SlideShare a Scribd company logo
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
                          เสนอ

                     อาจารย์ อินทิรา..


                        จัดทาโดย

1. น.ส. ชัชฎา         ทรรภลักษณ์         รหัสนิสิต 5210602214

2. นาย นฤศรณ์         วิมลประสาร         รหัสนิสิต 5210602273

3. น.ส. ปานรวี        สุริเทศ            รหัสนิสิต 5210602281

4. น.ส. มินตรา        วรรณปะโค           รหัสนิสิต 5210602346

5. น.ส. อารยา         ปันจะมาวัด         รหัสนิสิต 5210602478

   สาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์

                 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สารบัญ
เรื่อง                                              หน้า
1. เคส (Case)                                        1

2 Mainboard (แผงวงจรหลัก)                            2

3 แหล่งจ่ายพลังงาน Power Supply                     3

4.ซีพียู (CPU)                                      4

5 หน่วยความจาRAM/ROM                                6

6.แหล่งเก็บข้อมูล Hard Disk                         12

7การ์ดแสดงผล (Display Card)                         16

8 การ์ดเสียง Sound Card                             17

9. เครื่องอ่านCDและDVD CD-ROM Drive DVD-Rom Drive   18

10ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy Disk)                       20

11จอแสดงผล (Monitor)                                21

12.คีย์บอร์ด (KeyBoard)                             23

13.เมาส์ (Mouse)                                    24

14.เครื่องพิมพ์Printer                              25
เคส (Case)
เคส (Case) คืออะไร

       Case หรือ "เคส" คือ ตัวถังหรือตัวกล่องคอมพิวเตอร์ หลายคนจะเรียกว่าซีพียูเนื่องจาก
เข้าใจผิด สาหรับเคสนั้นใช้สาหรับบรรจุอุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์หลักของคอมพิวเตอร์เอาไว้ข้าง
ใน เช่น CPU เมนบอร์ด การ์ดจอฮาร์ดดิสก์ พัดลมระบายความร้อน และที่ขาดไม่ได้ก็คือ Power
Supply ซึ่งจะมีติดอยู่ในเคสเรียบร้อย เคสคอมพิวเตอร์ควรเลือกที่รูปทรงสูงๆ เพื่อจะได้ติดตั้ง
อุปกรณ์ได้ง่าย และควรเลือกเคสที่มีช่องสาหรับติดตังฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ เผื่อเอาไว้หลายๆ
                                                 ้
ช่อง ในกรณีที่ต้องการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมในภายหลังจะได้ง่ายขึ้น

รูปแบบของ Case
              1.Case แนวนอน                                          2.Case แนวตั้ง
แผงวงจรหลัก (Mainboard)

        เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สาคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทาหน้าที่ควบคุม ดูแลและ
จัดการๆ ทางานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึง
หน่วยความจาแคช หน่วยความจาหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วน
ต่างๆ มากมายแต่ส่วนสาคัญๆ ประกอบด้วย
-ซ็อคเก็ตสาหรับซีพียู
-ชิปเซ็ต (Chip set)
-ซ็อคเก็ตสาหรับหน่วยความจา
-ระบบบัสและสล็อต
-Bios
-สัญญาณนาฬิกาของระบบ
-ถ่านหรือแบตเตอรี่
-ขั้วต่อสายแหล่งจ่ายไฟ
-ขั้วต่อสวิทช์และไฟหน้าเครื่อง
-จัมเปอร์สาหรับกาหนดการทางานของเมนบอร์ด
-ขั้วต่อ IDE และ Serial ATA
-ขั้วต่อ Floppy disk drive
-พอร์ตอนุกรมและพอร์ตขนาน
-พอร์ตคีย์บอร์ดและเมาส์
-พอร์ต USB
        ในการเลือกซื้อเมนบอร์ดนั้นจะเป็นตัวกาหนดอุปกรณ์อื่นๆด้วย เพราะต้องเลือกให้
รองรับกับตัวเมนบอร์ดเช่น เมนบอร์ดรองรับ RAM แบบ DDR II เราก็ต้องเลือกซื้อ RAM แบบ
DDR II และยังต้องดูด้วยว่าบัสเดียวกันหรือไม่ ถ้าเลือกซื้อมาได้ตรงกันก็จะไม่สามารถใช้งานได้
ดังนั้นก็จะเลือกซื้อควรคานึงถึงปัจจัยนี้ด้วย
                         แหล่งจ่ายพลังงาน Power Supply
        แหล่งจ่ายไฟหรือที่มักจะเรียกทับศัพท์กันว่า "เพาเวอร์ซัพ พลาย"เป็นส่วนประกอบที่
สาคัญส่วนหนึ่งที่มักถูกมองข้ามไป เนื่องจากว่า มาตรฐานการคานวณปริมาณการใช้ไฟฟ้าของ
เครื่องพีซีค่อนข้างจะแน่นอนและมีความเชื่อถือได้คือถ้านามาประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
แล้วสามารถทางานได้อย่างดีไม่มีปัญหาก็มักจะไม่สนใจในด้านนี้และถูกละเลยไป
        ประเภทและขนาดประเภทในที่นี้หมายถึงแรงดันไฟฟ้าที่เพาเวอร์ซัพพลายนั้นจ่าย
ออกมาและขั้วต่อสาหรับเสียบเข้ากับเมนบอร์ด ซึ่งจะต้องเลือกให้ตรงกับเมนบอร์ดที่ใช้ด้วย ก็
คือจะต้องเลือกว่าเป็นแบบ AT หรือ ATX แบบ AT คือแบบที่มีมาแต่ดั้งเดิมนานแล้ว ส่วนแบบ
ATX จะเป็ นรุ่นใหม่กว่าที่กาลังเข้ามาแทนที่แบบ AT จบเกือบหมดแล้วเหมือนกันและมี
มาตรฐานแรงดันและสัญญาณต่าง ๆ แตกต่างกันด้วย ดังที่จะอธิบายรายละเอียดต่อไปส่วนใน
กรณีของขนาดในที่นี้ไม่ได้หมายถึง ขนาดใหญ่หรือเล็ก (แม้ว่าจะแปรผันกันก็ตาม ) แต่หมายถึง
กาลังไฟฟ้าสูงสุดที่สามารถจ่ายได้ ซึ่งโดยปกติแล้วจะหมายถึงกาลังไฟฟ้ารวม
        ทั้งหมดทุกแรงดันไฟฟ้าที่เพาเวอร์ซัพพลายนั้นสามารถจ่ายออกมา ตัวเลขนี้ถ้าไปเดินหา
ซื้อตามร้านเองก็จะมีอยู่ 3 ขนาดถือขนาดเล็ก 200 วัตต์, กลางซึ่งมีมากที่สุด 250 วัตต์ และใหญ่
300วัตต์ แต่ถ้าในเครื่องที่มีจาหน่ ายอยู่แล้ว อาจใช้เพาเวอร์ซัพพลายที่เล็กมากๆ ก็ได้ ได้แก่ 100
วัตต์ , 130 วัตต์ , 150 วัตต์เท่านั้น ซึ่งมักจะดูได้จากสเป็คของเครื่องนั้น ๆ โดยเพาเวอร์ซัพพลาย
เหล่านี้อาจจะเป็นรุ่นที่ใช้มาตรฐาน NLX , SFZ , WTX ซึ่งเป็นมาตรฐานย่อยของ ATX อีกที
หนึ่ง ส่วนเพาเวอร์ ซัพพลายสาหรับ Pentium 4 นั้นอาจจะต้องใช้ขนาดสูงสุดถึง 350 หรือ 400
วัตต์ก็เป็นได้
ซีพียู (CPU)
       ซีพียู (CPU) คือ อุปกรณ์ตัวหนึ่งที่มีความสาคัญและจาเป็นในการทางานของ
คอมพิวเตอร์ซึ่งอาจจะ เรียกว่าเป็นหัวใจของคอมพิวเตอร์เลยก็ได้ ซีพียู เป็นตัวควบคุมการ
ทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงที่ต่อ
ร่วมกับคอมพิวเตอร์ โดย จะเป็นตัวกาหนดความสาคัญของอุปกรณ์ว่าตัวใดมีความสาคัญ
มากกว่าซึ่งหากติด ตั้งอุปกรณ์ 2 ตัวที่อินเทอรัพ , การแจ้งกับซีพียูว่าจะขอเฉพาะอุป กรณ์ที่มี
ความสาคัญมากกว่าเท่านั้น ส่วนตัวที่สาคัญน้อยกว่าจะไม่สามารถใช้งานได้ เช่น ถ้าเราต่อการ์ด
จอภาพกับการ์ดเสียงที่อินเทอรัพเดียวกัน ซีพียู จะเลือกให้ใช้ได้เฉพาะการ์ดจอภาพเท่านั้น

        CPU หรือ Central Processing Unit เป็นหัวใจหลักในการ ประมวลของคอมพิวเตอร์
โดยพื้นฐานแล้วซีพียูทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลเชิงคณิตศาสตร์และข้อมูลเชิง ตรรกะเท่านั้น แต่
ทาไมการคานวณขนาดนี้             ต้องมีการพัฒนาซีพียูกันไม่หยุดหย่อน ย้อนกลับไปปี           1946
คอมพิวเตอร์ยุคแรกที่มีชื่อที่พอจะจาได้ก็คือ ENIVAC นั้นทางานโดยใช้หลอดไดโอด ซึ่ง
สถานะการทางานของหลอดพวกนี้ มีสองอย่าง คือ 1 กับ 0 จะมีค่าเป็น 1 เมื่อมีกระแสไหลผ่าน
และเป็น 0 เมื่อไม่มีกระแสไหลผ่าน นั่นจึงเป็นเหตุผลให้คอมพิวเตอร์ใช้เลขฐาน 2 ในการ
คานวณ ครั้นต่อมาวิทยาการก้าวหน้าขึ้นเรื่อยๆ จากหลอดไดโอดก็พัฒนาเป็นทรานซิสเตอร์ และ
จากทรานซิสเตอร์ก็ พัฒนาเป็นวงจรขนาดเล็ก ซึ่งรู้จักกันในชื่อของ IC และในที่สุดก็พัฒนาเป็น
Chip อย่างที่เรารู้จักกันมาจนปัจจุบันนี้ สิ่งที่ผู้ผลิตซีพียูพยายามเพิ่มก็คือ ประสิทธิภาพในการ
ประมวลผลของซีพียู เมื่อกล่าวถึงซีพียูและการประมวลผล สิ่งหนึ่งที่เราต้องเข้าใจคือภายในซีพียู
ไม่มีหน่วยเก็บข้อมูลสาหรับเก็บ ข้อมูลปริมาณมากๆ และซีพียูในยุคแรกๆ ก็ไม่มี Cache ด้วยซ้า
ไป ปัจจัยที่มีผลต่อความเร็วของซีพียูก็คือ ความเร็วในการประมวลผลและความเร็วในการ
โอนย้ายข้อมูล ซีพียูในยุคแรกๆ นั้นประมวลผลด้วยความเร็ว 4.77 MHz และมีบัสซีพียู (CPU
BUS) ความกว้าง 8 บิต เรียกกันว่าซีพียู 8 บิต (Intel 8080 8088) นั้นก็คือซีพียูเคลื่อนย้ายข้อมูล
ครั้งละ 1 ไบต์ ยุคต่อมาเป็นซีพียู 16 บิต 32 บิต และ 64 บิต ปัจจุบันโดยเฉพาะซีพียูรุ่นใหม่ๆ
เคลื่อนย้ายข้อมูลครั้งละ 128 บิต ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลนั้น เกิดขึ้นจากการค วบคุมสัญญาณ
นาฬิกา ซึ่งนับสัญญาณเป็น Clock 1 เช่น ซีพียู 100 MHz หมายความว่าเกิดสัญญาณนาฬิกา 100
ครั้งต่อวินาที
ในปัจจุบันผู้จัดจาหน่ายCPUจะมีอยู่ 2 บริษัทยักษ์ใหญ่คือ Intel และ AMD ซึ่งมีการ
แข่งขันกันอย่างมาก การเลือกซื้อก็ขึ้นอยู่กับการใช้งาน และค่านิยมของแต่ละคน
หน่วยความจาRAM/ROM
      เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการจดจาข้อมูล และโปรแกรมต่าง ๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผล
ของคอมพิวเตอร์ บางครั้งอาจเรียกว่า หน่วยเก็บข้อมูลหลัก (Primary storage) สามารถแบ่ง
ออกได้เป็น 2 ประเภท คือ

1. หน่วยความจาหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว (Read Only Memory - ROM)

    เป็นหน่วยความจาแบบสารกึ่งตัวนาชั่วคราวชนิดอ่านได้อย่างเดียว ใช้เป็นสื่อบันทึกใน
คอมพิวเตอร์ เพราะไม่สามารถบันทึกซ้าได้ (อย่างง่ายๆ) เป็นความจาที่ซอฟต์แวร์หรือข้อมูลอยู่
แล้ว และพร้อมที่จะนามาต่อกับไมโครโพรเซสเซอร์ได้โดยตรง หน่วยความจาประเภทนี้แม้ไม่มี
ไฟเลี้ยงต่ออยู่ ข้อมูลก็จะไม่หายไปจากหน่วยความจา (nonvolatile)

     โดยทั่วไปจะใช้เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีการแก้ไขอีก แล้วเช่น เก็บโปรแกรมไบออส (Basic
Input output System : BIOS) หรือเฟิร์มแวร์ ที่ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ใช้เก็บ
โปรแกรมการทางานสาหรับเครื่องคิดเลข ใช้เก็บโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ที่ทางานเฉพาะด้าน
เช่น ในรถยนต์ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมวงจร ควบคุมในเครื่องซักผ้า เป็นต้น




