SlideShare a Scribd company logo
สารละลาย คือ ของผสมระหว่างสาร 2 ชนิด หรือ มากกว่า ที่มีความ
เป็นเนื้อเดียวกัน ปริมาณของส่วนประกอบไม่คงที่ เปลี่ยนแปลงได้ในขอบเขต
จากัด ส่วนประกอบที่มีปริมาณมาก หรือมีสถานะเดียวกันกับสารละลาย
เรียกว่า ตัวทาละลาย (Solvent) ส่วนประกอบที่มีปริมาณน้อยเรียกว่า ตัวถูก
ละลาย (Solute) สารละลายอาจมีตัวถูกละลาย มากกว่าหนึ่งชนิด ซึ่งอาจมี
สถานะเดียวกันหรือเท่ากันกับสารละลายก็ได้
ชนิดของสารละลาย (Types of solution) สารละลายแบ่งตามสถานะ
ของสารได้เป็น 3 ชนิด คือ สารละลายแก๊ส (Gaseous solution) สารละลาย
ของเหลว (Liguid solution) และสารละลายของแข็ง (Solid solution)
สารละลาย ตัวถูกละลาย ตัวทาละลาย ตัวอย่าง
แก๊ส
แก๊ส
ของเหลว
ของแข็ง
แก๊ส
แก๊ส
แก๊ส
อากาศ แก๊สหุงต้ม แก๊สผสมต่าง ๆ
น้าในอากาศ กลิ่นน้าหอมในอากาศ
ไอโอดีนในอากาศ จุลินทรีย์ในอากาศ
ของเหลว
แก๊ส
ของเหลว
ของแข็ง
ของเหลว
ของเหลว
ของเหลว
คาร์บอนไดออกไซด์ในน้า ออกซิเจนในน้า
เหล้า แอลกอฮอล์เช็ดแผล
น้าเกลือ น้าเชื่อม สารละลายจุนสี
ของแข็ง
แก๊ส
ของเหลว
ของแข็ง
ของแข็ง
ของแข็ง
ของแข็ง
ไฮโดรเจนในแพลเลเดียม
ปรอทในเงิน ปรอทในโลหะต่าง ๆ
นาก (Au+Cu) ตะกั่วบัดกรี (Sn+Pb) โลหะเจือ
สารละลายของแก๊สในแก๊ส
เมื่อนาแก๊สสองชนิดหรือมากกว่าสองชนิดมาผสมกัน มันจะกลมกลืน
เป็นเนื้อเดียวกันได้ทุกส่วนถ้าหากแก๊สเหล่านั้นไม่ทาปฏิกิริยาเคมีต่อกัน แก๊ส
ผสมที่ได้จัดเป็นสารละลายแก๊สทั้งสิ้น แก๊สที่เป็นส่วนประกอบของสารละลาย
แก๊ส หรือแก๊สผสมต่าง ก็เป็นอิสระจากกัน
การแยกแก๊สที่เป็นส่วนประกอบออกจากสารละลายแก๊ส ทาได้
ดังนี้
1. การแพร่ อาศัยกฎของเกรแฮมด้วยการแพร่ของแก๊ส เราสามารถแยกแก๊สที่
มีมวลต่างกันออกจากกันได้ เนื่องจากอัตราของการแพร่ของแก๊สแตกต่างกัน
วิธีนี้นาไปใช้ในการแยกไอโซโทปของยูเรเนียม
2. การทาให้เป็นของเหลว แก๊สแต่ละชนิดเมื่อเป็นของเหลวแล้วจะมีจุดเดือด
ไม่เท่ากันเมื่อเรานาเอาแก๊สผสมกันจนกลายเป็นของเหลว แล้วนามากลั่นแยก
ลาดับส่วน จะได้แก๊สที่แยกออกมาคือ ออกซิเจนและไนโตรเจนจากอากาศ
เหลว เป็นต้น
3. การระเหย การแยกแก๊สผสมโดยวิธีนี้อาศัยหลักที่ว่า แก๊สแต่ละชนิดมี
ปริมาณการละลายได้ในของเหลวชนิดเดียวกันไม่เท่ากัน เช่น ออกซิเจนกับ
ไนโตรเจนละลายในน้าได้มากน้อยไม่เท่ากัน แก๊สผสมที่ละลายจึงมีส่วนผสม
ผิดไปจากแก๊สผสมก่อนการละลาย
4. วิธีทางเคมี วิธีนี้ใช้ปฏิกิริยาทางเคมีแยกแก๊สอย่างหนึ่งอย่างใดออกไปจาก
แก๊สผสม
สารละลายของเหลวและของแข็งในแก๊ส
ตัวอย่างสารละลายของเหลวในแก๊ส ได้แก่ ไอน้าในอากาศ ส่วน
สารละลายของแข็งในแก๊ส ได้แก่ ไอโอดีนในอากาศ อย่างไรก็ตามสารละลาย
ประเภทนี้ค่อนข้างคลุมเครือ เพราะทั้งน้าและไอโอดีน ต่างก็ระเหยและระเหิด
ก่อน แล้วไอจึงรวมเข้ากับโมเลกุลอากาศเป็นสารละลาย
สารละลายของแก๊สและของเหลว
ในของแข็ง
ของแข็งบางชนิดสามารถดูดซับแก๊สไว้ในตัวเองได้ เช่น โลหะ
แพลเลเดียม กับไฮโดรเจน ถ่านสามารถดูดแก๊สไว้หลายชนิด วิธีการที่แก๊ส
รวมกับของแข็งบางครั้งไม่ค่อยตรงกับความหมายของสารละลายนัก ส่วน
ใหญ่มักเป็นเรื่องของการดูดซับไว้ที่ผิว อย่างไรก็ตามที่รวมกันเป็นสารละลาย
แท้ก็มี
สารละลายของแข็งในของแข็ง
สารละลายของของแข็งในของแข็งส่วนมากได้แก่ โลหะเจือ อาจเกิดขึ้น
โดยอะตอมของตัวละลายเข้าไปแทนที่อะตอม สารละลายของแข็งแบบนี้จะ
