) หนึ่งในนักวิทยาศาสตร์
ที่มีชื่อเสียงที่สุดของศตวรรษที่ 20 เสนอทฤษฎียีนกระโดด (Jumping gene)
ในช่วงแรกไม่มีใครยอมรับ ทาให้เธอหยุดเผยแพร่ผลงาน และหยุดบรรยาย แต่
ยังคงทาวิจัยต่อไป จนถึงช่วงปลายทศวรรษที่ 1970 นักวิทยาศาสตร์ก็เริ่ม
ตรวจสอบและค้นพบข้อเท็จจริง ในที่สุดก็ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยา
หรือการแพทย์ในปี พ.ศ. 2526
ทาไมการตีพิมพ์จึงเป็นสิ่งที่มีความสาคัญ
• ทาให้งานของเราไม่หายไปจากโลกใบนี้
• ทาให้ผู้อื่นเข้าใจแนวคิดของเรา และ
มีแนวคิดใหม่ที่จะต่อยอดองค์ความรู้
”Publication is important”
Sir. Isaac Newton
(1643-1727)
ทาไม การตีพิมพ์งานวิจัย จึงเป็นสิ่งที่มีความสาคัญ
⚫ การวิจัยเปรียบเหมือน การต่อยอดฐานความรู้ ที่มีการสั่งสมกันมา
จากนักวิจัยที่ตีพิมพ์งานวิจัยก่อนหน้าเรา และเราก็ได้ความรู้มา
จากการเข้าถึงสิ่งตีพิมพ์เหล่านั้น ผลงานวิจัยใหม่จากการวิจัยของ
เราเองก็ควรได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ เพื่อเป็นการสั่งสมความรู้ให้
เพิ่มขึ้นไปอีก และเพื่อให้คนอื่นนาไปใช้ประโยชน์ได้ ผลงานวิจัย
ที่ไม่มีการตีพิมพ์ ก็จะหลุดออกไปจากองค์ความรู้โดยรวม และจะ
เปรียบเสมือนไม่มีผลงานวิจัยชิ้นนั้นเกิดขึ้นเลย
(ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์)
ทาไมการตีพิมพ์จึงเป็นสิ่งที่มีความสาคัญ
ฐานข้อมูลนานาชาติที่เป็นที่ยอมรับ ฐานไหนถูกยอมรับ?
จากฐานข้อมูล Institute for Scientific Information (ISI)
สานักพิมพ์ Thomson หรือค่า SJR จากฐานข้อมูล Scopus
สานักพิมพ์ Elsevier สานักพิมพ์เอกชนแสวงหากาไรทางธุรกิจ
ฐานไหนดีกว่ากัน?
อีก 5 ฐานข้อมูลนานาชาติ (ใช้ในการขอตาแหน่งวิชาการ)
บทความวิชาการ (20%)
บทความวิจัยในการประชุมวิชาการระดับประเทศ (30%)
บทความวิจัยในการวารสารระดับประเทศ (40-50%)
บทความวิจัยในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (40-50%)
บทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ (Scopus 80%)
บทความวิจัยในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ (ISI 100%)
❖
❖
❖
❖
❖
❖
การประเมินคุณค่าทางวิชาการ (ความคิดเห็นส่วนตัว)
ไม่แน่นอนเสมอไป
โดยเฉพาะงานวิจัยพื้นฐาน
สาคัญที่ ตีพิมพ์ในวารสารที่วงการยอมรับ
ประสบการณ์งานตีพิมพ์ผลงานวิจัย
วารสารที่อยู่ใน Scopus Q4 (พึ่งเข้าฐาน และเป็ น open
access) ตีพิมพ์ง่ายและรวดเร็วกว่า TCI 1 (ประมาณไม่เกิน
หกเดือน)
❖
คิดเหมือน ๆ กัน แย่งกันตีพิมพ์ TCI 1 (รอตีพิมพ์สองปี)
⚫ เขียนในส่วนของบทคัดย่อ บทนา วิธีการศึกษา และ
ผลการศึกษา ในรูปของ Past tense
⚫ ในส่วนของอภิปรายผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ ให้เขียน
ในรูป Present tense
หลัก Grammar ที่ใช้ในการเขียนบทความวิจัย
การตีพิมพ์บทความวิจัยซ้อน (Duplicate publication)
เป็ นการเขียนบทความเดียวกันตีพิมพ์เผยแพร่ในเวลาเดียวกันในวารสาร
ต่างกันตั้งแต่ 2 ฉบับขึ้นไป หรือการส่งบทความเดียวกันตีพิมพ์ในวารสาร
ต่างกัน ภายหลังจากการตีพิมพ์บทความนั้นไปแล้ว
ถ้าผลงานต่าง ๆ นาเสนอโดยซ้าซ้อนกัน (เกินร้อยละ 10 ของเนื้อหา
โดยเฉพาะผลการวิจัย และวิจารณ์ผลการวิจัย) เราจะถือว่าเป็ น การตีพิมพ์
บทความวิจัยซ้อน
(ศาสตราจารย์ นายแพทย์สัญญา สุขพณิชนันท์)
การส่งต้นฉบับบทความวิจัยซ้อน (Duplicate Submission)