        รอม คือหน่วยความจาชนิดหนึ่ง ที่มีโปรแกรม หรือข้อมูลอยู่แล้ว และพร้อมที่จะนามา
ต่อกับไมโครโปรเซสเซอร์ได้โดยตรง ซึ่งโปรแกรม หรือข้อมูลนั้นจะไม่สูญหายไป แม้ว่าจะไม่
มีการจ่ายไฟเลี้ยงให้แก่ระบบ ข้อมูลที่เก็บอยู่ใน ROM จะสามารถอ่านออกมาได้ แต่ไม่สามารถ
เขียนข้อมูลเข้าไปได้ เว้นแต่จะใช้วิธีการพิเศษซึ่งขึ้นกับชนิดของ ROM
ชนิดของROM

       o   Manual ROM
           ROM (READ-ONLY MEMORY)
                 ข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ใน ROM จะถูกโปรแกรม โดยผู้ผลิต (โปรแกรม มาจาก
           โรงงาน) เราจะใช้ ROM ชนิดนี้ เมื่อข้อมูลนั้น ไม่มีการเปลี่ยนแปลง และมีความ
           ต้องการใช้งาน เป็นจานวนมาก ผู้ใช้ไม่สามารถ เปลี่ยนแปลงข้อมูลภายใน ROM
           ได้
                โดย ROM จะมีการใช้ technology ที่แตกต่างกันตัวอย่างเช่น BIPOLAR,
           CMOS, NMOS, PMOS

       o   PROM (Programmable ROM)
           PROM (PROGRAMMABLE READ-ONLY MEMORY)
               ข้อมูลที่ต้องการโปรแกรมจะถูกโปรแกรมโดยผู้ใช้เอง โดยป้อนพัลส์
           แรงดันสูง (HIGH VOLTAGE PULSED) ทาให้ METAL STRIPS หรือ
           POLYCRYSTALINE SILICON ที่อยู่ในตัว IC ขาดออกจากกัน ทาให้เกิดเป็น
           ลอจิก “1” หรือ “0” ตามตาแหน่ง ที่กาหนดในหน่วยความจานั้นๆ เมื่อ PROM
           ถูกโปรแกรมแล้ว ข้อมูลภายใน จะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้อีก หน่วยความจา
           ชนิดนี้ จะใช้ในงานที่ใช้ความเร็วสูง ซึ่งความเร็วสูงกว่า หน่วยความจา ที่
           โปรแกรมได้ชนิดอื่นๆ

       o   EPROM (Erasable Programmable ROM)
           EPROM (ERASABLE PROGRAMMABLE READ-ONLY MEMORY)
                 ข้อมูลจะถูกโปรแกรม โดยผู้ใช้โดยการให้สัญญาณ ที่มีแรงดันสูง (HIGH
           VOLTAGE SIGNAL) ผ่านเข้าไปในตัว EPROM ซึ่งเป็นวิธีเดียวกับที่ใช้ใน
           PROM แต่ข้อมูลที่อยู่ใน EPROM เปลี่ยนแปลงได้ โดยการลบข้อมูลเดิมที่อยู่ใน
           EPROM ออกก่อน แล้วค่อยโปรแกรมเข้าไปใหม่ การลบข้อมูลนี้ทาได้ด้วย การ
           ฉายแสง อุลตร้าไวโอเลตเข้าไปในตัว IC โดยผ่าน ทางกระจกใส ที่อยู่บนตัว IC
           เมื่อฉายแสง ครู่หนึ่ง (ประมาณ 5-10 นาที) ข้อมูลที่อยู่ภายใน ก็จะถูกลบทิ้ง ซึ่ง
ช่วงเวลา ที่ฉายแสงนี้ สามารถดูได้จากข้อมูล ที่กาหนด (DATA SHEET) มากับ
              ตัว EPROM และ มีความเหมาะสม ที่จะใช้ เมื่องานของระบบ มีโอกาส ที่จะ
              ปรับปรุงแก้ไขข้อมูลใหม่

          o   EAROM (Electrically Alterable ROM)
              EAROM (ELECTRICALLY ALTERABLE READ-ONLY MEMORY)
                     EAROM หรืออีกชื่อหนึ่งว่า EEPROM (ELECTRICAL ERASABLE
              EPROM) เนื่องจากมีการใช้ไฟฟ้าในการลบข้อมูลใน ROM เพื่อเขียนใหม่ ซึ่งใช้
              เวลาสั้นกว่าของ EPROM
                    การลบขึ้นอยู่กับพื้นฐานการใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างกัน ดังนั้น EAROM
              (ELECTRICAL ALTERABLE ROM) จะอยู่บนพื้นฐานของเทคโนโลยีแบบ
              NMOS ข้อมูลจะถูกโปรแกรมโดยผู้ใช้เหมือนใน EPROM แต่สิ่งที่แตกต่างก็คือ
              ข้อมูลของ EAROM สามารถลบได้โดยทางไฟฟ้าไม่ใช่โดยการฉายแสงแบบ
              EPROM

      โดยทั่วไปจะใช้ EPROM เพราะเราสามารถหามาใช้ และทดลองได้ง่าย มีราคาถูก วงจรต่อ
ง่าย ไม่ยุ่งยาก และสามารถเปลี่ยนแปลงโปรแกรมได้ นอกจากระบบ ที่ทาเป็นการค้าจานวนมาก
จึงจะใช้ ROM ประเภทโปรแกรมสาเร็จ

2. หน่วยความจาหลักแบบแก้ไขได้ (Random Access Memory - RAM)

         เป็นหน่วยความจาหลัก ที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบัน หน่วยความจาชนิดนี้
อนุญาตให้เขียนและอ่านข้อมูลได้ในตาแหน่งต่างๆ อย่างอิสระ และรวดเร็วพอสมควร ซึ่งต่าง
จากสือเก็บข้อมูลชนิดอื่นๆ อย่างเทป หรือดิสก์ ที่มีข้อจากัดในการอ่านและเขียนข้อมูล ที่ต้องทา
      ่
ตามลาดับก่อนหลังตามที่จัดเก็บไว้ในสื่อ หรือมีข้อกาจัดแบบรอม ที่อนุญาตให้อ่านเพียงอย่าง
เดียว

          ข้อมูลในแรม อาจเป็นโปรแกรมที่กาลังทางาน หรือข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล ของ
โปรแกรมที่กาลังทางานอยู่ ข้อมูลในแรมจะหายไปทันที เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ถูกปิดลง
เนื่องจากหน่วยความจาชนิดนี้ จะเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น
RAMย่อมาจาก(Random Access Memory)เป็นหน่วยความจาหลักที่จาเป็นหน่วยความจา
ชนิดนี้จะสามารถเก็บข้อมูลได้ เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้นเมื่อใดก็ตามที่ไม่มี
กระแสไฟฟ้า มาเลี้ยง ข้อมูลที่อยู่ภายในหน่วยความจาชนิดจะหายไปทันที หน่วยความจาแรม
ทาหน้าที่เก็บชุดคาสั่งและข้อมูลที่ระบบคอมพิวเตอร์กาลังทางานอยู่ด้วย ไม่ว่าจะเป็นการนาเข้า
ข้อมูล (Input) หรือ การนาออกข้อมูล (Output) โดยที่เนื้อที่ของหน่วยความจาหลักแบบแรมนี้ถูก
แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ

        1. Input Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลนาเข้าที่ได้รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเข้าโดย
ข้อมูลนี้จะถูกนาไปใช้ในการประมวลผลต่อไป
        2. Working Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลที่อยู่ในระหว่างการประมวลผล
        3. Output Storage Area เป็นส่วนที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ตามความ
ต้องการของผู้ใช้ เพื่อรอที่จะถูกส่งไปแสดงออก ยังหน่วยแสดงผลอื่นที่ผู้ใช้ต้องการ
        4. Program Storage Area เป็นส่วนที่ใช้เก็บชุดคาสั่ง หรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการจะส่ง
เข้ามา เพื่อใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามคาสั่ง ชุดดังกล่าว หน่วยควบคุมจะทาหน้าที่ดึงคาสั่งจาก
ส่วน นี้ไปที่ละคาสั่งเพื่อทาการแปลความหมาย ว่าคาสั่งนั้นสั่งให้ทาอะไร จากนั้นหน่วยควบคุม
จะไปควบคุมฮาร์ดแวร์ที่ต้องการทางานดังกล่าวให้ทางานตามคาสั่งนั้นๆ
ชนิดและความแตกต่างของ RAM

       DRAM                   เมโมรี่แบบธรรมดาที่สุด ซึ่งความเร็วขึ้นอยู่กับค่า
                     Access Time หรือเวลาที่ใช้ในการเอาข้อมูลในตาแหน่งที่
                     เราต้องการออกมาให้ มีค่าอยู่ในระดับนาโนวินาที (ns) ยิ่ง
                     น้อยยิ่งดี เช่น ชนิด 60 นาโนวินาที เร็วกว่าชนิด 70 นาโน
                     วินาที เป็นต้น รูปร่างของ DRAM เป็น SIMM 8 บิต
                     (Single-in-line Memory Modules) มี 30 ขา DRAM ย่อมา
                     จาก Dynamic Random Access Memory
  Fast Page DRAM              ปกติแล้วข้อมูลใน DRAM จึงถูกเก็บเป็นชุด ๆ แต่
                     ละชุดเรียกว่า Page ถ้าเป็น Fast Page DRAM จะเข้าถึง
                     ข้อมูลได้เร็วกว่าปกติสองเท่าถ้าข้อมูลที่เข้าถึงครั้งที่แล้ว
                     เป็นข้อมูลที่อยู่ใน Page เดียวกัน Fast Page DRAM เป็นเม
                     โมรี่ SIMM 32 บิตมี 72 ขา (Pentium มีดาต้าบัสกว้าง 64
                     บิตดังนั้นจึงต้องใส่ SIMM ทีละสองแถวเสมอ)
     EDO RAM                  EDO Ram นาข้อมูลขึ้นมาเก็บไว้ใน Buffer ด้วย
                     เพื่อว่า ถ้าการขอข้อมูลครั้งต่อไป เป็นข้อมูลในไบต์ถัดไป
                     จะให้เราได้ทันที EDO RAM จึงเร็วกว่า Fast Page
                     DRAM ประมาณ 10 % ทั้งที่มี Access Time เท่ากัน
                     เพราะโอกาสที่เราจะเอาข้อมูลติด ๆกัน มีค่อนข้างสูง
                     EDO มีทั้งแบบ SIMM 32 บิตมี 72 ขา และ DIMM 64 บิต
                     มี 144 ขา คาว่า EDO ย่อมาจาก Extended Data Out
SDRAM                เป็นเมโมรี่แบบใหม่ที่เร็วกว่า EDO ประมาณ 25 %
                 เพราะสามารถเรียกข้อมูลที่ต้องการขึ้นมาได้ทันที โดยที่
                 ไม่ต้องรอให้เวลาผ่านไปเท่ากับ Access Time ก่อน หรือ
                 เรียกได้ว่า ไม่มี Wait State นั่นเอง ความเร็วของ SDRAM
                 จึงไม่ดูที่ Access Time อีกต่อไป แต่ดูจากสัญญาณนาฬิกา
                 ที่ โปรเซสเซอร์ติดต่อกับ Ram เช่น 66, 100 หรือ 133
                 MHz เป็นต้น SDRAM เป็นแบบ DIMM 64 บิต มี 168 ขา
                 เวลาซึ้อต้องดูด้วยว่า MHz ตรงกับเครื่องที่เราใช้หรือไม่
                 SDRAM ย่อมาจาก Sychronous DRAM เพราะทางาน
                 "sync" กับสัญญาณนาฬิกาบนเมนบอร์ด
SDRAM II (DDR)          DDR (Double Data Rate) SDRAM มีขา 184 ขา มี
                 อัตราการส่งข้อมูลเป็น 2 เท่าของความเร็ว FSB ของตัว
                 RAM คือ มี 2 ทิศทางในการรับส่งข้อมูล และมีความเร็ว
                 มากกว่า SDRAM เช่น ความเร็ว 133 MHz คูณ 2 Pipline
                 เท่ากับ 266 MHz
   RDRAM                RDRAM หรือที่นิยมเรียกว่า RAMBUS มีขา 184
                 ขา ทามาเพื่อให้ใช้กับ Pentium4 โดยเฉพาะ (เคยใช้กับ
                 PentiumIII และ Chipset i820 ของ Intel แต่ไม่ประสบ
                 ผลสาเร็จเนื่องจากมีปัญหาเรื่ องระบบไฟจึงยกเลิกไป ) มี
                 อัตราการส่งข้อมูลเป็น 4 เท่าของความเร็ว FSB ของตัว
                 RAM คือ มี 4 ทิศทางในการรับส่ง ทาให้ความเร็วในการ
                 ทางานสูงกว่า SDRAM เป็นสิบเท่า
แหล่งเก็บข้อมูล Hard Disk




       Hard Disk คือ อุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลได้มาก สามารถเก็บได้อย่างถาวรโดยไม่จาเป็นต้อง
มีไฟฟ้ามาหล่อเลี้ยงตลอดเวลา เมื่อปิดเครื่องข้อมูลก็จะไม่สูญหาย ดังนั้น Hard Disk จึงถูก
จัดเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บระบบปฏิบัติการ โปรแกรม และข้อมูลต่าง ๆ เนื่องจาก Hard
Disk เป็นอุปกรณ์ที่ง่ายต่อการอัพเกรดทาให้เทคโนโลยี Hard Disk ในปัจจุบันได้พัฒนาอย่าง
รวดเร็ว ฉะนั้นการเลือกซื้อ Hard Disk จึงควรคานึงซึ่งประสิทธิภาพที่จะได้รับจาก Hard Disk

ส่วนประกอบของ Hard Disk

         1. แขนของหัวอ่าน ( Actuator Arm ) ทางานร่วมกับ Stepping Motor ใน การหมุนแขน
ของหัวอ่านไปยังตาแหน่งที่เหมาะสม สาหรับการอ่านเขียนข้อมูล โดยมีคอนโทรลเลอร์ ทา
หน้าที่แปลคาสั่งที่มาจากคอมพิวเตอร์ จากนั้นก็เลื่อนหัวอ่านไปยังตาแหน่งที่ต้องการ เพื่ออ่าน
หรือเขียนข้อมูล และใช้หัวอ่านในการอ่านข้อมูล ต่อมา Stepping Motor ได้ถูกแทนด้วย Voice
Coil ที่สามารถทางานได้เร็ว และแม่นยากว่า Stepping Motor

