SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1




                               เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า
             กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเส้นลวดจะทาให้เกิดสนามแม่เหล็กรอบๆ
เส้นลวด ลักษณะของสนาม
    แม่เหล็กขึ้นอยู่กับรูปร่างของเส้นลวดและกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน
สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นนี้ เขียนได้โดยวิธีเดียว
   กับสนามแม่เหล็กจาก แม่เหล็กถาวร ผลที่เกิดขึ้นเรียกว่า แม่เหล็กไฟฟ้าซึง
                                                                        ่
ใช้สร้างแม่เหล็กที่มีกาลังสูง และ
           ใช้สาหรับทาให้เกิดการเคลื่อนที่โดยกระแสไฟฟ้า




                             กฏว่ายน้าของแอมแปร์ กล่าวว่า ขั้วเหนือของเข็มทิศ
ซึ่งวางอยู่ใกล้เส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้า
           ไหลผ่าน จะเบนไปทางมือซ้าย ของคนที่ว่ายน้าไปในทิศทางที่
กระแสไหล โดยหันหน้าเข้าหาเส้นลวด
2




                          ขดลวด (Coil) หมายถึง ขดลวดหลายๆขดที่มี
กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ทาได้โดยใช้เส้นลวด
          พันรอบวัตถุที่เป็นแกน ตัวอย่างเช่น ขดลวดแบนและโซลินอยด์
                          ขดลวดแบน (Flat coil or plane coil) เป็นขดลวดที่มี
ความยาวน้อยเมื่อเทียบกับเส้น
          ผ่านศูนย์กลาง
                          โซลินอยด์ (Solenoid) เป็นขดลวดที่มีความยาวมาก
เมื่อเทียบกับเส้นผ่านศูย์กลางสนาม
          แม่เหล็กที่เกิดจากโซลินอยด์คล้ายกับแท่งแม่เหล็ก ตาแหน่งของขั้ว
ขึ้นอยู่กับทิศของกระแสไฟฟ้า
                          แกน (Core) เป็นวัตถุที่ใช้เป็นแกนของขดลวดเป็น
สิ่งบอกความเข้มสนามแม่เหล็ก สาร
          แม่เหล็กชั่วคราว หรือเหล็กอ่อนทาให้เกิดสนามแม่เหล็กที่มีความ
เข้มสูง และนิยมใช้ทาแม่เหล็กไฟฟ้า
3




                        กฏสกรูของแมกซ์เวลล์ กล่าวว่า ทิศของ
สนามแม่เหล็กรอบๆ เส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้าไหล
         ผ่าน จะอยูในทิศสกรูหมุน เมื่อขันสกรูเข้าไปตามทิศของ
                   ่
กระแสไฟฟ้า




                        กฏมือขวา (Right-hand grip rule) กล่าวว่า ทิศของ
สนามแม่เหล็กรอบเส้นลวดอยู่ใน
         แนวนิ้วมือขวาที่การอบเส้นลวด โดยที่นิ้วหัวแม่มือชี้ไปตามทิศของ
กระแสในเส้นลวด
4




 แม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnet) เป็นโซลินอยด์ซึ่งมีแกนเป็นสาร
แม่เหล็กชั่วคราวทาให้
             มีอานาจแม่เหล็กหรือหมดอานาจโดยเปิด-ปิดสวิตซ์ แม่เหล็กไฟฟ้า
ที่ใช้ทั่วไปถูกสร้างขึ้นให้ 2 ขั้วที่ต่างกัน
             อยู่ใกล้กันเพื่อให้ได้สนามแม่เหล็กความเข้มสูง แม่เหล็กไฟฟ้ามี
ประโยชน์มากมาย ดังตัวอย่างข้างล่าง




                             ประโยชน์ของแม่เหล็กไฟฟ้า
(Applications of electromagnets) แม่เหล็กไฟฟ้ามีประ
5




           โยชน์มากมาย ใช้หลักการที่แม่เหล็กดูดแผ่นโลหะเมื่อว่างวงจรปิด
ซึ่งเป็นการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลัง
           งานกล เช่นพลังงานเสียง
                         ออตไฟฟ้า (Applications of electromagnets) เป็น
อุปกรณ์ที่ทาให้เกิดเสียงจากกระ
           แสตรง แผ่นโลหะจะถูกดูดโดยแม่เหล็กไฟฟ้า ทาให้จุดสัมผัสแยก
ออก มีผลให้กระแสที่เข้ามายังแม่เหล็ก
           ไฟฟ้าหยุดไหล ดังนั้นแผ่นโลหะจึงดีดกลับ เกิดขึ้นเช่นนี้เรื่อยๆ มี
ผลให้แผ่นโลหะสั่นเกิดเสียงออตขึ้น ใน
           กระดิงไฟฟ้ามีค้อนติดกับแผ่นโลหะใกล้กับกระดิงเมื่อแผ่นโลหะ
                ่                                     ่
สั่นค้อนก็จะเคาะกระดิง
                     ่