ผู้วิจัยบางคนส่งบทความวิจัยเดียวกันไปยังกองบรรณาธิการของ
วารสารมากกว่าหนึ่งแห่ง โดยหวังว่าเป็นการเพิ่มโอกาสในการได้รับการ
ตีพิมพ์มากขึ้น ทาให้เกิดปัญหาทางจริยธรรมในการนาเสนอผลงาน
เป็นสิ่งที่ไม่ควรทา โดยมากแล้ววารสารส่วนใหญ่มักแจ้งให้ ผู้นิพนธ์ส่ง
ต้นฉบับในการพิจารณาสาหรับการลงตีพิมพ์เพียงฉบับเดียวเท่านั้น
(ศาสตราจารย์ นายแพทย์สัญญา สุขพณิชนันท์)
ที่สุดไม่ใช่การได้รับตีพิมพ์
แต่คือ การถูก Citation
84
ทาอย่างไร เมื่อบทความวิจัยถูกปฏิเสธการตีพิมพ์
แก้ไขตาม Comments และส่งที่อื่น
เลือกที่มี Impact factor ที่ต่ากว่า
ทาอย่างไร ให้บทความวิจัยเป็นที่สนใจของหัวหน้ากองบรรณาธิการ
ให้อ้างอิงงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารนั้น
เนื่องจากมีผลต่อการ Citation วารสารนั้น
แต่โดยความจริง ห้ามประกาศเชิญชวน
มุมมองของ นักวิทยาศาสตร์ กับการที่เราไม่ทางานวิจัย
ทุนวิจัย
เครื่องมือ
เวลา
คน
ถ้าไม่มีทุนจะทาวิจัยได้ไหม ?
ต้องมีทุนวิจัยถึงจะทาวิจัย (สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม, สกสว.)
ปีที่ 1 เขียนเค้าโครงวิจัย (proposal)
ปีที่ 2 ได้รับจัดสรรงบประมาณ
ปีที่ 3 ปิดงานเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์
เขียน Manuscript ส่งวารสารตีพิมพ์
ปีที่ 4 วารสารแก้ไข ตอบรับการตีพิมพ์ และได้รับ
การตีพิมพ์จนได้ Reprint (Doi)
งานวิจัยนานาชาติ ที่เปลี่ยนความคิด
ผลงาน: งานวิจัยตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ 1 เรื่อง
งบประมาณ 5,000 บาท
วันที่ 1 เก็บตัวอย่างเลือดไก่ป่ า
ส่งตรวจค่าโลหิตวิทยา
วันที่ 4 รับผลเลือด ถ่ายภาพเม็ดเลือดขาว
วันที่ 5 เขียน Manuscript
วันที่ 10 ส่งประเมินตีพิมพ์
เดือนที่ 4 แก้ไขต้นฉบับ และตอบรับตีพิมพ์
เดือนที่ 8 ได้รับการตีพิมพ์ (Reprint)
SCOPUS (Q3) Impact Factor 0.23
มี ฐานองค์ความรู้ เพียงพอไหมที่จะทาวิจัย?
หลักการประเมินตารา/หนังสือในฐานะผู้ทรงตรวจ ผศ. รศ. และ ศ.
ใช้เวลาเบื้องต้นประมาณ 10 นาที
- ดูความสอดคล้องกับงานวิจัย
- ดูบรรณานุกรมมีชื่อผู้เขียนไหม
- ดูสารบัญองค์ความรู้ครบถ้วนไหม
ตรวจเนื้อหาประมาณ 2-3 ชั่วโมง
- ดูการเรียบเรียงเนื้อหา
- ดูสานวนการเขียน
- ดูการอ้างอิง
- อื่น ๆ (การเคาะ เว้นวรรค การตัดคา)
❖
❖
พัฒนาการ งานวิจัย ตารา/หนังสือ (ควบคู่กันไป)
ศาสตราจารย์
รองศาสตราจารย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
Principle พื้นฐาน, เบื้องต้น
Introductory
Fundamental
Advance
ขั้นสูง
Integrated
บูรณาการองค์ความรู้
เสาหลัก คือ งานวิจัย
การเผยแพร่ตารา และหนังสือ
นี่คือปัญหากฎหมายต้องมีหลักฐาน
การประเมิน แต่ไม่บอกว่าทาอย่างไร?
ประเมินแล้วไม่แก้ได้ไหม?
เค้าโครงของตารา/หนังสือที่ดี
- ครึ่งแรกเป็นเรื่องของทฤษฎี
- ครึ่งหลังเป็นเรื่องของการนาทฤษฎีไปใช้
- เพิ่มส่วนของการประยุกต์ใช้ (รศ. ศ. ศ.11)
❖
บทสรุป ในการเรียบเรียงตารา/หนังสือ
มนุษย์กับสังคม (Humans and society)
มนุษย์กับสังคม (Humans and society)
ตัวอย่าง บทสุดท้าย (การพัฒนาหลักสูตร)
- เรื่องน่าสนใจ สาหรับการพัฒนาหลักสูตรในประเทศไทย
- การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาหลักสูตร
- แนวโน้มในอนาคต ของการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน
ในประเทศไทย
- กรณีศึกษา : การพัฒนาหลักสูตรโดยใช้สะเต็มศึกษา