      2 . หัวอ่าน ( Head ) เป็น ส่วนที่ใช้ในการอ่านเขียนข้อมูล ภายในหัวอ่านมีลักษณะเป็น
ขดลวด โดยในการอ่านเขียนข้อมูลคอนโทรลเลอร์ จะนาคาสั่งที่ได้รับมาแปลงเป็น
แรงดันไฟฟ้าแล้วป้อนเข้าสู่ขดลวดทาให้เกิด การเหนี่ยวนาทางแม่เหล็ก ไปเปลี่ยนโครงสร้าง
ของสารแม่เหล็ก ที่ฉาบบนแผ่นดิสก์ จึงทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลขึ้น
3. แผ่นจานแม่เหล็ก ( Platters ) มีลักษณะเป็นจานเหล็กกลมๆ ที่เคลือบสารแม่เหล็กวาง
ซ้อนกันหลายๆชั้น (ขึ้นอยู่กับความจุ) และสารแม่เหล็กทีว่าจะถูกเหนี่ยวนาให้มีสภาวะเป็น 0
                                                      ่
และ1 เพื่อจัดเก็บข้อมูล โดยจานแม่เหล็กนี้จะติดกับมอเตอร์ ที่ทาหน้าที่หมุน แผ่นจานเหล็กนี้
ปกติ Hard Disk แต่ละตัวจะมีแผ่นดิสก์ประมาณ 1-4 แผ่นแต่ละแผ่นก็จะเก็บข้อมูลได้ทั้ง 2 ด้าน

        4. มอเตอร์หมุนจานแม่เหล็ก ( Spindle Moter ) เป็นมอเตอร์ที่ใช้หมุนของแผ่นแม่เหล็ก
ซึ่งมีความสาคัญอย่างมากต่อความเร็วใน การหมุน ของ Hard Disk เพราะยิ่งมอเตอร์หมุนเร็ว
หัวอ่านก็จะเจอข้อมูลที่ต้องการเร็วขึ้น ซึ่งความเร็วที่ว่านี้จะวัดกันเป็นรอบต่อนาที ( Rovolution
Per Minute หรือย่อว่า RPM ) ถ้าเป็น Hard Disk รุ่นเก่าจะหมุนด้วยความเร็วเพียง 3,600รอบต่อ
นาที ต่อมาพัฒนาเป็น 7,200รอบต่อนาที และปัจจุบันหมุนได้เร็วถึง 10,000รอบต่อนาที การ
พัฒนาให้ Hard Disk หมุนเร็วจะได้ประสิทธิภาพสูงขึ้น

       5. เคส ( Case ) มี ลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยม ใช้บรรจุกลไกต่างๆ ภายในแผ่นดิสก์เพื่อ
ป้องกันความเสียหาย ที่เกิดจากการหยิบ จับ และป้องกันฝุ่นละออง

ชนิดของ Hard Disk แบ่งตามการเชื่อมต่อ (Interface)

1. แบบ IDE (Integrate Drive Electronics)

        Hard Disk แบบ IDE เป็นอินเทอร์เฟซรุ่นเก่า ที่มีการเชื่อมต่อโดยใช้สายแพขนาด 40 เส้น
โดยสายแพ 1 เส้นสามารถที่จะต่อ Hard Disk ได้ 2 ตัว บนเมนบอร์ดนั้นจะมีขั้วต่อ IDE อยู่ 2 ขั้ว
ด้วยกัน ทาให้สามารถพ่วงต่อ Hard Disk ได้สูงสุด 4 ตัว ความเร็วสูงสุดในการถ่ายโอนข้อมูลอยู่
ที่ 8.3 เมกะไบต์/ วินาที สาหรับขนาดความจุก็ยังน้อยอีกด้วย เพียงแค่ 504 MB




                          รูปแสดง Slot IDE บนแผงวงจร Mainboard
2. แบบ E-IDE (Enhanced Integrated Drive Electronics)

        Hard Disk แบบ E-IDE พัฒนามาจากประเภท IDE ด้วยสายแพขนาด 80 เส้น ผ่านคอน
เน็คเตอร์ 40 ขาเช่นเดียวกันกับ IDE ซึ่งช่วยเพิ่มศักยภาพ ในการทางานให้มากขึ้น โดย Hard
Disk ที่ทางานแบบ E-IDE นั้นจะมีขนาดความจุที่สูงกว่า 504 MB และความเร็วในการถ่ายโอน
ข้อมูลที่สูงขึ้น โดยสูงถึง 133 เมกะไบต์/ วินาที

3. แบบ SCSI (Small Computer System Interface)

        Hard Disk แบบ SCSI เป็น Hard Disk ทีมีอินเทอร์เฟซที่แตกต่างจาก E-IDE โดย Hard
                                             ่
Disk แบบ SCSI จะมีการ์ดสาหรับควบคุมการทางาน โดยเฉพาะ เรียกว่า การ์ด SCSI สาหรับ
การ์ด SCSI นี้ สามารถที่จะควบคุมการทางานของอุปกรณ์ที่มีการทางานแบบ SCSI ได้ถึง 7 ชิ้น
อุปกรณ์ ผ่านสายแพรแบบ SCSI อัตราความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลของ แบบ SCSI มีความเร็ว
สูงสุด 320 เมกะไบต์/วินาที กาลังรอบในการหมุนของจานดิสก์ปัจจุบันแบ่งเป็น 10,000 และ
15,000 รอบต่อนาที ซึ่งมีความเร็วที่มากกว่าประเภท E-IDE ดังนั้น Hard Disk แบบ SCSI จะ
นามาใช้กับงานด้านเครือข่าย (Server) เท่านั้น




                         รูปแสดง อุปกรณ์ Hard Disk ที่เป็น SCSI

4. แบบ Serial ATA

        เป็นอินเทอร์เฟซที่กาลังได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน เมื่อการเชื่อมต่อในลักษณะ
Parallel ATA หรือ E-IDE เจอทางตันในเรื่องของความเร็วที่มีความเร็วเพียง 133 เมกะไบต์/
วินาทีส่วนเทคโนโลยีเชื่อมต่อรูปแบบแบบใหม่ที่เรียกว่า Serial ATA ให้อัตราความเร็วในการ
ถ่ายโอนข้อมูลขั้นแรกสูงสุดถึง 150 เมกะไบต์/วินาที โดยเทคโนโลยี Serial ATA นี้ถูกคาดหวัง
ว่าจะสามารถ ขยายช่องสัญญาณ (Bandwidth) ในการส่งผ่านข้อมูลได้เพิ่มขึ้นถึง 2-3 เท่า และยัง
รองรับข้อมูลได้มากยิ่งขึ้น ไม่เฉพาะ Hard Disk เพียงเท่านั้นที่จะมีการเชื่อมต่อในรูปแบบนี้ แต่
ยังรวมไปถึง อุปกรณ์ตัวอื่น ๆ อย่าง CD-RW หรือ DVD อีกด้วย




                           รูปแสดง สายสัญญาณแบบ Serial ATA

       ด้วยการพัฒนาของ Serial ATA ทาให้ลดปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการส่งผ่านข้อมูลระหว่าง
CPU ความเร็วสูงกับตัว Hard Disk ลงได้ ในอนาคต Serial ATA ยังแตกต่างจาก Hard Drive ที่
ใช้อินเทอร์เฟซ Parallel ATA ซึ่งเป็นแบบขนาน เพราะอินเทอร์เฟซ Serial ATA นี้ มีการ
กาหนดให้ Hard Drive ตัวไหนเป็น Master (ตัวหลัก) หรือ Slave (ตัวรอง) ผ่านช่องเชื่อมต่อบน
เมนบอร์ดโดยตรง สามารถลดความยุ่งยากในการติดตั้งลงไป อีกทั้ง Hard Disk ประเภทนี้บาง
ตัวยังรองรับการถอดสับเปลี่ยนโดยทันที (Hot Swap) ทาให้การเชื่อมต่อในลักษณะนี้กาลังได้รับ
ความนิยมอย่างมาก
การ์ดแสดงผล (Display Card)
        เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแปลงสัญญาณภาพ เพื่อแสดงผลภาพออกทางจอภาพ ซึ่งปัจจุบัน
จะ สนับสนุนการทางานทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ และจะเน้นหนักไปที่การเล่น เกมเป็นหลัก
บริษัทผู้ผลิตการ์ดแสดงผล ที่รู้จักกันดีได้แก่ Matrox, Ati, Nvidia, 3DLab และปัจจุบันการ์ด
แสดงผลจะมีบทบาทมาก เนื่องจากว่ามีการนางานการคานวณที่เกี่ยวกับการแสดงภาพมาคานวณ
ที่การ์ดแสดงผลแทนที่จะต้องคานวณด้วย CPU จึงมีการเรียก Card ที่ทางานในลักษณะนี้
ว่า GPU (Graphic Processing Unit) ในการ์ดแสดงผลบางรุ่นยังมีช่องต่อ TV IN/OUT และ ช่อง
ต่อ Panel Monitor (LCD Monitor) ด้วย บางรุ่นสนับสนุนการใช้ แว่นตา 3 มิติ เพื่ออรรถรสใน
การเล่นเกมส์
การ์ดเสียง Sound Card




       เสียงเป็นส่วนสาคัญของระบบมัลติมีเดียไม่น้อยกว่าภาพ ดังนั้นการ์ดเสียงจึงเป็นอุปกรณ์
จาเป็นที่สาคัญของระบบคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย
         การ์ดเสียงได้รับการพัฒนาคุณภาพอย่างรวดเร็วเพื่อ ให้ได้ประสิทธิภาพของเสียงและ
ความผิดเพี้ยนน้อยที่สุด ตลอดจนระบบเสียง 3 มิติในปัจจุบัน ความชัดเจนของเสียง จะมี
ประสิทธิภาพดีเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก 2 ประการ คือ อัตราการสุ่มตัวอย่าง และความ
แม่นยา ของตัวอย่างที่ได้ ซึ่งความแม่นยาของตัวอย่างนั้นถูกกาหนด โดยความสามารถของ A/D
Converter ว่ามีความละเอียดมากน้อยเพียงใด ทาอย่างไรจึงจะประมาณ ค่าสัญญาณดิจิตอลได้
ใกล้เคียงกับสัญญาณเสียงมากที่สุด ความละเอียดของ A/D Converter นั้นถูก กาหนด โดย
จานวนบิตของสัญญาณดิจิตอลเอาต์พุต เช่น
- A/D Converter 8 bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 256 ระดับ
- A/D Converter 16 bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 65,536 ระดับ
หากจานวนระดับมากขึ้นจะทาให้ความละเอียดยิ่งสูงขึ้นและการผิดเพี้ยนของสัญญาณเสียงยิ่ง
น้อยลง นั่นคือประสิทธิภาพที่ของเสียง ที่ได้รับดีขึ้นนั่นเอง แต่จานวนบิตต่อหนึ่งตัวอย่างจะมาก
ขึ้นด้วย
เครื่องอ่านCDและDVD (CD-ROM Drive & DVD-Rom Drive)
       เป็นไดรฟ์สาหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรอม หรือดีวีดีรอม ซึ่งถ้าหากต้องการบันทึก
ข้อมูลลงบนแผ่นจะต้องใช้ไดรฟ์ที่สามารถเขียนแผ่นได้คือ CD-RW หรือ DVD-RW โดย
ความเร็วของ ซีดีรอมจะเรียกเป็น X เช่น 16X , 32X หรือ 52X โดยจะมี Interface เดียวกับ
Harddisk




การทางานของ CD-ROM
        ภายในซีดีรอมจะแบ่งเป็นแทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่เซ็กเตอร์ในซีดีรอม
จะมีขนาดเท่ากัน ทุกเซ็กเตอร์ ทาให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น เมื่อไดรฟ์ซีดีรอมเริ่มทางาน
มอเตอร์จะเริ่มหมุนด้วยความเร็ว หลายค่า ทั้งนี้เพื่อให้อัตราเร็วในการอ่านข้อมูลจากซี ดีรอมคงที่
สม่าเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเซ็กเตอร์ ที่อยู่รอบนอกกรือวงในก็ตาม จากนั้นแสงเลเซอร์จะ
ฉายลงซีดีรอม โดยลาแสงจะถูกโฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตาแหน่งได้ โดยการทางานของขดลวด
ลาแสงเลเซอร์จะทะลุผ่านไปที่ซีดีรอมแล้วถูกสะท้อนกลับ ที่ผิวหน้าของซีดีรอมจะเ ป็น หลุม
เป็นบ่อ ส่วนที่เป็นหลุมลงไปเรียก "แลนด์" สาหรับบริเวณที่ไม่มีการเจาะลึกลงไปเรียก "พิต" ผิว
สองรูปแบบนี้เราใช้แทนการเก็บข้อมูลในรูปแบบของ 1 และ 0 แสงเมื่อถูกพิตจะกระจายไปไม่
สะท้อนกลับ แต่เมื่อแสงถูกเลนส์จะสะท้อนกลับผ่านแท่งปริซึม จากนั้นหักเหผ่านแท่ง ปริซึมไป
ยังตัวตรวจจับแสงอีกที ทุกๆช่ว งของลาแสงที่กระทบตัวตรวจจับแสงจ ะกาเนิดแรงดันไฟฟ้า
หรือเกิด 1 และ 0 ที่ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ ส่วนการบันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีรอมนั้น
ต้องใช้แสงเลเซอร์เช่นกัน โดยมีลาแสงเลเซอร์จากหัวบันทึกของเครื่อง บันทึกข้อมูลส่องไป
กระทบพื้นผิวหน้าของแผ่น ถ้าส่องไปกระทบบริเวณใดจะทาให้บริเวณนั้นเป็นหลุ มขนาดเล็ก
บริเวณทีไม่ถูกบันทึกจ ะมีลักษณะเป็นพื้นเรียบสลับกันไปเรื่อยๆตลอดทั้งแผ่น
การทางานของ CD-ROM
ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy Disk)
        เป็นอุปกรณ์ที่กาเนิดมาก่อนยุคของพีซีเสียอีก โดยเริ่มจากที่มีขนาด 8 นิ้ว กลายมาเป็น
5.25 นิ้ว จนมาถึงปัจจุบันซึ่งอยู่ที่ 3.5 นิ้ว ในส่วนของความจุเริ่มต้นตั้งแต่ไม่กี่ร้อยกิโลไบต์มา
เป็น 1.44 เมกะไบต์ และ 2.88 เมกะไบต์ ตามลาดับ