เสถียรดียิ่งขึ้นถ้าหากทั้งตัวทาละลายและตัวละลายมีแลตทิซผลึกแบบเดียวกัน
โลหะเจือที่เป็นสารละลายของแข็ง มีทั้งสารละลายของแข็งแบบแทนที่
กับชนิดสารละลายของแข็งแบบแทรก ซึ่งเกิดจากตัวละลายที่มีอะตอมขนาด
เล็กเข้าไปแทรกในช่องว่างระหว่างอะตอมขนาดใหญ่ของตัวละลาย เช่น
คาร์บอนละลายในเหล็ก ให้สารละลายของแข็งแบบแทรกชนิดหนึ่ง
สารละลายของแก๊สในของเหลว
แก๊สละลายได้ในของเหลว เช่น น้า สัตว์น้ามีชีวิตอยู่ได้ด้วยออกซิเจนที่
ละลายอยู่ในน้า น้าอัดลมเป็นเครื่องดื่มที่มีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ละลายอยู่
ปริมาณการละลายแก๊สมีค่ามากน้อยต่างกันตามชนิดของแก๊ส
แก๊สที่มีการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เมื่อละลายน้าสามารถละลายได้มาก
ปริมาณการละลายของแก๊สในของเหลว นอกจากขึ้นอยู่กับชนิดของแก๊สแล้ว
ยังขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ และความดันอีกด้วย แก๊สละลายได้น้อยลง เมื่ออุณหภูมิ
สูงขึ้น แต่ละลายได้มากขึ้นถ้าเพิ่มความดัน
สารละลายของเหลวในของเหลว
ถ้าผสมของเหลวสองชนิด ไม่ว่าจะใช้องค์ประกอบเท่าไร แล้วได้
สารละลายเอกพันธ์เราเรียกว่าของเหลวทั้งสองปนกันอย่างสมบูรณ์ เช่น
เอทิลแอลกอฮอล์ กับน้า ของเหลวบางอย่างแยกกันอย่างเด็ดขาด ไม่รวมกัน
เลยเรียกว่าปนกันไม่ได้ เช่น ปรอทกับน้า การปนกันได้หรือไม่ได้ ระหว่าง
ของเหลวคู่หนึ่งคู่ใด มีเหตุเนื่องมาจากโครงสร้างโมเลกุล ถ้าโครงสร้างโมเลกุล
คล้ายกันและชนิดแรงดึงดูดโมเลกุลคล้ายกัน ของเหลวทั้งสองปนกันได้ดี
ของเหลวที่มีโมเลกุลเป็นโมเลกุลมีขั้วจะละลายได้ดีในของเหลวที่มีโมเลกุล
เป็นโมเลกุลมีขั้วเหมือนกัน
สารละลายของแข็งในของเหลว
สารละลายประเภทนี้เป็นประเภทที่เราคุ้นเคยมากที่สุด และนับว่า
สาคัญมากที่สุดในกรณีนี้ตัวทาละลายเป็นของเหลว ซึ่งสารละลายส่วนมากมี
น้าเป็นตัวทาละลาย สารที่มีน้าเป็นตัวทาละลายเรียกว่า สารละลายน้า น้าเป็น
ตัวทาละลายที่ดี เพราะเป็นสารมีขั้วสามารถละลายไอออนิก และสารมีขั้วได้
ทั้งสิ้น ของแข็งไม่มีขั้วจะไม่ละลายในน้า แต่ละลายในของเหลวที่เป็นสารไม่มี
ขั้วประเภทเดียวกัน เช่น แนพทาลีนหรือที่เรียกลูกเหม็นกันแมลงสาบ ไม่
ละลายในน้าแต่ละลายในน้ามันก๊าส
จาแนกสารละลายตามความจุของตัวทาละลาย ได้ดังน
1. สารละลายอิ่มตัว (saturated solution) คือ สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่
เต็มความจุของตัวทาละลายแต่ละชนิด ณ อุณหภูมิที่กาหนด
2. สารละลายไม่อิ่มตัว (unsaturated solution) คือ สารละลายที่มีตัวถูก
ละลายอยู่น้อยกว่าความจุของตัวทาละลาย ณ อุณหภูมิที่กาหนด
3. สารละลายอิ่มตัวยิ่งยวด (supersaturated solution) คือ สารละลายที่มีตัว
ถูกละลายอยู่มากกว่าความจุของตัวทาละลายแต่ละชนิด ณ อุณหภูมิที่กาหนด
สารละลายอิ่มตัวยิ่งยวดเป็นสารละลายที่ไม่เสถียร เมื่อตั้งทิ้งไว้ ตัวถูกละลายที่
เป็นส่วนเกินของความจุของตัวทาละลายจะค่อย ๆ แยกตัวตกผลึกออกมา
กลไกของการละลาย
กระบวนการที่โมเลกุลหรืออนุภาคของตัวถูก ละลายกระจายอยู่ทั่ว
ปริมาตรของตัวทาละลายและแทรกตัวอยู่ระหว่างโมเลกุลของตัวทาละลาย
โดยเข้าแทนที่ โมเลกุลของตัวทาละลายบางส่วน อนุภาคของตัวถูกละลายจะ
เข้าแทนที่โมเลกุลของตัวทาละลายได้ง่ายเพียงใด ขึ้นอยู่กับแรงดึงดูด 3 ชนิด