- การพัฒนาหลักสูตรในยุคชีวิตวิถีใหม่ (new normal)
- การพัฒนาหลักสูตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
- กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร
- หลักพุทธศาสนากับการพัฒนาหลักสูตรในประเทศไทย
ตัวอย่าง ส่วนสุดท้าย (การบริหารธุรกิจขั้นสูง)
- เรื่องน่าสนใจ ของการบริหารธุรกิจในยุคไทยแลนด์ 4.0
- การประยุกต์ใช้ ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในการ
บริหารธุรกิจ
- แนวโน้มในอนาคต ของการพัฒนาการบริหารธุรกิจใน
ประเทศไทย
- กรณีศึกษา : การพัฒนาธุรกิจขนาดย่อม SME
- การบริหารธุรกิจอย่างยั่งยืนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
- การบริหารธุรกิจในยุคชีวิตวิถีใหม่ (หลังโควิด)
- กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารธุรกิจ
ตัวอย่าง บทสุดท้าย (การพัฒนายานยนต์ไฟฟ้า)
- เรื่องน่าสนใจ สาหรับการพัฒนายานยนต์ไฟฟ้า
- การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนา
ยานยนต์ไฟฟ้า
- มองไปในอนาคต กับการพัฒนายานยนต์ไฟฟ้า
- กรณีศึกษา : การพัฒนาแบตเตอรี่ยานยนต์ไฟ้ฟ้า
- การพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าในยุคชีวิตวิถีใหม่ (new normal)
- การพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าตามแนวทางเศรษฐกิจโลก
- กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนายานยนต์ไฟฟ้า
- เทคนิคการสร้างยานยนต์ไฟฟ้า (ปฏิบัติการ)
การเขียนบทกรณีศึกษา (งานวิจัยของเราเป็นหลัก) 5 ขั้นตอน
- ปัญหาและที่มาของการทาวิจัย (การตรวจสอบเอกสาร)
- กระบวนการที่นามาใช้แก้ไขปัญหา (วิธีการศึกษา)
- ผลการศึกษาในระดับห้องปฏิบัติการ (ประชากรสุ่ม)
- ผลการศึกษาในพื้นที่จริงที่เหมาะสม
- ผลกระทบของการทาวิจัยในแง่เศรษฐกิจ และสังคม
เศรษฐกิจ (ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้)
สังคม (กินดีอยู่ดี สุขภาพดี มั่นคง ยั่งยืน มั่งคั่ง)
แนวทางการเรียบเรียงตารา/หนังสือ (มือใหม่หัดขับ)
1. หาตาราหรือหนังสือต้นฉบับมาเป็นแม่พิมพ์
2. ปรับสานวนจากตาราหรือหนังสือต้นฉบับตลอดทั้งเนื้อหา
3. หาเนื้อหาที่ใกล้เคียงมาสอดแทรกเข้าไปในต้นฉบับ
4. ยกตัวอย่างงานวิจัยร่วมสมัยใส่เข้าไปในเนื้อหา
5. สอดแทรกภาพ ตาราง แผนภูมิ แผนผัง ไดอะแกรมในเนื้อหา
6. ใส่อ้างอิงไว้ในท้ายบท
6 ขั้นตอน มือใหม่หัดขับ
ข้อควรคานึง ในการเรียบเรียงตารา/หนังสือ
ข้อแนะนา ในระดับรองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์อย่า
เขียนตารา/หนังสือปฏิบัติ เนื่องจากสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ
ค่อนข้างยาก (คู่มือ/ปฏิบัติการ)
คู่มือ (ปฏิบัติการ) ด้านบริหารธุรกิจ
ข้อแนะนา ในระดับรองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ให้
เขียนหนังสือ/ตาราเฉพาะทางที่สร้าง องค์ความรู้ใหม่
ข้อควรคานึง ในการเรียบเรียงตารา/หนังสือ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์
ข้อควรคานึง ในการเรียบเรียงตารา/หนังสือ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์
เอกสารอ้างอิง (Reference) และบรรณานุกรม (Bibliography)
มีความแตกต่างกันอย่างไร?
การคัดลอกผลงานทางวิชาการ
Plagiarism
ภาพจากวิทยานิพนธ์ในประเทศไทยเล่มหนึ่ง?
มีการคัดลอกเหมือนต้นฉบับ และไม่มีการอ้างอิงใช่ไหม?
ประเภทของการคัดลอกผลงานทางวิชาการ