                                      Floppy Disk Drive

        ในปัจจุบันการใช้งานฟล็อปปี้ดิสก์นั้นน้อยลงไปมากเพราะ เนื่องจากจุข้อมูลได้น้อยซึ่ง
ไม่เพียงพอกับความต้องการ แต่ฟล็อปปี้ดิสก์ก็ยังคงเป็นมาตรฐานหนึ่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุก
เครื่องต้องมี การพัฒนาฟล็อปปี้ดิสก์ก็ไม่ได้หยุดยั้งไปเสียทีเดียว ยังมีการพัฒนาเทคโนโลยี ใหม่
ที่ใช้ระบบ Optical ทาให้สามารถขยายความจุไปได้ถึง 120 เมกะไบต์ต่อแผ่น
จอแสดงผล (Monitor)
      เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่มีความสาคัญมากที่สุด เพราะจะติดต่อโดยตรงกับผู้ใช้ ชนิดของ
จอภาพที่ใช้ในเครื่องพีซีโดยทั่วไปจะแบ่งได้เป็น 2 ชนิด
      - จอซีอาร์ที (CRT : Cathode Ray Tube) โดยมากจะพบในคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ซึ่ง
ลักษณะ จอภาพชนิดนี้จะคล้ายโทรทัศน์ ซึ่งจะใช้หลอดสุญญากาศ




                                        จอแบบ CRT

         การทางานของจอประเภทนี้จะทางานโดย อาศัยหลอดภาพ ที่สร้างภาพโดยการยิงลาแสง
อิเล็กตรอนไปยังที่ผิวหน้าจอ ที่มีสารพวกสารประกอบข องฟอสฟอรัส ฉาบอยู่ที่ผิว ซึ่งจะเกิด
ภาพขึ้นมาเมื่อสารเหล่านี้เกิดการเรืองแสงขึ้นมา เมื่อมีอิเล็กตรอนมากระทบ ซึ่งในส่วยของจอ
แบบ Shadow Mask นั้น จะมีการนาโลหะที่มีรูเล็กๆ มาใช้ในการกาหนดให้แสงอิเล็กตรอนนั้น
ยิงมาได้ถูกต้อง และแม่นยา ซึ่งระยะห่างระหว่างรูนี้เร าเรียกกันว่า Dot Pitch ซึ่งในรูนี้จะมี
สารประกอบของฟอสฟอรัสวางเรียงกันอยู่เป็น 3 จุด 3 มุม โดยแต่ละจุดจะเป็นสีของแม่สีนั้นก็
คือ สีแดง สีเขียว และสีน้าเงิน ซึ่งแต่ละจุดนี้เราเรียกว่า Triad ในส่วนของจอแบบ Trinitron นั้น
จะมีการทางานที่เหมือนกันแต่ต่างกันที่ ไม่ ได้ใช้โลหะเป็นรูแต่จะใช้ โลหะที่เป็นเส้นเล็กๆ ขึง
พาดไปตาม แนวตั้ง เพื่อที่จะให้อิเล็คตรอนนั้น ตกกระทบกับผิวจอที่มีสารประกอบขอ ง
ฟอสฟอรัสได้มากขึ้น สาหรับจอ Trinitronในปัจจุบันนี่ได้มีการพัฒนาให้มีความแบนราบมาก
ขึ้นซึ่งจอแบบนี้จะเรียกกันว่า FD Trinitron (Flat Display Trinitron) ซึ่งมีมากมายในปัจจุบันและ
จะเข้ามาแทนที่จะแบบเดิมๆ อีกทั้งราคายังถูกลงเป็นอย่างมากด้วย
- จอแอลซีดี (LCD : Liquid Crystal Display) ซึ่งมีลักษณะแบนราบจะมีขนาดเล็กและ
บาง เมื่อเปรียบเทียบกับจอภาพแบบซีแอลที




                                      จอแบบ LCD

        การทางานนั้นจะไม่เหมือนกับจอแบบ CRT แม้สักนิดเดียว ซึ่งการแสดงภาพนั้นจะ
ซับซ้อนกว่ามาก การทางานนั้นอาศัยหลักของการใช้ความร้อนที่ได้จากขดลวด มาทาการเปลี่ยน
และ บังคับให้ผลึกเหลวแสดงสีต่างๆ ออกมาตามที่ต้องการซึ่งการแสดงสีนั้นจะเป็นไปตามที่
กาหนด ไว้ตามมาตรฐานขอ งแต่ละ บริษัท จึงทาให้จอแบบ LCD มีขนาดที่บางกว่าจอ CRT อยู่
มาก อีกทั้งยังกินไฟน้อยกว่า จึงทาให้ผู้ผลิตนาไปใช้งานกับ เครื่องคอมพิวเตอร์แบบเคลื่อนที่
โน้ตบุ๊ค และเดสโน้ต ซึ่งทาให้เครื่องมีขนาดที่บางและเล็กสามารถพกพาไปได้สะดวก ในส่วน
ของการใช้งานกับเครื่องเดสก์ท็อปทั่วไป ก็มีซึ่งจอแบบ LCD นี้จะมีราคาที่แพงกว่าจอทั่วไปอยู่
ประมาณ 2 เท่าของ ราคาในปัจจุบัน


การทางานของจอภาพแบบCRT                            การทางานของจอภาพแบบLCD
คีย์บอร์ด (KeyBoard)
         คียบอร์ด หรือ แป้นพิมพ์ เป็นอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ที่ทุกเครื่องจาเป็นต้องมี เป็นอุปกรณ์
หลักที่ใช้ในการนาข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยปกติมักจะมีลักษณะเป็น สี่เหลี่ยมผืนผ้า
หรือใกล้เคียง มีแป้นต่างๆ ประมาณร้อยแป้นอยู่บนคีย์บอร์ด (ขึ้นอยู่กับ ผังแป้นพิมพ์ ) ซึ่งถอด
แบบมาจาก เครื่องพิมพ์ดีด ออกแบบมาเพื่อใช้สาหรับรับข้อมูลที่เป็น ตัวอักขระ แล้วทาการ
เปลี่ยนเป็นรหัส 7 หรือ 8 บิต จากนั้นจึงส่งให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล หรือใช้ควบคุมฟังก์ชัน
การทางานบางอย่างของคอมพิวเตอร์ และเพื่อใ ห้การป้อนข้อมูลที่เป็นอักขระและตัวเลขทาได้
ง่ายและสะดวกขึ้น คีย์บอร์ดจึงแยกแผงที่เป็นแป้นอักขระกับแป้นตัวเลขแยกไว้ต่างหาก นับเป็น
อุปกรณ์อินพุทแบบแรก ๆ ทีเดียว นับตั้งแต่มีระบบคอมพิวเตอร์ขึ้นมาก็มีการพัฒนาส่วนที่
เรียกว่า คีย์บอร์ดนั้น มีการปรับปรุงแบบ interface หรือหัวต่อหลายแบบ เช่น แบบ PC/AT,
แบบ PS/2 ,แบบ USB จนมาถึงแบบไร้สาย (bluetooth)
เมาส์ (Mouse)
       เมาส์ คือ อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้งานง่ายและ
สะดวกกว่าแป้นพิมพ์มาก เนื่องจากไม่จ้องจดจาคาสั่งสาหรับป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ มี
รูปร่างโค้งๆ งอๆ เหมือนก้อนสบู่ กลไกภายในจะมีลูกกลิ้งกลมสาหรับหมุนใช้กาหนดตาแหน่ง
เพื่อเลือกคาสั่งหรือวาดลายเส้นบนจอภาพ ตาแหน่งจุดตัด X และ Y จากเครื่องมือนี้จะสัมพันธ์
กับจุดตัดXและYบนจอภาพทาให้สามารถกาหนดคาสั่งหรือตาแหน่งลายเส้นตามเงื่อนไขใน
โปรแกรมได้สะดวก มีอยู่ด้วยกัน หลายประเภท
       „ Mouse แบบปกติที่พบเห็นทั่วไปอาจจะมี 2 ปุ่ม หรือ 3 ปุม 2
                                                             ่
       „ Mouse แบบไร้สาย (Wireless) ซึ่งจะใช้ สัญญาณวิทยุโดย Mouse เป็นตัวส่งสัญญาณ
และมีตัวรับสัญญาณ ที่ต่อกับเครื่องคอม
       „ Mouse แสง (Optical Mouse) เป็น Mouse ที่ไม่มีลูกกลิ้งที่ฐาน Mouse โดยใช้การอ่าน
ค่าจากการ สะท้อนของแสงที่สัมผัสกับพื้นผิว
       „ Scroll Mouse เป็น Mouse ที่มี Scroll ไว้เพื่อใช้เลื่อน Scroll Bar ในโปรแกรม
ประยุกต์ต่าง ๆ เช่น Internet Explorer นอกจาก Mouse แล้วยังมีอุปกรณ์อีก ประเภทที่เรียกว่า
Track Ball ซึ่งจะมีลักษณะคล้าย Mouse แต่ จะมี Ball อยู่ด้านบนแทนที่จะอยู่ด้านล่าง และเลื่อน
Pointer โดยการ ใช้ นิ้วมือกลิ้งไปบน Ball
เครื่องพิมพ์ Printer
       เครื่องพิมพ์ (printer) คืออุปกรณ์ที่จะแปลการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ออกมาใน
รูปแบบกระดาษ ทั้งรูปภาพและอักษร เครื่องพิมพ์แบ่งออกเป็น

1) เครื่องดอตเมตริกซ์พรินเตอร์ (Dotmatirx Printer)
2) เครื่องอิงค์เจ็ตพรินเตอร์ (Inkjet Printer)
3) เครื่องเลเซอร์พรินเตอร์ (Laser Printer)
4) เครื่องพล็อตเตอร์ (Plotter)

Dotmatix Printer
          เหมาะสาหรับห้างร้าน ผู้ประกอบธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง หรือผู้ใช้ที่ต้องการ
เครื่องพรินเตอร์ที่สามารถ ทาสาเนาได้ เครื่องชนิดนี้จะพิมพ์โดยใช้หัวเข็มกระทบลงไปที่
กระดาษ ต้องซื้อผ้าหมึกและทาให้ผู้ใช้ประหยัดเงินได้มาก เนื่องจากผ้าหมึกมีอายุการใช้งานสูง
กว่าใช้น้าหมึกหลายเท่า เหมาะกับการพิมพ์ใบเสร็จต่างๆ และงานพิมพ์ทั่วไป ในด้านการใช้งาน
ตัวเครื่องมีความยืดหยุ่นสูง สามารถใช้ได้กับกระดาษหลายประเภท ค่าความละเอียดในการพิมพ์
อยู่ที่ 360*360 จุดต่อตารางนิ้วทั้งหมด จานวนหัวเข็มมีตั้งแต่ 24 , 32 หัวเข็ม หัวเข็มมากความ
ละเอียดก็จะเพิ่มขึ้น ความเร็วในการพิมพ์ตัวอักษรมีตั้งแต่ 192 ต่อCPS, 240, 264, 300, 360,
375, 390, 400, 432, 450 จนถึง 504 ต่อCPS (CPS คือ ความเร็วในการพิมพ์ตัวอักษรต่อนิ้ว)
          จานวนสาเนาที่สามารถพิมพ์ได้ เช่น 1 ต้นฉบับ 3 สาเนา , 1 ต้นฉบับ 4 สาเนา ไป
จนถึง 1 ต้นฉบับ 7 สาเนา ใช้กระดาษต่อเนื่อง ความกว้างของกระดาษก็เป็นส่วนหนึ่งที่ต้อง
คานึงถึง เพราะถ้าความกว้างไม่พอก็ทาให้ไม่สามารถพิมพ์งานได้
Inkjet Printer
       เหมาะสมกับผู้ใช้ทั่วไปทุกระดับ ตั้งแต่นักเรียน นักศึกษา ไปจนถึงสานักงานใหญ่ ๆ และ
กาลังได้รับความนิยมมากที่สุด มีราคาตั้งแต่หลักพัน-หลักหมื่น เครื่องชนิดนี้จะพิมพ์งานโดยใช้
ตลับน้าหมึก เวลาเลือกซื้อต้องดูด้วยว่า เครื่องรุ่นนั้นใช้ตลับน้าหมึกแบบไหน รุ่นอะไร ตลับสี
และดาราคาเท่าไร แต่ละยี่ห้อราคาตลับหมึกถูกบ้างแพงบ้างต่างกันไป




Laser Printer
       เหมาะกับการใช้งานร่วมกันในผู้ใช้ทั่วไปที่ต้องการความละเอียด สานักงานขนาดเล็กไป
จนถึงขนาดใหญ่ที่มีงานเอกสารปริมาณที่มาก
       แตกต่างกับ Inkjet อย่างเห็นได้ชัด ในเรื่องของปริมาณการพิมพ์ เครื่องชนิดนี้จะสามารถ
พิมพ์ได้จานวนมากกว่า ใส่กระดาษได้มาก รวดเร็วกว่า มีความคมชัดสูงทั้งพิมพ์สี และขาว
ดา และ ยังสามารถแชร์การทางานกับผู้ใช้หลายคนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อ้างอิง
http://repaircomtips.blogspot.com/2010/08/case.html
http://www.vajira.ac.th/kt/modules.php?name=News&file=print&sid=170
http://www.thaiall.com/assembly/computer.htm
http://www.bcoms.net/hardware/mainboard.asp
http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/tech03/18/mainboard.html
http://www.bcoms.net/hardware/soundcard.asp
http://nattapol199.blogspot.com/2009/06/sound-card.html
http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/tech03/18/index.html
http://pirun.ku.ac.th/~b5005458/crt.html
http://www4.eduzones.com/banny/2794
http://www.modify.in.th/Hardware-Computer/Mouse-id27.aspx
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=659e04a190742e39
http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/10000-6246.html
http://th.wikipedia.org/wiki/เครื่องพิมพ์
http://computer.kapook.com/equpiment.php

http://www.no-poor.com/inttotocomandcomapp/chapter4-comapp.htm
หนังสือ ติดตั้งและแก้ปัญหา ฉบับช่างคอมมืออาชีพ 2010