                         หูฟัง (Earpiece) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนสัญญาน
6




ไฟฟ้าเป็นคลื่อนเสียง ใช้แม่เหล็กถาวร
           ดูดแผ่นไดอะแฟรม ความแรงของแรงดึงดูดเปลี่ยนไปตามการ
เปลี่ยนแปลงกระแสไฟฟ้าในขดลวดแม่เหล็ก
           ไฟฟ้า แผ่นไดอะแฟรมจะสั่นทาให้เกิดเสียง




                          รีเลย์ (Relay) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เป็น
สวิตซ์ ปิดวงจรโดยใช้แม่เหล็กไฟฟ้า ใช้กระแส
           ไฟฟ้าเพียงเล็กน้อยผ่านเข้าไปในขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อเปิด
สวิตซ์ให้กระแสไฟฟ้าปริมาณมากไหลใน
           อีกวงจรหนึ่ง

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอKunthida Kik
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศSomporn Laothongsarn
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้าNatdanai Kumpao
 
นำเสนอไฟฟ้า
นำเสนอไฟฟ้านำเสนอไฟฟ้า
นำเสนอไฟฟ้าNarongchai Wanmanee
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงkrukhunnaphat
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าAtjimaice
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า304
เครื่องใช้ไฟฟ้า304เครื่องใช้ไฟฟ้า304
เครื่องใช้ไฟฟ้า304Anunata5
 

What's hot (14)

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
 
นำเสนอไฟฟ้า
นำเสนอไฟฟ้านำเสนอไฟฟ้า
นำเสนอไฟฟ้า
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้าประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า304
เครื่องใช้ไฟฟ้า304เครื่องใช้ไฟฟ้า304
เครื่องใช้ไฟฟ้า304
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 

Viewers also liked

แบบทดสอบสืบดอก
แบบทดสอบสืบดอกแบบทดสอบสืบดอก
แบบทดสอบสืบดอกWichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2thanakit553
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าthanakit553
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1thanakit553
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...dnavaroj
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548Physics Lek
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 

Viewers also liked (20)

แบบทดสอบสืบดอก
แบบทดสอบสืบดอกแบบทดสอบสืบดอก
แบบทดสอบสืบดอก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 

Similar to Lesson16

เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์nom11
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
นิดชุดา
นิดชุดานิดชุดา
นิดชุดาbo222
 
นิดชุดา
นิดชุดานิดชุดา
นิดชุดาbo222
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าAnunata5
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าAnunata5
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าAnunata5
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าAnunata5
 

Similar to Lesson16 (20)

ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
นิดชุดา
นิดชุดานิดชุดา
นิดชุดา
 
นิดชุดา
นิดชุดานิดชุดา
นิดชุดา
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
54101 unit10
54101 unit1054101 unit10
54101 unit10
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

More from saiyok07 (20)