คือ แรงดึงดูดระหว่างตัวทา ละลายกับตัวถูกละลาย แรงดึงดูดระหว่างตัวทา
ละลายกับตัว ถูกละลาย และแรงดึงดูดระหว่างตัวถูกละลายกับตัวถูกละลาย
การที่จะให้สารอย่างหนึ่งอย่างใดละลายลงไปในตัวทาละลายได้นั้นจะต้องทา
ลายแรงดึงดูดระหว่างอนุภาคที่เป็นส่วนประกอบของสารนั้นเสียก่อน
การคานวณหาความ
เข้มข้นของสารละลาย
1. ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
2. การคานวณหาความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยความเข้มข้นต่าง ๆ
3. การคานวณหาความเข้มข้นของสารละลายจากสารละลายที่มีความเข้มข้น
ต่าง ๆ
ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
การบอกความเข้มข้นเป็นร้อยละ นิยมใช้ทั่วไปมี 3 แบบ คือ
1. ร้อยละโดยมวล บางครั้งอาจเรียกร้อยละโดยน้าหนัก (Percent by weight)
หรือ % น้าหนัก/น้าหนัก หรือ %w/w
2. ร้อยละโดยปริมาตร (Percent by volume) หรือ % ปริมาตร / ปริมาตร
หรือ %v/v
3. ร้อยละน้าหนักโดยปริมาตร (Percent weight by volume) หรือ %น้าหนัก/
ปริมาตร หรือ %w / v
ร้อยละโดยมวล
ร้อยละโดยมวลของตัวถูกละลาย =
มวลของตัวถูกละลาย
มวลของสารละลาย
× 100
ร้อยละโดยปริมาตร
ร้อยละโดยปริมาตรของตัวถูกละลาย =
ปริมาตรของตัวถูกละลายลาย
ปริมาตรของสารละลาย
× 100
ร้อยละน้าหนักโดยปริมาตร
ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร =
มวลของตัวถูกละลาย
ปริมาตรของสารละลาย
× 100
การคานวณความเข้มข้นของสารละลายใน
หน่วยความเข้มข้นต่าง ๆ
1.โมลาริตี หรือโมลาร์ (Molarity หรือ molar : M)
2.นอร์แมลิตี (Normality หรือ normal : N)
3. โมแลลิตี (Molality หรือ molal : m)
4. เศษส่วนโมล (Mole fraction)
5. โมลเปอร์เซ็นต์
โมลาร์หรือโมลาริตี =
จานวนโมลของตัวถูกละลาย
ปริมาตรของสารละลาย 1 ลิตรง
โมแลลิตี =
จานวนโมลของตัวถูกละลาย
มวลของตัวทาละลายเป็นกิโลกรัม
เศษส่วนโมล
=
จานวนโมลของตัวถูกละลาย
จานวนโมลของตัวถูกละลาย + จำ นวนโมลของตัวทา ละลาย
การคานวณความเข้มข้นของสารละลาย
จากสารละลายที่มีความเข้มข้นต่าง ๆ
1.การเตรียมจากสารละลายเดิมให้เจือจางลงหรือเข้มข้นขึ้น
สูตรที่ใช้ M₁ V₁ = M₂ V₂
2. การเตรียมสารละลาย โดยการผสมสารละลายเดิมที่มีความเข้มข้นต่าง ๆ
กันเข้าด้วยกัน การเตรียมสารละลายนี้ เมื่อเตรียมต้องเติมน้าด้วย และจานวน
โมลของตัวถูกละลายก่อนผสม เท่ากับจานวนโมลของตัวถูกละลายหลังผสม
สูตรที่ใช้ M V = M₁ V₁ + M₂V₂+ …
สารแขวนลอย (suspension)
เป็นสารผสมซึ่งขนาดอนุภาคของสารที่ผสมอยู่นั้นมีขนาดใหญ่ เมื่อตั้ง
สารผสมนี้ไว้ อนุภาคเหล่านั้นจะตกตะกอนนอนที่ก้นภาชนะในที่สุด อนุภาค
เหล่านี้มีขนาดใหญ่กว่าโมเลกุลและไอออนมาก หลายพันหลายหมื่นเท่า เรา
สามารถแยกอนุภาคเหล่านี้ออกจากของเหลวได้ด้วยการกรองด้วยกระดาษ
กรองธรรมดา ตัวอย่างของสารแขวนลอยที่พบบ่อยคือ น้าโคลน
คอลลอยด์ ( colloid )
เป็นสารผสมที่อนุภาคมีขนาดใหญ่กว่าขนาดอนุภาคของตัวถูกละลาย
ในสารละลายแต่เล็กกว่าขนาดอนุภาคของสารแขวนลอย ขนาดอนุภาค
คอลลอยด์ประมาณ 10-7 ถึง 10-4 ซม. (ขนาดอนุภาคของตัวถูกละลายใน
สารละลายเล็กกว่า 10-7 ซม.) ไม่สามารถแยกอนุภาคคอลลอยด์ด้วยกระดาษ
กรองธรรมดาได้ แม้จะตั้งทิ้งไว้นานเท่าใดก็ไม่ตกนอนก้นภาชนะ คอลลอยด์มี
สมบัติกระเจิงแสงได้ เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า ปรากฏการณ์ทินดอลล์ (tyndall
effect)