- การคัดลอกคาต่อคา (Verbatim) การนาข้อความจากต้นฉบับมาใช้โดยไม่มี
การเปลี่ยนแปลงใด ๆ
- การเปลี่ยนคา (Word switch) นาข้อความต้นฉบับมาใช้โดยเปลี่ยนแปลง
บางคา
- การถอดความ (Paraphrase) การเขียนข้อความใหม่ที่ยังคงเนื้อหาหรือ
ความหมายเดิมของต้นฉบับ โดยปรับเปลี่ยนสานวนภาษา คา และ
รูปประโยคให้เป็นภาษาของตนเอง ความยาวและน้าหนักของเนื้อหาจะ
เท่า ๆ กับของเดิม โดยไม่มีการอ้างอิง
- การสรุปสาระสาคัญ (Summary) สรุปเนื้อหามาแต่เฉพาะใจความสาคัญ
ทาให้ข้อความนั้นสั้นกว่าของเดิม เช่น จากหนึ่งย่อหน้าเหลือสองบรรทัด
หรือจากหนึ่งหน้าเหลือแค่ย่อหน้าเดียว
ประเภทของการคัดลอกผลงานทางวิชาการ (ต่อ)
- การแปลจากภาษาอื่น (Translation) การแปลข้อความหรือเนื้อหาต้นฉบับ
จากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง
- การคัดลอกแนวคิด (Ideas plagiarism) การนาแนวคิดความรู้หรือทฤษฎี
ต่าง ๆ มาอธิบาย ดัดแปลง หรือวิเคราะห์วิจารณ์
- การอ้างอิงและใส่ข้อมูลเท็จ (Citation distortion) ลอกข้อความหรือ
เนื้อหา โดยมีการอ้างอิงแหล่งที่มา แต่ตั้งใจใส่แหล่งที่มาที่เป็นเท็จ
หรือขาดการตรวจสอบแหล่งที่มาที่ถูกต้อง
- การคัดลอกงานตนเอง (Self plagiarism) การนางานเก่าของตนเองมา
ทั้งหมดหรือส่วนใหญ่ หรือส่วนที่เป็นสาระสาคัญ โดยไม่มีการพัฒนา
หรือปรับปรุงแต่เพียงเล็กน้อย เพื่อแสดงว่าเป็นการสร้างสรรค์งานขึ้นใหม่
การคัดคัดลอกผลงาน (ผิดที่ผิดทาง)
การคัดคัดลอกผลงาน (ผิดที่ผิดทาง)
การเรียบเรียงใหม่ (การปรับสานวน: Paraphrase)
เมื่อไข่และตัวอสุจิเกิดการปฏิสนธิ (fertilization) ได้เป็ น
ไซโกต (zygote) เซลล์เดียว จากนั้นจะแบ่งไซโกตเพื่อเพิ่ม
จานวนเซลล์ กลุ่มเซลล์เหล่านี้จะมีการเปลี่ยนสภาพ
(differentiation)
การเกิดการปฏิสนธิ (fertilization) จากไข่และตัวอสุจิ จะได้
เป็นเซลล์เดียวที่เรียกว่าไซโกต (zygote) จากนั้นไซโกตจะมี
การเพิ่มจานวนเป็ นกลุ่มเซลล์ที่มีการเปลี่ยนสภาพ
(differentiation)
เจ้าของต้นฉบับมาอ่านยังจาของตัวเองไม่ได้
การเรียบเรียงตารา/หนังสือ
⚫ 1. เขียนด้วยภาษาของตน (Writing dawn in your own words)
การปรับสานวนเขียนด้วยภาษาของตนจะเป็นการแสดงภูมิรู้ ความเป็น
เอกลักษณ์ทางภาษาของตน ตามด้วยการอ้างอิง เพื่อป้องกันการคัดลอกผลงาน
ทางวิชาการ
⚫ 2. อะไรที่รู้แล้วที่จะเขียนในตารา/หนังสือ (What do you already know about the
matter of the book?)
เป็นการเขียนจากประสบการณ์และความรู้ที่ตัวเองมีอยู่ (การเรียน การทาวิจัย และ
การเรียนรู้เพิ่มเติมหลังจากจบการศึกษา)
⚫ 3. อะไรที่ต้องเรียนรู้เพิ่มขึ้น เพื่อทาให้ตารา/หนังสือมีองค์ความรู้ที่ความสมบูรณ์
(What do you need to know to help you complete the book?)
เมื่อลงมือเขียนแล้วจะเริ่มรู้ว่าเรื่องใดที่เราต้องค้นคว้าเพิ่มเติม เพื่อให้ตารา/หนังสือ
มีองค์ความรู้ที่สมบูรณ์ ซึ่งเนื้อหาที่หามาเพิ่มเป็นทั้งจากตาราอื่น ๆ จากงานวิจัย
ทั้งในและต่างประเทศ
บทสรุปของการเรียบเรียงตารา/หนังสือ
วารสารวิชาการปลอม (เก๊)
วารสารวิชาการปลอม (เก๊) และการตรวจสอบเบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Scopus.com
การค้นหาวารสารที่ปรากฏในฐานข้อมูล Scopus
การใช้โปรแกรม Google Scholar
การใช้โปรแกรม Books.google.com
ประสบการณ์งานตีพิมพ์
แปลเอกสารได้ทันทีใน Word ด้วย translator
❖
ปรับสานวนด้วย Quillbot
ขอบคุณครับ