0 o net-2549
0 o net-25490 o net-2549
0 o net-2549
 
9.2
9.29.2
9.2
 
20
2020
20
 
19
1919
19
 
18
1818
18
 
17.4
17.417.4
17.4
 
17.3
17.317.3
17.3
 
17.2
17.217.2
17.2
 
17.1
17.117.1
17.1
 
16.4
16.416.4
16.4
 
16.3
16.316.3
16.3
 
16.2
16.216.2
16.2
 
16.1
16.116.1
16.1
 
14.4
14.414.4
14.4
 
15.4
15.415.4
15.4
 
15.3
15.315.3
15.3
 
15.2
15.215.2
15.2
 
15.1
15.115.1
15.1
 
14.3
14.314.3
14.3
 
14.2
14.214.2
14.2
 

Lesson16

  • 1. 1 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเส้นลวดจะทาให้เกิดสนามแม่เหล็กรอบๆ เส้นลวด ลักษณะของสนาม แม่เหล็กขึ้นอยู่กับรูปร่างของเส้นลวดและกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นนี้ เขียนได้โดยวิธีเดียว กับสนามแม่เหล็กจาก แม่เหล็กถาวร ผลที่เกิดขึ้นเรียกว่า แม่เหล็กไฟฟ้าซึง ่ ใช้สร้างแม่เหล็กที่มีกาลังสูง และ ใช้สาหรับทาให้เกิดการเคลื่อนที่โดยกระแสไฟฟ้า กฏว่ายน้าของแอมแปร์ กล่าวว่า ขั้วเหนือของเข็มทิศ ซึ่งวางอยู่ใกล้เส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้า ไหลผ่าน จะเบนไปทางมือซ้าย ของคนที่ว่ายน้าไปในทิศทางที่ กระแสไหล โดยหันหน้าเข้าหาเส้นลวด
  • 2. 2 ขดลวด (Coil) หมายถึง ขดลวดหลายๆขดที่มี กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ทาได้โดยใช้เส้นลวด พันรอบวัตถุที่เป็นแกน ตัวอย่างเช่น ขดลวดแบนและโซลินอยด์ ขดลวดแบน (Flat coil or plane coil) เป็นขดลวดที่มี ความยาวน้อยเมื่อเทียบกับเส้น ผ่านศูนย์กลาง โซลินอยด์ (Solenoid) เป็นขดลวดที่มีความยาวมาก เมื่อเทียบกับเส้นผ่านศูย์กลางสนาม แม่เหล็กที่เกิดจากโซลินอยด์คล้ายกับแท่งแม่เหล็ก ตาแหน่งของขั้ว ขึ้นอยู่กับทิศของกระแสไฟฟ้า แกน (Core) เป็นวัตถุที่ใช้เป็นแกนของขดลวดเป็น สิ่งบอกความเข้มสนามแม่เหล็ก สาร แม่เหล็กชั่วคราว หรือเหล็กอ่อนทาให้เกิดสนามแม่เหล็กที่มีความ เข้มสูง และนิยมใช้ทาแม่เหล็กไฟฟ้า
  • 3. 3 กฏสกรูของแมกซ์เวลล์ กล่าวว่า ทิศของ สนามแม่เหล็กรอบๆ เส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้าไหล ผ่าน จะอยูในทิศสกรูหมุน เมื่อขันสกรูเข้าไปตามทิศของ ่ กระแสไฟฟ้า กฏมือขวา (Right-hand grip rule) กล่าวว่า ทิศของ สนามแม่เหล็กรอบเส้นลวดอยู่ใน แนวนิ้วมือขวาที่การอบเส้นลวด โดยที่นิ้วหัวแม่มือชี้ไปตามทิศของ กระแสในเส้นลวด
  • 4. 4 แม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnet) เป็นโซลินอยด์ซึ่งมีแกนเป็นสาร แม่เหล็กชั่วคราวทาให้ มีอานาจแม่เหล็กหรือหมดอานาจโดยเปิด-ปิดสวิตซ์ แม่เหล็กไฟฟ้า ที่ใช้ทั่วไปถูกสร้างขึ้นให้ 2 ขั้วที่ต่างกัน อยู่ใกล้กันเพื่อให้ได้สนามแม่เหล็กความเข้มสูง แม่เหล็กไฟฟ้ามี ประโยชน์มากมาย ดังตัวอย่างข้างล่าง ประโยชน์ของแม่เหล็กไฟฟ้า (Applications of electromagnets) แม่เหล็กไฟฟ้ามีประ
  • 5. 5 โยชน์มากมาย ใช้หลักการที่แม่เหล็กดูดแผ่นโลหะเมื่อว่างวงจรปิด ซึ่งเป็นการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลัง งานกล เช่นพลังงานเสียง ออตไฟฟ้า (Applications of electromagnets) เป็น อุปกรณ์ที่ทาให้เกิดเสียงจากกระ แสตรง แผ่นโลหะจะถูกดูดโดยแม่เหล็กไฟฟ้า ทาให้จุดสัมผัสแยก ออก มีผลให้กระแสที่เข้ามายังแม่เหล็ก ไฟฟ้าหยุดไหล ดังนั้นแผ่นโลหะจึงดีดกลับ เกิดขึ้นเช่นนี้เรื่อยๆ มี ผลให้แผ่นโลหะสั่นเกิดเสียงออตขึ้น ใน กระดิงไฟฟ้ามีค้อนติดกับแผ่นโลหะใกล้กับกระดิงเมื่อแผ่นโลหะ ่ ่ สั่นค้อนก็จะเคาะกระดิง ่ หูฟัง (Earpiece) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนสัญญาน
  • 6. 6 ไฟฟ้าเป็นคลื่อนเสียง ใช้แม่เหล็กถาวร ดูดแผ่นไดอะแฟรม ความแรงของแรงดึงดูดเปลี่ยนไปตามการ เปลี่ยนแปลงกระแสไฟฟ้าในขดลวดแม่เหล็ก ไฟฟ้า แผ่นไดอะแฟรมจะสั่นทาให้เกิดเสียง รีเลย์ (Relay) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เป็น สวิตซ์ ปิดวงจรโดยใช้แม่เหล็กไฟฟ้า ใช้กระแส ไฟฟ้าเพียงเล็กน้อยผ่านเข้าไปในขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อเปิด สวิตซ์ให้กระแสไฟฟ้าปริมาณมากไหลใน อีกวงจรหนึ่ง