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
พัน พัน
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
6 solution
6 solution6 solution
6 solution
seluluse
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
Wuttipong Tubkrathok
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
Thitaree Samphao
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wichai Likitponrak
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
sukanya petin
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
Preeyapat Lengrabam
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
Chanthawan Suwanhitathorn
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 

What's hot (20)

ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
6 solution
6 solution6 solution
6 solution
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 

Viewers also liked

กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือ
nn ning
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
nn ning
 
พันธะเคมี
 พันธะเคมี พันธะเคมี
พันธะเคมี
nn ning
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
nn ning
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1Parichat1989
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
nn ning
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2dnavaroj
 
SlideShare 101
SlideShare 101SlideShare 101
SlideShare 101
Amit Ranjan
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
SlideShare
 

Viewers also liked (14)

กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือ
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
พันธะเคมี
 พันธะเคมี พันธะเคมี
พันธะเคมี
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
 
SlideShare 101
SlideShare 101SlideShare 101
SlideShare 101
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to สารละลาย

Solu partition2555
Solu partition2555Solu partition2555
Solu partition2555adriamycin
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)
Saisard
 
6 solution (1)
6 solution (1)6 solution (1)
6 solution (1)
jutatipeiei
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
Saipanya school
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียวDnavaroj Dnaka
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
Saipanya school
 

Similar to สารละลาย (7)

Solu partition2555
Solu partition2555Solu partition2555
Solu partition2555
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)
 
6 solution (1)
6 solution (1)6 solution (1)
6 solution (1)
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
 

สารละลาย