More Related Content

What's hot

นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
kruchanon2555
 
Com
ComCom
Computer
ComputerComputer
Computer
lalil_lalil
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์jumphu9
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นyenny3484
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNoppakhun Suebloei
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ยหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ยPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอนPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอนPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอนPheeranan Thetkham
 

What's hot (13)

นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
Com
ComCom
Com
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Com
ComCom
Com
 
Intro to Comp
Intro to CompIntro to Comp
Intro to Comp
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ยหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ย
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
 

Similar to ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์

Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
Com
ComCom
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์flukiiez
 
ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
H wintegration
H wintegrationH wintegration
H wintegration
Tay Chaloeykrai
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
Hardware
HardwareHardware
Hardwaresa
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6paween
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โบ1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โบ1หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โบ1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โบ1puangtong
 

Similar to ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (20)

Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
 
ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์
 
H wintegration
H wintegrationH wintegration
H wintegration
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โบ1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โบ1หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โบ1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โบ1
 

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์

  • 1. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ เสนอ อาจารย์ อินทิรา.. จัดทาโดย 1. น.ส. ชัชฎา ทรรภลักษณ์ รหัสนิสิต 5210602214 2. นาย นฤศรณ์ วิมลประสาร รหัสนิสิต 5210602273 3. น.ส. ปานรวี สุริเทศ รหัสนิสิต 5210602281 4. น.ส. มินตรา วรรณปะโค รหัสนิสิต 5210602346 5. น.ส. อารยา ปันจะมาวัด รหัสนิสิต 5210602478 สาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • 2. สารบัญ เรื่อง หน้า 1. เคส (Case) 1 2 Mainboard (แผงวงจรหลัก) 2 3 แหล่งจ่ายพลังงาน Power Supply 3 4.ซีพียู (CPU) 4 5 หน่วยความจาRAM/ROM 6 6.แหล่งเก็บข้อมูล Hard Disk 12 7การ์ดแสดงผล (Display Card) 16 8 การ์ดเสียง Sound Card 17 9. เครื่องอ่านCDและDVD CD-ROM Drive DVD-Rom Drive 18 10ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy Disk) 20 11จอแสดงผล (Monitor) 21 12.คีย์บอร์ด (KeyBoard) 23 13.เมาส์ (Mouse) 24 14.เครื่องพิมพ์Printer 25
  • 3. เคส (Case) เคส (Case) คืออะไร Case หรือ "เคส" คือ ตัวถังหรือตัวกล่องคอมพิวเตอร์ หลายคนจะเรียกว่าซีพียูเนื่องจาก เข้าใจผิด สาหรับเคสนั้นใช้สาหรับบรรจุอุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์หลักของคอมพิวเตอร์เอาไว้ข้าง ใน เช่น CPU เมนบอร์ด การ์ดจอฮาร์ดดิสก์ พัดลมระบายความร้อน และที่ขาดไม่ได้ก็คือ Power Supply ซึ่งจะมีติดอยู่ในเคสเรียบร้อย เคสคอมพิวเตอร์ควรเลือกที่รูปทรงสูงๆ เพื่อจะได้ติดตั้ง อุปกรณ์ได้ง่าย และควรเลือกเคสที่มีช่องสาหรับติดตังฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ เผื่อเอาไว้หลายๆ ้ ช่อง ในกรณีที่ต้องการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมในภายหลังจะได้ง่ายขึ้น รูปแบบของ Case 1.Case แนวนอน 2.Case แนวตั้ง
  • 4. แผงวงจรหลัก (Mainboard) เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สาคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทาหน้าที่ควบคุม ดูแลและ จัดการๆ ทางานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึง หน่วยความจาแคช หน่วยความจาหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วน ต่างๆ มากมายแต่ส่วนสาคัญๆ ประกอบด้วย -ซ็อคเก็ตสาหรับซีพียู -ชิปเซ็ต (Chip set) -ซ็อคเก็ตสาหรับหน่วยความจา -ระบบบัสและสล็อต -Bios -สัญญาณนาฬิกาของระบบ -ถ่านหรือแบตเตอรี่ -ขั้วต่อสายแหล่งจ่ายไฟ -ขั้วต่อสวิทช์และไฟหน้าเครื่อง -จัมเปอร์สาหรับกาหนดการทางานของเมนบอร์ด -ขั้วต่อ IDE และ Serial ATA -ขั้วต่อ Floppy disk drive -พอร์ตอนุกรมและพอร์ตขนาน -พอร์ตคีย์บอร์ดและเมาส์ -พอร์ต USB ในการเลือกซื้อเมนบอร์ดนั้นจะเป็นตัวกาหนดอุปกรณ์อื่นๆด้วย เพราะต้องเลือกให้ รองรับกับตัวเมนบอร์ดเช่น เมนบอร์ดรองรับ RAM แบบ DDR II เราก็ต้องเลือกซื้อ RAM แบบ
  • 5. DDR II และยังต้องดูด้วยว่าบัสเดียวกันหรือไม่ ถ้าเลือกซื้อมาได้ตรงกันก็จะไม่สามารถใช้งานได้ ดังนั้นก็จะเลือกซื้อควรคานึงถึงปัจจัยนี้ด้วย แหล่งจ่ายพลังงาน Power Supply แหล่งจ่ายไฟหรือที่มักจะเรียกทับศัพท์กันว่า "เพาเวอร์ซัพ พลาย"เป็นส่วนประกอบที่ สาคัญส่วนหนึ่งที่มักถูกมองข้ามไป เนื่องจากว่า มาตรฐานการคานวณปริมาณการใช้ไฟฟ้าของ เครื่องพีซีค่อนข้างจะแน่นอนและมีความเชื่อถือได้คือถ้านามาประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วสามารถทางานได้อย่างดีไม่มีปัญหาก็มักจะไม่สนใจในด้านนี้และถูกละเลยไป ประเภทและขนาดประเภทในที่นี้หมายถึงแรงดันไฟฟ้าที่เพาเวอร์ซัพพลายนั้นจ่าย ออกมาและขั้วต่อสาหรับเสียบเข้ากับเมนบอร์ด ซึ่งจะต้องเลือกให้ตรงกับเมนบอร์ดที่ใช้ด้วย ก็ คือจะต้องเลือกว่าเป็นแบบ AT หรือ ATX แบบ AT คือแบบที่มีมาแต่ดั้งเดิมนานแล้ว ส่วนแบบ ATX จะเป็ นรุ่นใหม่กว่าที่กาลังเข้ามาแทนที่แบบ AT จบเกือบหมดแล้วเหมือนกันและมี มาตรฐานแรงดันและสัญญาณต่าง ๆ แตกต่างกันด้วย ดังที่จะอธิบายรายละเอียดต่อไปส่วนใน กรณีของขนาดในที่นี้ไม่ได้หมายถึง ขนาดใหญ่หรือเล็ก (แม้ว่าจะแปรผันกันก็ตาม ) แต่หมายถึง กาลังไฟฟ้าสูงสุดที่สามารถจ่ายได้ ซึ่งโดยปกติแล้วจะหมายถึงกาลังไฟฟ้ารวม ทั้งหมดทุกแรงดันไฟฟ้าที่เพาเวอร์ซัพพลายนั้นสามารถจ่ายออกมา ตัวเลขนี้ถ้าไปเดินหา ซื้อตามร้านเองก็จะมีอยู่ 3 ขนาดถือขนาดเล็ก 200 วัตต์, กลางซึ่งมีมากที่สุด 250 วัตต์ และใหญ่ 300วัตต์ แต่ถ้าในเครื่องที่มีจาหน่ ายอยู่แล้ว อาจใช้เพาเวอร์ซัพพลายที่เล็กมากๆ ก็ได้ ได้แก่ 100 วัตต์ , 130 วัตต์ , 150 วัตต์เท่านั้น ซึ่งมักจะดูได้จากสเป็คของเครื่องนั้น ๆ โดยเพาเวอร์ซัพพลาย เหล่านี้อาจจะเป็นรุ่นที่ใช้มาตรฐาน NLX , SFZ , WTX ซึ่งเป็นมาตรฐานย่อยของ ATX อีกที หนึ่ง ส่วนเพาเวอร์ ซัพพลายสาหรับ Pentium 4 นั้นอาจจะต้องใช้ขนาดสูงสุดถึง 350 หรือ 400 วัตต์ก็เป็นได้
  • 6. ซีพียู (CPU) ซีพียู (CPU) คือ อุปกรณ์ตัวหนึ่งที่มีความสาคัญและจาเป็นในการทางานของ คอมพิวเตอร์ซึ่งอาจจะ เรียกว่าเป็นหัวใจของคอมพิวเตอร์เลยก็ได้ ซีพียู เป็นตัวควบคุมการ ทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงที่ต่อ ร่วมกับคอมพิวเตอร์ โดย จะเป็นตัวกาหนดความสาคัญของอุปกรณ์ว่าตัวใดมีความสาคัญ มากกว่าซึ่งหากติด ตั้งอุปกรณ์ 2 ตัวที่อินเทอรัพ , การแจ้งกับซีพียูว่าจะขอเฉพาะอุป กรณ์ที่มี ความสาคัญมากกว่าเท่านั้น ส่วนตัวที่สาคัญน้อยกว่าจะไม่สามารถใช้งานได้ เช่น ถ้าเราต่อการ์ด จอภาพกับการ์ดเสียงที่อินเทอรัพเดียวกัน ซีพียู จะเลือกให้ใช้ได้เฉพาะการ์ดจอภาพเท่านั้น CPU หรือ Central Processing Unit เป็นหัวใจหลักในการ ประมวลของคอมพิวเตอร์ โดยพื้นฐานแล้วซีพียูทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลเชิงคณิตศาสตร์และข้อมูลเชิง ตรรกะเท่านั้น แต่ ทาไมการคานวณขนาดนี้ ต้องมีการพัฒนาซีพียูกันไม่หยุดหย่อน ย้อนกลับไปปี 1946 คอมพิวเตอร์ยุคแรกที่มีชื่อที่พอจะจาได้ก็คือ ENIVAC นั้นทางานโดยใช้หลอดไดโอด ซึ่ง สถานะการทางานของหลอดพวกนี้ มีสองอย่าง คือ 1 กับ 0 จะมีค่าเป็น 1 เมื่อมีกระแสไหลผ่าน และเป็น 0 เมื่อไม่มีกระแสไหลผ่าน นั่นจึงเป็นเหตุผลให้คอมพิวเตอร์ใช้เลขฐาน 2 ในการ คานวณ ครั้นต่อมาวิทยาการก้าวหน้าขึ้นเรื่อยๆ จากหลอดไดโอดก็พัฒนาเป็นทรานซิสเตอร์ และ จากทรานซิสเตอร์ก็ พัฒนาเป็นวงจรขนาดเล็ก ซึ่งรู้จักกันในชื่อของ IC และในที่สุดก็พัฒนาเป็น Chip อย่างที่เรารู้จักกันมาจนปัจจุบันนี้ สิ่งที่ผู้ผลิตซีพียูพยายามเพิ่มก็คือ ประสิทธิภาพในการ ประมวลผลของซีพียู เมื่อกล่าวถึงซีพียูและการประมวลผล สิ่งหนึ่งที่เราต้องเข้าใจคือภายในซีพียู ไม่มีหน่วยเก็บข้อมูลสาหรับเก็บ ข้อมูลปริมาณมากๆ และซีพียูในยุคแรกๆ ก็ไม่มี Cache ด้วยซ้า ไป ปัจจัยที่มีผลต่อความเร็วของซีพียูก็คือ ความเร็วในการประมวลผลและความเร็วในการ โอนย้ายข้อมูล ซีพียูในยุคแรกๆ นั้นประมวลผลด้วยความเร็ว 4.77 MHz และมีบัสซีพียู (CPU BUS) ความกว้าง 8 บิต เรียกกันว่าซีพียู 8 บิต (Intel 8080 8088) นั้นก็คือซีพียูเคลื่อนย้ายข้อมูล ครั้งละ 1 ไบต์ ยุคต่อมาเป็นซีพียู 16 บิต 32 บิต และ 64 บิต ปัจจุบันโดยเฉพาะซีพียูรุ่นใหม่ๆ เคลื่อนย้ายข้อมูลครั้งละ 128 บิต ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลนั้น เกิดขึ้นจากการค วบคุมสัญญาณ นาฬิกา ซึ่งนับสัญญาณเป็น Clock 1 เช่น ซีพียู 100 MHz หมายความว่าเกิดสัญญาณนาฬิกา 100 ครั้งต่อวินาที
