SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
สื่อการเรียนการสอน วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
กฎ ของเกาส์สำหรับสนามไฟฟ้า   กฎของเกาส์สำหรับสนามแม่เหล็ก กฎการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าของฟาราเดย์ กฎของแอมแปร์ - แมกซ์เวลล์  ทฤษฎี เกี่ยวกับคลื่นแม่หล็กไฟฟ้าของแมกเวลล์   อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับแม่เหล็กไฟฟ้าได้ว่า    เมื่อสนามแม่เหล็กในบริเวณหนึ่งเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้า โดยสนามไฟฟ้าที่ถูกเหนี่ยวนำจะมีระนาบตั้งฉากกับทิศของสนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลง  และเช่นเดียวกัน  สนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลง  จะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก  ในระนาบตั้งฉากกับสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลง ในปี ค . ศ . 1887 Heinrich Rudolf Hertz  ได้ประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อตรวจสอบแนวคิดของ แมกซ์เวลล์  เขาใช้การเกิดประกายไฟ (spa
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในชีวิตประจำวันที่เรารู้จักมีมากมาย  เช่น  คลื่นวิทยุ  คลื่นไมโครเวฟ  ผู้ที่เสนอแนวคิดเกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคือ  Jame Clerk Maxwell    ซึ่งได้อธิบายในเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  และเป็นผู้สรุปว่าแสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  ซึ่งในการวิเคราะห์ของ  Maxwell  เขาได้พบ หลักการพื้นฐานทั้งมวลเกี่ยวกับ สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าและสรุปรวมเป็น สมการของแมกซ์เวลล์  (Maxwell’s equation)  ดังต่อไปนี้
ที่มีความต่างศักย์สูงเป็นเครื่องผลิตคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  ประกายไฟที่เกิดขึ้นในช่องว่าง จะสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาของประจุไฟฟ้าในช่องว่างดังกล่าว  และเพื่อยืนยันการเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  เขาใช้ลวดอีกเส้นหนึ่งโค้งเป็นวงกลม และทำให้มีช่องว่างระหว่างปลายลวด จากนั้นนำลวดอันที่สองมาอยู่ใกล้ช่องประกายไฟ  ปรากฎว่า มีประกายไฟเกิดขึ้นระหว่างช่องว่างที่  2  ด้วย  ซึ่งแสดงให้เห็นชัดเจนว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากช่องแรกแผ่มาทำให้เกิดประกายไฟในช่องที่  2  ด้วย  ซึ่งทำหน้าที่เหมือนสายอากาศตรวจสอบ  ต่อมาเขา  ได้ทดลองจนพบว่า คลื่นที่เกิดขึ้นสามรถสะท้อนได้เช่นเดียวกับแสง ต่อมาได้มีการสำรวจพบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ความถี่ต่างมากมาย ความถี่ต่างที่ได้พบนี้เรียกว่า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  (Electromagnetic spectrum)
การแผ่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สมการของแมกเวลล์ชี้ให้เห็นว่า  เมื่อใดสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กมีความเปลี่ยนแปลงตามเวลา สนามทั้งสองจะมีอิทธิพลต่อกัน เรียกว่าจะเกิดคู่ควบกันขึ้น  การเกิดคู่ควบกันของสนามทั้งสองนี้ทำให้สามารถถ่ายโอนพลังาน และโมเมนตัมออกไปในระยะไกลๆ เรียกการแผ่ออกไปนี้ว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า   และคลื่นต่างๆนี้ก็แผ่กระจายอยู่ทั่วไปในชีวิตประจำวันของเรา เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์ คลื่น ไมโครเวฟ แสงสว่าง รังสีอัลตราไวโอเลต  และรังสีเอกซ์เป็นต้น คำถามที่น่าสนใจคือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออกไปได้อย่างไร ?  