More Related Content

Similar to Lectures14-6-65.pdf

สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการสิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการTeaching & Learning Support and Development Center
 
เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงานเทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงานtipprapapon10
 
เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงานเทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงานBu-nga
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อJeeraJaree Srithai
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
Thai(ตัวอย่าง)
Thai(ตัวอย่าง)Thai(ตัวอย่าง)
Thai(ตัวอย่าง)guest49ef9e
 
หมู่บ้านเฮี้ย --การจัดการแบบชุมชนพึ่งพาตนเองบ้านไม้เรียง
หมู่บ้านเฮี้ย --การจัดการแบบชุมชนพึ่งพาตนเองบ้านไม้เรียงหมู่บ้านเฮี้ย --การจัดการแบบชุมชนพึ่งพาตนเองบ้านไม้เรียง
หมู่บ้านเฮี้ย --การจัดการแบบชุมชนพึ่งพาตนเองบ้านไม้เรียงfreelance
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
วิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไรวิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไรrujirapyo1
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Phaspra Pramokchon
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงานพัน พัน
 
แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education
แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education
แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education DrDanai Thienphut
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนPrachyanun Nilsook
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...สุรพล ศรีบุญทรง
 

Similar to Lectures14-6-65.pdf (20)

สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการสิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
 
เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงานเทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
 
เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงานเทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
Thai(ตัวอย่าง)
Thai(ตัวอย่าง)Thai(ตัวอย่าง)
Thai(ตัวอย่าง)
 
Thai 11june05
Thai 11june05Thai 11june05
Thai 11june05
 
หมู่บ้านเฮี้ย --การจัดการแบบชุมชนพึ่งพาตนเองบ้านไม้เรียง
หมู่บ้านเฮี้ย --การจัดการแบบชุมชนพึ่งพาตนเองบ้านไม้เรียงหมู่บ้านเฮี้ย --การจัดการแบบชุมชนพึ่งพาตนเองบ้านไม้เรียง
หมู่บ้านเฮี้ย --การจัดการแบบชุมชนพึ่งพาตนเองบ้านไม้เรียง
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
วิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไรวิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไร
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรายงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรายงานความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรายงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรายงาน
 
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education
แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education
แนวทางการทำวิจัยและดุษฎีนิพนธ์ ในขอบเขตวิชา Straetgic Leadership in Education
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
 

Lectures14-6-65.pdf