  • 7. ในปัจจุบันผู้จัดจาหน่ายCPUจะมีอยู่ 2 บริษัทยักษ์ใหญ่คือ Intel และ AMD ซึ่งมีการ แข่งขันกันอย่างมาก การเลือกซื้อก็ขึ้นอยู่กับการใช้งาน และค่านิยมของแต่ละคน
  • 8. หน่วยความจาRAM/ROM เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการจดจาข้อมูล และโปรแกรมต่าง ๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผล ของคอมพิวเตอร์ บางครั้งอาจเรียกว่า หน่วยเก็บข้อมูลหลัก (Primary storage) สามารถแบ่ง ออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. หน่วยความจาหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว (Read Only Memory - ROM) เป็นหน่วยความจาแบบสารกึ่งตัวนาชั่วคราวชนิดอ่านได้อย่างเดียว ใช้เป็นสื่อบันทึกใน คอมพิวเตอร์ เพราะไม่สามารถบันทึกซ้าได้ (อย่างง่ายๆ) เป็นความจาที่ซอฟต์แวร์หรือข้อมูลอยู่ แล้ว และพร้อมที่จะนามาต่อกับไมโครโพรเซสเซอร์ได้โดยตรง หน่วยความจาประเภทนี้แม้ไม่มี ไฟเลี้ยงต่ออยู่ ข้อมูลก็จะไม่หายไปจากหน่วยความจา (nonvolatile) โดยทั่วไปจะใช้เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีการแก้ไขอีก แล้วเช่น เก็บโปรแกรมไบออส (Basic Input output System : BIOS) หรือเฟิร์มแวร์ ที่ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ใช้เก็บ โปรแกรมการทางานสาหรับเครื่องคิดเลข ใช้เก็บโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ที่ทางานเฉพาะด้าน เช่น ในรถยนต์ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมวงจร ควบคุมในเครื่องซักผ้า เป็นต้น รอม คือหน่วยความจาชนิดหนึ่ง ที่มีโปรแกรม หรือข้อมูลอยู่แล้ว และพร้อมที่จะนามา ต่อกับไมโครโปรเซสเซอร์ได้โดยตรง ซึ่งโปรแกรม หรือข้อมูลนั้นจะไม่สูญหายไป แม้ว่าจะไม่ มีการจ่ายไฟเลี้ยงให้แก่ระบบ ข้อมูลที่เก็บอยู่ใน ROM จะสามารถอ่านออกมาได้ แต่ไม่สามารถ เขียนข้อมูลเข้าไปได้ เว้นแต่จะใช้วิธีการพิเศษซึ่งขึ้นกับชนิดของ ROM
  • 9. ชนิดของROM o Manual ROM ROM (READ-ONLY MEMORY) ข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ใน ROM จะถูกโปรแกรม โดยผู้ผลิต (โปรแกรม มาจาก โรงงาน) เราจะใช้ ROM ชนิดนี้ เมื่อข้อมูลนั้น ไม่มีการเปลี่ยนแปลง และมีความ ต้องการใช้งาน เป็นจานวนมาก ผู้ใช้ไม่สามารถ เปลี่ยนแปลงข้อมูลภายใน ROM ได้ โดย ROM จะมีการใช้ technology ที่แตกต่างกันตัวอย่างเช่น BIPOLAR, CMOS, NMOS, PMOS o PROM (Programmable ROM) PROM (PROGRAMMABLE READ-ONLY MEMORY) ข้อมูลที่ต้องการโปรแกรมจะถูกโปรแกรมโดยผู้ใช้เอง โดยป้อนพัลส์ แรงดันสูง (HIGH VOLTAGE PULSED) ทาให้ METAL STRIPS หรือ POLYCRYSTALINE SILICON ที่อยู่ในตัว IC ขาดออกจากกัน ทาให้เกิดเป็น ลอจิก “1” หรือ “0” ตามตาแหน่ง ที่กาหนดในหน่วยความจานั้นๆ เมื่อ PROM ถูกโปรแกรมแล้ว ข้อมูลภายใน จะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้อีก หน่วยความจา ชนิดนี้ จะใช้ในงานที่ใช้ความเร็วสูง ซึ่งความเร็วสูงกว่า หน่วยความจา ที่ โปรแกรมได้ชนิดอื่นๆ o EPROM (Erasable Programmable ROM) EPROM (ERASABLE PROGRAMMABLE READ-ONLY MEMORY) ข้อมูลจะถูกโปรแกรม โดยผู้ใช้โดยการให้สัญญาณ ที่มีแรงดันสูง (HIGH VOLTAGE SIGNAL) ผ่านเข้าไปในตัว EPROM ซึ่งเป็นวิธีเดียวกับที่ใช้ใน PROM แต่ข้อมูลที่อยู่ใน EPROM เปลี่ยนแปลงได้ โดยการลบข้อมูลเดิมที่อยู่ใน EPROM ออกก่อน แล้วค่อยโปรแกรมเข้าไปใหม่ การลบข้อมูลนี้ทาได้ด้วย การ ฉายแสง อุลตร้าไวโอเลตเข้าไปในตัว IC โดยผ่าน ทางกระจกใส ที่อยู่บนตัว IC เมื่อฉายแสง ครู่หนึ่ง (ประมาณ 5-10 นาที) ข้อมูลที่อยู่ภายใน ก็จะถูกลบทิ้ง ซึ่ง
  • 10. ช่วงเวลา ที่ฉายแสงนี้ สามารถดูได้จากข้อมูล ที่กาหนด (DATA SHEET) มากับ ตัว EPROM และ มีความเหมาะสม ที่จะใช้ เมื่องานของระบบ มีโอกาส ที่จะ ปรับปรุงแก้ไขข้อมูลใหม่ o EAROM (Electrically Alterable ROM) EAROM (ELECTRICALLY ALTERABLE READ-ONLY MEMORY) EAROM หรืออีกชื่อหนึ่งว่า EEPROM (ELECTRICAL ERASABLE EPROM) เนื่องจากมีการใช้ไฟฟ้าในการลบข้อมูลใน ROM เพื่อเขียนใหม่ ซึ่งใช้ เวลาสั้นกว่าของ EPROM การลบขึ้นอยู่กับพื้นฐานการใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างกัน ดังนั้น EAROM (ELECTRICAL ALTERABLE ROM) จะอยู่บนพื้นฐานของเทคโนโลยีแบบ NMOS ข้อมูลจะถูกโปรแกรมโดยผู้ใช้เหมือนใน EPROM แต่สิ่งที่แตกต่างก็คือ ข้อมูลของ EAROM สามารถลบได้โดยทางไฟฟ้าไม่ใช่โดยการฉายแสงแบบ EPROM โดยทั่วไปจะใช้ EPROM เพราะเราสามารถหามาใช้ และทดลองได้ง่าย มีราคาถูก วงจรต่อ ง่าย ไม่ยุ่งยาก และสามารถเปลี่ยนแปลงโปรแกรมได้ นอกจากระบบ ที่ทาเป็นการค้าจานวนมาก จึงจะใช้ ROM ประเภทโปรแกรมสาเร็จ 2. หน่วยความจาหลักแบบแก้ไขได้ (Random Access Memory - RAM) เป็นหน่วยความจาหลัก ที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบัน หน่วยความจาชนิดนี้ อนุญาตให้เขียนและอ่านข้อมูลได้ในตาแหน่งต่างๆ อย่างอิสระ และรวดเร็วพอสมควร ซึ่งต่าง จากสือเก็บข้อมูลชนิดอื่นๆ อย่างเทป หรือดิสก์ ที่มีข้อจากัดในการอ่านและเขียนข้อมูล ที่ต้องทา ่ ตามลาดับก่อนหลังตามที่จัดเก็บไว้ในสื่อ หรือมีข้อกาจัดแบบรอม ที่อนุญาตให้อ่านเพียงอย่าง เดียว ข้อมูลในแรม อาจเป็นโปรแกรมที่กาลังทางาน หรือข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล ของ โปรแกรมที่กาลังทางานอยู่ ข้อมูลในแรมจะหายไปทันที เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ถูกปิดลง เนื่องจากหน่วยความจาชนิดนี้ จะเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น
  • 11. RAMย่อมาจาก(Random Access Memory)เป็นหน่วยความจาหลักที่จาเป็นหน่วยความจา ชนิดนี้จะสามารถเก็บข้อมูลได้ เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้นเมื่อใดก็ตามที่ไม่มี กระแสไฟฟ้า มาเลี้ยง ข้อมูลที่อยู่ภายในหน่วยความจาชนิดจะหายไปทันที หน่วยความจาแรม ทาหน้าที่เก็บชุดคาสั่งและข้อมูลที่ระบบคอมพิวเตอร์กาลังทางานอยู่ด้วย ไม่ว่าจะเป็นการนาเข้า ข้อมูล (Input) หรือ การนาออกข้อมูล (Output) โดยที่เนื้อที่ของหน่วยความจาหลักแบบแรมนี้ถูก แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ 1. Input Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลนาเข้าที่ได้รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเข้าโดย ข้อมูลนี้จะถูกนาไปใช้ในการประมวลผลต่อไป 2. Working Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลที่อยู่ในระหว่างการประมวลผล 3. Output Storage Area เป็นส่วนที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ตามความ ต้องการของผู้ใช้ เพื่อรอที่จะถูกส่งไปแสดงออก ยังหน่วยแสดงผลอื่นที่ผู้ใช้ต้องการ 4. Program Storage Area เป็นส่วนที่ใช้เก็บชุดคาสั่ง หรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการจะส่ง เข้ามา เพื่อใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามคาสั่ง ชุดดังกล่าว หน่วยควบคุมจะทาหน้าที่ดึงคาสั่งจาก ส่วน นี้ไปที่ละคาสั่งเพื่อทาการแปลความหมาย ว่าคาสั่งนั้นสั่งให้ทาอะไร จากนั้นหน่วยควบคุม จะไปควบคุมฮาร์ดแวร์ที่ต้องการทางานดังกล่าวให้ทางานตามคาสั่งนั้นๆ
  • 12. ชนิดและความแตกต่างของ RAM DRAM เมโมรี่แบบธรรมดาที่สุด ซึ่งความเร็วขึ้นอยู่กับค่า Access Time หรือเวลาที่ใช้ในการเอาข้อมูลในตาแหน่งที่ เราต้องการออกมาให้ มีค่าอยู่ในระดับนาโนวินาที (ns) ยิ่ง น้อยยิ่งดี เช่น ชนิด 60 นาโนวินาที เร็วกว่าชนิด 70 นาโน วินาที เป็นต้น รูปร่างของ DRAM เป็น SIMM 8 บิต (Single-in-line Memory Modules) มี 30 ขา DRAM ย่อมา จาก Dynamic Random Access Memory Fast Page DRAM ปกติแล้วข้อมูลใน DRAM จึงถูกเก็บเป็นชุด ๆ แต่ ละชุดเรียกว่า Page ถ้าเป็น Fast Page DRAM จะเข้าถึง ข้อมูลได้เร็วกว่าปกติสองเท่าถ้าข้อมูลที่เข้าถึงครั้งที่แล้ว เป็นข้อมูลที่อยู่ใน Page เดียวกัน Fast Page DRAM เป็นเม โมรี่ SIMM 32 บิตมี 72 ขา (Pentium มีดาต้าบัสกว้าง 64 บิตดังนั้นจึงต้องใส่ SIMM ทีละสองแถวเสมอ) EDO RAM EDO Ram นาข้อมูลขึ้นมาเก็บไว้ใน Buffer ด้วย เพื่อว่า ถ้าการขอข้อมูลครั้งต่อไป เป็นข้อมูลในไบต์ถัดไป จะให้เราได้ทันที EDO RAM จึงเร็วกว่า Fast Page DRAM ประมาณ 10 % ทั้งที่มี Access Time เท่ากัน เพราะโอกาสที่เราจะเอาข้อมูลติด ๆกัน มีค่อนข้างสูง EDO มีทั้งแบบ SIMM 32 บิตมี 72 ขา และ DIMM 64 บิต มี 144 ขา คาว่า EDO ย่อมาจาก Extended Data Out
  • 13. SDRAM เป็นเมโมรี่แบบใหม่ที่เร็วกว่า EDO ประมาณ 25 % เพราะสามารถเรียกข้อมูลที่ต้องการขึ้นมาได้ทันที โดยที่ ไม่ต้องรอให้เวลาผ่านไปเท่ากับ Access Time ก่อน หรือ เรียกได้ว่า ไม่มี Wait State นั่นเอง ความเร็วของ SDRAM จึงไม่ดูที่ Access Time อีกต่อไป แต่ดูจากสัญญาณนาฬิกา ที่ โปรเซสเซอร์ติดต่อกับ Ram เช่น 66, 100 หรือ 133 MHz เป็นต้น SDRAM เป็นแบบ DIMM 64 บิต มี 168 ขา เวลาซึ้อต้องดูด้วยว่า MHz ตรงกับเครื่องที่เราใช้หรือไม่ SDRAM ย่อมาจาก Sychronous DRAM เพราะทางาน "sync" กับสัญญาณนาฬิกาบนเมนบอร์ด SDRAM II (DDR) DDR (Double Data Rate) SDRAM มีขา 184 ขา มี อัตราการส่งข้อมูลเป็น 2 เท่าของความเร็ว FSB ของตัว RAM คือ มี 2 ทิศทางในการรับส่งข้อมูล และมีความเร็ว มากกว่า SDRAM เช่น ความเร็ว 133 MHz คูณ 2 Pipline เท่ากับ 266 MHz RDRAM RDRAM หรือที่นิยมเรียกว่า RAMBUS มีขา 184 ขา ทามาเพื่อให้ใช้กับ Pentium4 โดยเฉพาะ (เคยใช้กับ PentiumIII และ Chipset i820 ของ Intel แต่ไม่ประสบ ผลสาเร็จเนื่องจากมีปัญหาเรื่ องระบบไฟจึงยกเลิกไป ) มี อัตราการส่งข้อมูลเป็น 4 เท่าของความเร็ว FSB ของตัว RAM คือ มี 4 ทิศทางในการรับส่ง ทาให้ความเร็วในการ ทางานสูงกว่า SDRAM เป็นสิบเท่า