เมื่อมีกระแส  I  ในตัวนำเส้นตรง จะมี สนามแม่เหล็กฺ  เกิดขึ้น รอบตัวนำ ( ตามกฎของแอมแปร์  ดังนั้น เมื่อกระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลง สนามแม่เหล็ก  ก็จะเปลี่ยนแปลงตามกระแสไปด้วย  การเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็ก  จะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าเหนี่ยวนำ  ( ตามกฎของฟาราเดย์ )  ในวงปิดบนระนาบที่ตั้งฉากกับ สนามแม่เหล็ก  และสนามเหนี่ยวนำบนวงปิดนี้ จะก่อให้เกิดสนามแม่เหล็ก  แผ่ออกไป การเหนี่ยวนำนี้จะเกิดต่อเนื่องไปเรื่อยๆ โดยไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ออกห่างจากสายตัวนำตามแนวรัศมี  ขอให้สังเกตว่า ประจุที่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า ( คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ) เคลื่อน ที่ ออกไปนั้น ประจุต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง  และถ้าประจุเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ออกไปก็เป็นแบบฮาร์มอนิกด้วย
ลักษณะการเหนี่ยวนำที่เกิดขึ้น   แสดงทิศการแผ่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ลักษณะการแผ่ของสนามแม่เหล็กจากสายอากาศ
แสดงทิศการแผ่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ลักษณะการแผ่ของสนามแม่เหล็กจากสายอากาศ
ในปี ค . ศ .  ๑๘๐๐ ขณะที่ เฮอเชล กำลังติดตามศึกษาดวงอาทิตย์อยู่ ในกล้องดูดาว ต้องมีการใช้เลนส์กรองแสง ซึ่งทำเป็นสีต่างๆ เฮอเชล ต้องการทราบว่า ในเลนส์แต่ละสี จะเปลี่ยนค่าแสดงความร้อนของดวงอาทิตย์หรือไม่ ท่านจึงประดิษฐ์อุปกรณ์การทดลองอย่างง่ายๆ เพื่อหาคำตอบ ซึ่งนับเป็นวิธีทดลองที่หลักแหลมเป็นอย่างมาก
ท่านใช้ปริซึมแยกแสง แล้วให้แสงต่างๆมาตกที่เทอร์โมมิเต้อร์ ซึ่งทาสีดำที่กะเปาะ เพื่อให้ดูดความร้อนดียิ่งขึ้น ความที่เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ละเอียดถี่ถ้วนเป็นวิสัยประจำตัว ท่านก็ตั้งเทอร์โมมิเตอร์ตัวหนึ่งนอกเหนือจากแสงสีต่างๆนั้น เพื่อเป็นตัวควบคุมการทดลอง ปรากฏว่า แสงสีต่าง มีอุณหภูมิสูงกว่าแสงสีขาว และอุณหภูมิสูงขึ้นจาก สีม่วง ไปหาสีแดง เฮอเชล จึงเกิดความอยากรู้ขึ้นมา แล้ววัดแถบเหนือแสงสีแดงขึ้นไปที่ไม่ปรากฏมีสีอะไร ดูเหมือนแสงอาทิตย์ธรรมดาเท่านั้นเอง แต่เฮอเชลก็ประหลาดใจเป็นอย่างยิ่ง เมื่อปรากฏว่าเทอร์โมมิเตอร์ตัวที่อยู่นอกเหนือจากแสงสีแดงนั้นกลับวัดได้อุณหภูมิสูงกว่าทุกตัว เฮอเชล จึงทำการทดลองต่อไป ก็พบว่า ส่วนของแสงที่มองไม่เห็นแต่ร้อนกว่าสีแดงนี้ มีคุณสมบัติทางกายภาพเช่นเดียวกับคลื่นแสงที่มองเห็นได้ทุกประการ เช่น การหักเห ดูดซับ ส่องผ่านหรือไม่ผ่านตัวกลาง ฯลฯ ในตอนแรก ท่านเรียกแสงนี้ว่า  calorific rays  ซึ่งก็เช่นเดิมที่การตั้งชื่อของท่านไม่ค่อยจะเป็นที่ถูกใจใครเท่าไรนัก รังสีที่ถูกค้นพบใหม่นี้ ก็ถูกเปลี่ยนชื่อไปเป็น รังสี
รังสีอินฟาเรด ปริซึมดั้งเดิมที่ เฮอเชล ใช้ในการทดลองของท่าน  ซึ่งปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่  National Museum of Science and Industry  ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ
รังสีอัลตราไวโอเลต  หรือ  รังสีเหนือม่วง  หรือ  รังสียูวี   ( ultraviolet )  เป็นช่วงหนึ่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้นกว่าแสงสีม่วง รังสีอัลตราไวโอเลตแบ่งเป็นสามชนิดย่อย ได้แก่  UVA   มีความยาวคลื่น  400–315   นาโนเมตร  UVB   มีความยาวคลื่น  315–280   นาโนเมตร  UVC   มีความยาวคลื่นน้อยกว่า  280   นาโนเมตร  ยิ่งความยาวคลื่นของรังสีสั้น ก็ยิ่งมีอันตรายมากขึ้น และก็มีประโยชน์มากขึ้นเช่นเดียวกัน  ( ในการฆ่าเชื้อด้วยรังสียูวี )
คณะผู้จัดทำ 1. นางสาว มาลินี เดชพละ 2. นางสาว ฤดีมาศ ผิวแดง 3. นางสาว นฤมล มลิวัลย์