  • 14. แหล่งเก็บข้อมูล Hard Disk Hard Disk คือ อุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลได้มาก สามารถเก็บได้อย่างถาวรโดยไม่จาเป็นต้อง มีไฟฟ้ามาหล่อเลี้ยงตลอดเวลา เมื่อปิดเครื่องข้อมูลก็จะไม่สูญหาย ดังนั้น Hard Disk จึงถูก จัดเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บระบบปฏิบัติการ โปรแกรม และข้อมูลต่าง ๆ เนื่องจาก Hard Disk เป็นอุปกรณ์ที่ง่ายต่อการอัพเกรดทาให้เทคโนโลยี Hard Disk ในปัจจุบันได้พัฒนาอย่าง รวดเร็ว ฉะนั้นการเลือกซื้อ Hard Disk จึงควรคานึงซึ่งประสิทธิภาพที่จะได้รับจาก Hard Disk ส่วนประกอบของ Hard Disk 1. แขนของหัวอ่าน ( Actuator Arm ) ทางานร่วมกับ Stepping Motor ใน การหมุนแขน ของหัวอ่านไปยังตาแหน่งที่เหมาะสม สาหรับการอ่านเขียนข้อมูล โดยมีคอนโทรลเลอร์ ทา หน้าที่แปลคาสั่งที่มาจากคอมพิวเตอร์ จากนั้นก็เลื่อนหัวอ่านไปยังตาแหน่งที่ต้องการ เพื่ออ่าน หรือเขียนข้อมูล และใช้หัวอ่านในการอ่านข้อมูล ต่อมา Stepping Motor ได้ถูกแทนด้วย Voice Coil ที่สามารถทางานได้เร็ว และแม่นยากว่า Stepping Motor 2 . หัวอ่าน ( Head ) เป็น ส่วนที่ใช้ในการอ่านเขียนข้อมูล ภายในหัวอ่านมีลักษณะเป็น ขดลวด โดยในการอ่านเขียนข้อมูลคอนโทรลเลอร์ จะนาคาสั่งที่ได้รับมาแปลงเป็น แรงดันไฟฟ้าแล้วป้อนเข้าสู่ขดลวดทาให้เกิด การเหนี่ยวนาทางแม่เหล็ก ไปเปลี่ยนโครงสร้าง ของสารแม่เหล็ก ที่ฉาบบนแผ่นดิสก์ จึงทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลขึ้น
  • 15. 3. แผ่นจานแม่เหล็ก ( Platters ) มีลักษณะเป็นจานเหล็กกลมๆ ที่เคลือบสารแม่เหล็กวาง ซ้อนกันหลายๆชั้น (ขึ้นอยู่กับความจุ) และสารแม่เหล็กทีว่าจะถูกเหนี่ยวนาให้มีสภาวะเป็น 0 ่ และ1 เพื่อจัดเก็บข้อมูล โดยจานแม่เหล็กนี้จะติดกับมอเตอร์ ที่ทาหน้าที่หมุน แผ่นจานเหล็กนี้ ปกติ Hard Disk แต่ละตัวจะมีแผ่นดิสก์ประมาณ 1-4 แผ่นแต่ละแผ่นก็จะเก็บข้อมูลได้ทั้ง 2 ด้าน 4. มอเตอร์หมุนจานแม่เหล็ก ( Spindle Moter ) เป็นมอเตอร์ที่ใช้หมุนของแผ่นแม่เหล็ก ซึ่งมีความสาคัญอย่างมากต่อความเร็วใน การหมุน ของ Hard Disk เพราะยิ่งมอเตอร์หมุนเร็ว หัวอ่านก็จะเจอข้อมูลที่ต้องการเร็วขึ้น ซึ่งความเร็วที่ว่านี้จะวัดกันเป็นรอบต่อนาที ( Rovolution Per Minute หรือย่อว่า RPM ) ถ้าเป็น Hard Disk รุ่นเก่าจะหมุนด้วยความเร็วเพียง 3,600รอบต่อ นาที ต่อมาพัฒนาเป็น 7,200รอบต่อนาที และปัจจุบันหมุนได้เร็วถึง 10,000รอบต่อนาที การ พัฒนาให้ Hard Disk หมุนเร็วจะได้ประสิทธิภาพสูงขึ้น 5. เคส ( Case ) มี ลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยม ใช้บรรจุกลไกต่างๆ ภายในแผ่นดิสก์เพื่อ ป้องกันความเสียหาย ที่เกิดจากการหยิบ จับ และป้องกันฝุ่นละออง ชนิดของ Hard Disk แบ่งตามการเชื่อมต่อ (Interface) 1. แบบ IDE (Integrate Drive Electronics) Hard Disk แบบ IDE เป็นอินเทอร์เฟซรุ่นเก่า ที่มีการเชื่อมต่อโดยใช้สายแพขนาด 40 เส้น โดยสายแพ 1 เส้นสามารถที่จะต่อ Hard Disk ได้ 2 ตัว บนเมนบอร์ดนั้นจะมีขั้วต่อ IDE อยู่ 2 ขั้ว ด้วยกัน ทาให้สามารถพ่วงต่อ Hard Disk ได้สูงสุด 4 ตัว ความเร็วสูงสุดในการถ่ายโอนข้อมูลอยู่ ที่ 8.3 เมกะไบต์/ วินาที สาหรับขนาดความจุก็ยังน้อยอีกด้วย เพียงแค่ 504 MB รูปแสดง Slot IDE บนแผงวงจร Mainboard
  • 16. 2. แบบ E-IDE (Enhanced Integrated Drive Electronics) Hard Disk แบบ E-IDE พัฒนามาจากประเภท IDE ด้วยสายแพขนาด 80 เส้น ผ่านคอน เน็คเตอร์ 40 ขาเช่นเดียวกันกับ IDE ซึ่งช่วยเพิ่มศักยภาพ ในการทางานให้มากขึ้น โดย Hard Disk ที่ทางานแบบ E-IDE นั้นจะมีขนาดความจุที่สูงกว่า 504 MB และความเร็วในการถ่ายโอน ข้อมูลที่สูงขึ้น โดยสูงถึง 133 เมกะไบต์/ วินาที 3. แบบ SCSI (Small Computer System Interface) Hard Disk แบบ SCSI เป็น Hard Disk ทีมีอินเทอร์เฟซที่แตกต่างจาก E-IDE โดย Hard ่ Disk แบบ SCSI จะมีการ์ดสาหรับควบคุมการทางาน โดยเฉพาะ เรียกว่า การ์ด SCSI สาหรับ การ์ด SCSI นี้ สามารถที่จะควบคุมการทางานของอุปกรณ์ที่มีการทางานแบบ SCSI ได้ถึง 7 ชิ้น อุปกรณ์ ผ่านสายแพรแบบ SCSI อัตราความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลของ แบบ SCSI มีความเร็ว สูงสุด 320 เมกะไบต์/วินาที กาลังรอบในการหมุนของจานดิสก์ปัจจุบันแบ่งเป็น 10,000 และ 15,000 รอบต่อนาที ซึ่งมีความเร็วที่มากกว่าประเภท E-IDE ดังนั้น Hard Disk แบบ SCSI จะ นามาใช้กับงานด้านเครือข่าย (Server) เท่านั้น รูปแสดง อุปกรณ์ Hard Disk ที่เป็น SCSI 4. แบบ Serial ATA เป็นอินเทอร์เฟซที่กาลังได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน เมื่อการเชื่อมต่อในลักษณะ Parallel ATA หรือ E-IDE เจอทางตันในเรื่องของความเร็วที่มีความเร็วเพียง 133 เมกะไบต์/ วินาทีส่วนเทคโนโลยีเชื่อมต่อรูปแบบแบบใหม่ที่เรียกว่า Serial ATA ให้อัตราความเร็วในการ ถ่ายโอนข้อมูลขั้นแรกสูงสุดถึง 150 เมกะไบต์/วินาที โดยเทคโนโลยี Serial ATA นี้ถูกคาดหวัง ว่าจะสามารถ ขยายช่องสัญญาณ (Bandwidth) ในการส่งผ่านข้อมูลได้เพิ่มขึ้นถึง 2-3 เท่า และยัง
  • 17. รองรับข้อมูลได้มากยิ่งขึ้น ไม่เฉพาะ Hard Disk เพียงเท่านั้นที่จะมีการเชื่อมต่อในรูปแบบนี้ แต่ ยังรวมไปถึง อุปกรณ์ตัวอื่น ๆ อย่าง CD-RW หรือ DVD อีกด้วย รูปแสดง สายสัญญาณแบบ Serial ATA ด้วยการพัฒนาของ Serial ATA ทาให้ลดปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการส่งผ่านข้อมูลระหว่าง CPU ความเร็วสูงกับตัว Hard Disk ลงได้ ในอนาคต Serial ATA ยังแตกต่างจาก Hard Drive ที่ ใช้อินเทอร์เฟซ Parallel ATA ซึ่งเป็นแบบขนาน เพราะอินเทอร์เฟซ Serial ATA นี้ มีการ กาหนดให้ Hard Drive ตัวไหนเป็น Master (ตัวหลัก) หรือ Slave (ตัวรอง) ผ่านช่องเชื่อมต่อบน เมนบอร์ดโดยตรง สามารถลดความยุ่งยากในการติดตั้งลงไป อีกทั้ง Hard Disk ประเภทนี้บาง ตัวยังรองรับการถอดสับเปลี่ยนโดยทันที (Hot Swap) ทาให้การเชื่อมต่อในลักษณะนี้กาลังได้รับ ความนิยมอย่างมาก
  • 18. การ์ดแสดงผล (Display Card) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแปลงสัญญาณภาพ เพื่อแสดงผลภาพออกทางจอภาพ ซึ่งปัจจุบัน จะ สนับสนุนการทางานทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ และจะเน้นหนักไปที่การเล่น เกมเป็นหลัก บริษัทผู้ผลิตการ์ดแสดงผล ที่รู้จักกันดีได้แก่ Matrox, Ati, Nvidia, 3DLab และปัจจุบันการ์ด แสดงผลจะมีบทบาทมาก เนื่องจากว่ามีการนางานการคานวณที่เกี่ยวกับการแสดงภาพมาคานวณ ที่การ์ดแสดงผลแทนที่จะต้องคานวณด้วย CPU จึงมีการเรียก Card ที่ทางานในลักษณะนี้ ว่า GPU (Graphic Processing Unit) ในการ์ดแสดงผลบางรุ่นยังมีช่องต่อ TV IN/OUT และ ช่อง ต่อ Panel Monitor (LCD Monitor) ด้วย บางรุ่นสนับสนุนการใช้ แว่นตา 3 มิติ เพื่ออรรถรสใน การเล่นเกมส์
  • 19. การ์ดเสียง Sound Card เสียงเป็นส่วนสาคัญของระบบมัลติมีเดียไม่น้อยกว่าภาพ ดังนั้นการ์ดเสียงจึงเป็นอุปกรณ์ จาเป็นที่สาคัญของระบบคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย การ์ดเสียงได้รับการพัฒนาคุณภาพอย่างรวดเร็วเพื่อ ให้ได้ประสิทธิภาพของเสียงและ ความผิดเพี้ยนน้อยที่สุด ตลอดจนระบบเสียง 3 มิติในปัจจุบัน ความชัดเจนของเสียง จะมี ประสิทธิภาพดีเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก 2 ประการ คือ อัตราการสุ่มตัวอย่าง และความ แม่นยา ของตัวอย่างที่ได้ ซึ่งความแม่นยาของตัวอย่างนั้นถูกกาหนด โดยความสามารถของ A/D Converter ว่ามีความละเอียดมากน้อยเพียงใด ทาอย่างไรจึงจะประมาณ ค่าสัญญาณดิจิตอลได้ ใกล้เคียงกับสัญญาณเสียงมากที่สุด ความละเอียดของ A/D Converter นั้นถูก กาหนด โดย จานวนบิตของสัญญาณดิจิตอลเอาต์พุต เช่น - A/D Converter 8 bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 256 ระดับ - A/D Converter 16 bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 65,536 ระดับ หากจานวนระดับมากขึ้นจะทาให้ความละเอียดยิ่งสูงขึ้นและการผิดเพี้ยนของสัญญาณเสียงยิ่ง น้อยลง นั่นคือประสิทธิภาพที่ของเสียง ที่ได้รับดีขึ้นนั่นเอง แต่จานวนบิตต่อหนึ่งตัวอย่างจะมาก ขึ้นด้วย
  • 20. เครื่องอ่านCDและDVD (CD-ROM Drive & DVD-Rom Drive) เป็นไดรฟ์สาหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรอม หรือดีวีดีรอม ซึ่งถ้าหากต้องการบันทึก ข้อมูลลงบนแผ่นจะต้องใช้ไดรฟ์ที่สามารถเขียนแผ่นได้คือ CD-RW หรือ DVD-RW โดย ความเร็วของ ซีดีรอมจะเรียกเป็น X เช่น 16X , 32X หรือ 52X โดยจะมี Interface เดียวกับ Harddisk การทางานของ CD-ROM ภายในซีดีรอมจะแบ่งเป็นแทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่เซ็กเตอร์ในซีดีรอม จะมีขนาดเท่ากัน ทุกเซ็กเตอร์ ทาให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น เมื่อไดรฟ์ซีดีรอมเริ่มทางาน มอเตอร์จะเริ่มหมุนด้วยความเร็ว หลายค่า ทั้งนี้เพื่อให้อัตราเร็วในการอ่านข้อมูลจากซี ดีรอมคงที่ สม่าเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเซ็กเตอร์ ที่อยู่รอบนอกกรือวงในก็ตาม จากนั้นแสงเลเซอร์จะ ฉายลงซีดีรอม โดยลาแสงจะถูกโฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตาแหน่งได้ โดยการทางานของขดลวด ลาแสงเลเซอร์จะทะลุผ่านไปที่ซีดีรอมแล้วถูกสะท้อนกลับ ที่ผิวหน้าของซีดีรอมจะเ ป็น หลุม เป็นบ่อ ส่วนที่เป็นหลุมลงไปเรียก "แลนด์" สาหรับบริเวณที่ไม่มีการเจาะลึกลงไปเรียก "พิต" ผิว สองรูปแบบนี้เราใช้แทนการเก็บข้อมูลในรูปแบบของ 1 และ 0 แสงเมื่อถูกพิตจะกระจายไปไม่ สะท้อนกลับ แต่เมื่อแสงถูกเลนส์จะสะท้อนกลับผ่านแท่งปริซึม จากนั้นหักเหผ่านแท่ง ปริซึมไป ยังตัวตรวจจับแสงอีกที ทุกๆช่ว งของลาแสงที่กระทบตัวตรวจจับแสงจ ะกาเนิดแรงดันไฟฟ้า หรือเกิด 1 และ 0 ที่ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ ส่วนการบันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีรอมนั้น ต้องใช้แสงเลเซอร์เช่นกัน โดยมีลาแสงเลเซอร์จากหัวบันทึกของเครื่อง บันทึกข้อมูลส่องไป กระทบพื้นผิวหน้าของแผ่น ถ้าส่องไปกระทบบริเวณใดจะทาให้บริเวณนั้นเป็นหลุ มขนาดเล็ก บริเวณทีไม่ถูกบันทึกจ ะมีลักษณะเป็นพื้นเรียบสลับกันไปเรื่อยๆตลอดทั้งแผ่น
  • 22. ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy Disk) เป็นอุปกรณ์ที่กาเนิดมาก่อนยุคของพีซีเสียอีก โดยเริ่มจากที่มีขนาด 8 นิ้ว กลายมาเป็น 5.25 นิ้ว จนมาถึงปัจจุบันซึ่งอยู่ที่ 3.5 นิ้ว ในส่วนของความจุเริ่มต้นตั้งแต่ไม่กี่ร้อยกิโลไบต์มา เป็น 1.44 เมกะไบต์ และ 2.88 เมกะไบต์ ตามลาดับ Floppy Disk Drive ในปัจจุบันการใช้งานฟล็อปปี้ดิสก์นั้นน้อยลงไปมากเพราะ เนื่องจากจุข้อมูลได้น้อยซึ่ง ไม่เพียงพอกับความต้องการ แต่ฟล็อปปี้ดิสก์ก็ยังคงเป็นมาตรฐานหนึ่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุก เครื่องต้องมี การพัฒนาฟล็อปปี้ดิสก์ก็ไม่ได้หยุดยั้งไปเสียทีเดียว ยังมีการพัฒนาเทคโนโลยี ใหม่ ที่ใช้ระบบ Optical ทาให้สามารถขยายความจุไปได้ถึง 120 เมกะไบต์ต่อแผ่น
  • 23. จอแสดงผล (Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่มีความสาคัญมากที่สุด เพราะจะติดต่อโดยตรงกับผู้ใช้ ชนิดของ จอภาพที่ใช้ในเครื่องพีซีโดยทั่วไปจะแบ่งได้เป็น 2 ชนิด - จอซีอาร์ที (CRT : Cathode Ray Tube) โดยมากจะพบในคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ซึ่ง ลักษณะ จอภาพชนิดนี้จะคล้ายโทรทัศน์ ซึ่งจะใช้หลอดสุญญากาศ จอแบบ CRT การทางานของจอประเภทนี้จะทางานโดย อาศัยหลอดภาพ ที่สร้างภาพโดยการยิงลาแสง อิเล็กตรอนไปยังที่ผิวหน้าจอ ที่มีสารพวกสารประกอบข องฟอสฟอรัส ฉาบอยู่ที่ผิว ซึ่งจะเกิด ภาพขึ้นมาเมื่อสารเหล่านี้เกิดการเรืองแสงขึ้นมา เมื่อมีอิเล็กตรอนมากระทบ ซึ่งในส่วยของจอ แบบ Shadow Mask นั้น จะมีการนาโลหะที่มีรูเล็กๆ มาใช้ในการกาหนดให้แสงอิเล็กตรอนนั้น ยิงมาได้ถูกต้อง และแม่นยา ซึ่งระยะห่างระหว่างรูนี้เร าเรียกกันว่า Dot Pitch ซึ่งในรูนี้จะมี สารประกอบของฟอสฟอรัสวางเรียงกันอยู่เป็น 3 จุด 3 มุม โดยแต่ละจุดจะเป็นสีของแม่สีนั้นก็ คือ สีแดง สีเขียว และสีน้าเงิน ซึ่งแต่ละจุดนี้เราเรียกว่า Triad ในส่วนของจอแบบ Trinitron นั้น จะมีการทางานที่เหมือนกันแต่ต่างกันที่ ไม่ ได้ใช้โลหะเป็นรูแต่จะใช้ โลหะที่เป็นเส้นเล็กๆ ขึง พาดไปตาม แนวตั้ง เพื่อที่จะให้อิเล็คตรอนนั้น ตกกระทบกับผิวจอที่มีสารประกอบขอ ง ฟอสฟอรัสได้มากขึ้น สาหรับจอ Trinitronในปัจจุบันนี่ได้มีการพัฒนาให้มีความแบนราบมาก ขึ้นซึ่งจอแบบนี้จะเรียกกันว่า FD Trinitron (Flat Display Trinitron) ซึ่งมีมากมายในปัจจุบันและ จะเข้ามาแทนที่จะแบบเดิมๆ อีกทั้งราคายังถูกลงเป็นอย่างมากด้วย
  • 24. - จอแอลซีดี (LCD : Liquid Crystal Display) ซึ่งมีลักษณะแบนราบจะมีขนาดเล็กและ บาง เมื่อเปรียบเทียบกับจอภาพแบบซีแอลที จอแบบ LCD การทางานนั้นจะไม่เหมือนกับจอแบบ CRT แม้สักนิดเดียว ซึ่งการแสดงภาพนั้นจะ ซับซ้อนกว่ามาก การทางานนั้นอาศัยหลักของการใช้ความร้อนที่ได้จากขดลวด มาทาการเปลี่ยน และ บังคับให้ผลึกเหลวแสดงสีต่างๆ ออกมาตามที่ต้องการซึ่งการแสดงสีนั้นจะเป็นไปตามที่ กาหนด ไว้ตามมาตรฐานขอ งแต่ละ บริษัท จึงทาให้จอแบบ LCD มีขนาดที่บางกว่าจอ CRT อยู่ มาก อีกทั้งยังกินไฟน้อยกว่า จึงทาให้ผู้ผลิตนาไปใช้งานกับ เครื่องคอมพิวเตอร์แบบเคลื่อนที่ โน้ตบุ๊ค และเดสโน้ต ซึ่งทาให้เครื่องมีขนาดที่บางและเล็กสามารถพกพาไปได้สะดวก ในส่วน ของการใช้งานกับเครื่องเดสก์ท็อปทั่วไป ก็มีซึ่งจอแบบ LCD นี้จะมีราคาที่แพงกว่าจอทั่วไปอยู่ ประมาณ 2 เท่าของ ราคาในปัจจุบัน การทางานของจอภาพแบบCRT การทางานของจอภาพแบบLCD
  • 25. คีย์บอร์ด (KeyBoard) คียบอร์ด หรือ แป้นพิมพ์ เป็นอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ที่ทุกเครื่องจาเป็นต้องมี เป็นอุปกรณ์ หลักที่ใช้ในการนาข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยปกติมักจะมีลักษณะเป็น สี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือใกล้เคียง มีแป้นต่างๆ ประมาณร้อยแป้นอยู่บนคีย์บอร์ด (ขึ้นอยู่กับ ผังแป้นพิมพ์ ) ซึ่งถอด แบบมาจาก เครื่องพิมพ์ดีด ออกแบบมาเพื่อใช้สาหรับรับข้อมูลที่เป็น ตัวอักขระ แล้วทาการ เปลี่ยนเป็นรหัส 7 หรือ 8 บิต จากนั้นจึงส่งให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล หรือใช้ควบคุมฟังก์ชัน การทางานบางอย่างของคอมพิวเตอร์ และเพื่อใ ห้การป้อนข้อมูลที่เป็นอักขระและตัวเลขทาได้ ง่ายและสะดวกขึ้น คีย์บอร์ดจึงแยกแผงที่เป็นแป้นอักขระกับแป้นตัวเลขแยกไว้ต่างหาก นับเป็น อุปกรณ์อินพุทแบบแรก ๆ ทีเดียว นับตั้งแต่มีระบบคอมพิวเตอร์ขึ้นมาก็มีการพัฒนาส่วนที่ เรียกว่า คีย์บอร์ดนั้น มีการปรับปรุงแบบ interface หรือหัวต่อหลายแบบ เช่น แบบ PC/AT, แบบ PS/2 ,แบบ USB จนมาถึงแบบไร้สาย (bluetooth)
  • 26. เมาส์ (Mouse) เมาส์ คือ อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้งานง่ายและ สะดวกกว่าแป้นพิมพ์มาก เนื่องจากไม่จ้องจดจาคาสั่งสาหรับป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ มี รูปร่างโค้งๆ งอๆ เหมือนก้อนสบู่ กลไกภายในจะมีลูกกลิ้งกลมสาหรับหมุนใช้กาหนดตาแหน่ง เพื่อเลือกคาสั่งหรือวาดลายเส้นบนจอภาพ ตาแหน่งจุดตัด X และ Y จากเครื่องมือนี้จะสัมพันธ์ กับจุดตัดXและYบนจอภาพทาให้สามารถกาหนดคาสั่งหรือตาแหน่งลายเส้นตามเงื่อนไขใน โปรแกรมได้สะดวก มีอยู่ด้วยกัน หลายประเภท „ Mouse แบบปกติที่พบเห็นทั่วไปอาจจะมี 2 ปุ่ม หรือ 3 ปุม 2 ่ „ Mouse แบบไร้สาย (Wireless) ซึ่งจะใช้ สัญญาณวิทยุโดย Mouse เป็นตัวส่งสัญญาณ และมีตัวรับสัญญาณ ที่ต่อกับเครื่องคอม „ Mouse แสง (Optical Mouse) เป็น Mouse ที่ไม่มีลูกกลิ้งที่ฐาน Mouse โดยใช้การอ่าน ค่าจากการ สะท้อนของแสงที่สัมผัสกับพื้นผิว „ Scroll Mouse เป็น Mouse ที่มี Scroll ไว้เพื่อใช้เลื่อน Scroll Bar ในโปรแกรม ประยุกต์ต่าง ๆ เช่น Internet Explorer นอกจาก Mouse แล้วยังมีอุปกรณ์อีก ประเภทที่เรียกว่า Track Ball ซึ่งจะมีลักษณะคล้าย Mouse แต่ จะมี Ball อยู่ด้านบนแทนที่จะอยู่ด้านล่าง และเลื่อน Pointer โดยการ ใช้ นิ้วมือกลิ้งไปบน Ball
  • 27. เครื่องพิมพ์ Printer เครื่องพิมพ์ (printer) คืออุปกรณ์ที่จะแปลการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ออกมาใน รูปแบบกระดาษ ทั้งรูปภาพและอักษร เครื่องพิมพ์แบ่งออกเป็น 1) เครื่องดอตเมตริกซ์พรินเตอร์ (Dotmatirx Printer) 2) เครื่องอิงค์เจ็ตพรินเตอร์ (Inkjet Printer) 3) เครื่องเลเซอร์พรินเตอร์ (Laser Printer) 4) เครื่องพล็อตเตอร์ (Plotter) Dotmatix Printer เหมาะสาหรับห้างร้าน ผู้ประกอบธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง หรือผู้ใช้ที่ต้องการ เครื่องพรินเตอร์ที่สามารถ ทาสาเนาได้ เครื่องชนิดนี้จะพิมพ์โดยใช้หัวเข็มกระทบลงไปที่ กระดาษ ต้องซื้อผ้าหมึกและทาให้ผู้ใช้ประหยัดเงินได้มาก เนื่องจากผ้าหมึกมีอายุการใช้งานสูง กว่าใช้น้าหมึกหลายเท่า เหมาะกับการพิมพ์ใบเสร็จต่างๆ และงานพิมพ์ทั่วไป ในด้านการใช้งาน ตัวเครื่องมีความยืดหยุ่นสูง สามารถใช้ได้กับกระดาษหลายประเภท ค่าความละเอียดในการพิมพ์ อยู่ที่ 360*360 จุดต่อตารางนิ้วทั้งหมด จานวนหัวเข็มมีตั้งแต่ 24 , 32 หัวเข็ม หัวเข็มมากความ ละเอียดก็จะเพิ่มขึ้น ความเร็วในการพิมพ์ตัวอักษรมีตั้งแต่ 192 ต่อCPS, 240, 264, 300, 360, 375, 390, 400, 432, 450 จนถึง 504 ต่อCPS (CPS คือ ความเร็วในการพิมพ์ตัวอักษรต่อนิ้ว) จานวนสาเนาที่สามารถพิมพ์ได้ เช่น 1 ต้นฉบับ 3 สาเนา , 1 ต้นฉบับ 4 สาเนา ไป จนถึง 1 ต้นฉบับ 7 สาเนา ใช้กระดาษต่อเนื่อง ความกว้างของกระดาษก็เป็นส่วนหนึ่งที่ต้อง คานึงถึง เพราะถ้าความกว้างไม่พอก็ทาให้ไม่สามารถพิมพ์งานได้
  • 28. Inkjet Printer เหมาะสมกับผู้ใช้ทั่วไปทุกระดับ ตั้งแต่นักเรียน นักศึกษา ไปจนถึงสานักงานใหญ่ ๆ และ กาลังได้รับความนิยมมากที่สุด มีราคาตั้งแต่หลักพัน-หลักหมื่น เครื่องชนิดนี้จะพิมพ์งานโดยใช้ ตลับน้าหมึก เวลาเลือกซื้อต้องดูด้วยว่า เครื่องรุ่นนั้นใช้ตลับน้าหมึกแบบไหน รุ่นอะไร ตลับสี และดาราคาเท่าไร แต่ละยี่ห้อราคาตลับหมึกถูกบ้างแพงบ้างต่างกันไป Laser Printer เหมาะกับการใช้งานร่วมกันในผู้ใช้ทั่วไปที่ต้องการความละเอียด สานักงานขนาดเล็กไป จนถึงขนาดใหญ่ที่มีงานเอกสารปริมาณที่มาก แตกต่างกับ Inkjet อย่างเห็นได้ชัด ในเรื่องของปริมาณการพิมพ์ เครื่องชนิดนี้จะสามารถ พิมพ์ได้จานวนมากกว่า ใส่กระดาษได้มาก รวดเร็วกว่า มีความคมชัดสูงทั้งพิมพ์สี และขาว ดา และ ยังสามารถแชร์การทางานกับผู้ใช้หลายคนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 29. อ้างอิง http://repaircomtips.blogspot.com/2010/08/case.html http://www.vajira.ac.th/kt/modules.php?name=News&file=print&sid=170 http://www.thaiall.com/assembly/computer.htm http://www.bcoms.net/hardware/mainboard.asp http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/tech03/18/mainboard.html http://www.bcoms.net/hardware/soundcard.asp http://nattapol199.blogspot.com/2009/06/sound-card.html http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/tech03/18/index.html http://pirun.ku.ac.th/~b5005458/crt.html http://www4.eduzones.com/banny/2794 http://www.modify.in.th/Hardware-Computer/Mouse-id27.aspx http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=659e04a190742e39 http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/10000-6246.html http://th.wikipedia.org/wiki/เครื่องพิมพ์ http://computer.kapook.com/equpiment.php http://www.no-poor.com/inttotocomandcomapp/chapter4-comapp.htm หนังสือ ติดตั้งและแก้ปัญหา ฉบับช่างคอมมืออาชีพ 2010