More Related Content

What's hot

Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BMElectro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BMDechatorn Devaphalin
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรดSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าjuneniezstk
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721CUPress
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคChanthawan Suwanhitathorn
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุSomporn Laothongsarn
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405Jutapak Mahapaskorn
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมบทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมPakawan Sonna
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์nom11
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402Pitchayanis Kittichaovanun
 
นิดชุดา
นิดชุดานิดชุดา
นิดชุดาbo222
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟPram Pu-ngoen
 

What's hot (20)

Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BMElectro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมบทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
นิดชุดา
นิดชุดานิดชุดา
นิดชุดา
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟ
 

Similar to ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าthanakit553
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตkapom7
 
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Worrachet Boonyong
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงkrukhunnaphat
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสWorrachet Boonyong
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2Apinya Phuadsing
 

Similar to ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (20)

Lesson16
Lesson16Lesson16
Lesson16
 
อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
P18
P18P18
P18
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 

More from Nang Ka Nangnarak

บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวNang Ka Nangnarak
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวNang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานNang Ka Nangnarak
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบNang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552Nang Ka Nangnarak
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการNang Ka Nangnarak
 
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการแบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการNang Ka Nangnarak
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยNang Ka Nangnarak
 
โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554Nang Ka Nangnarak
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554Nang Ka Nangnarak
 
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตNang Ka Nangnarak
 

More from Nang Ka Nangnarak (20)

Vitdoc11 10-55p1
Vitdoc11 10-55p1Vitdoc11 10-55p1
Vitdoc11 10-55p1
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัว
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัว
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบ
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการแบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
 
15 มาตรฐาน
15 มาตรฐาน15 มาตรฐาน
15 มาตรฐาน
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
 
โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554
 
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
 
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
 
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
 

ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

  • 1. สื่อการเรียนการสอน วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
  • 2. กฎ ของเกาส์สำหรับสนามไฟฟ้า กฎของเกาส์สำหรับสนามแม่เหล็ก กฎการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าของฟาราเดย์ กฎของแอมแปร์ - แมกซ์เวลล์ ทฤษฎี เกี่ยวกับคลื่นแม่หล็กไฟฟ้าของแมกเวลล์ อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับแม่เหล็กไฟฟ้าได้ว่า เมื่อสนามแม่เหล็กในบริเวณหนึ่งเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้า โดยสนามไฟฟ้าที่ถูกเหนี่ยวนำจะมีระนาบตั้งฉากกับทิศของสนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลง และเช่นเดียวกัน สนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลง จะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก ในระนาบตั้งฉากกับสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลง ในปี ค . ศ . 1887 Heinrich Rudolf Hertz ได้ประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อตรวจสอบแนวคิดของ แมกซ์เวลล์ เขาใช้การเกิดประกายไฟ (spa
  • 3. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในชีวิตประจำวันที่เรารู้จักมีมากมาย เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ ผู้ที่เสนอแนวคิดเกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคือ Jame Clerk Maxwell ซึ่งได้อธิบายในเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และเป็นผู้สรุปว่าแสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งในการวิเคราะห์ของ Maxwell เขาได้พบ หลักการพื้นฐานทั้งมวลเกี่ยวกับ สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าและสรุปรวมเป็น สมการของแมกซ์เวลล์ (Maxwell’s equation) ดังต่อไปนี้
  • 4. ที่มีความต่างศักย์สูงเป็นเครื่องผลิตคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประกายไฟที่เกิดขึ้นในช่องว่าง จะสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาของประจุไฟฟ้าในช่องว่างดังกล่าว และเพื่อยืนยันการเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เขาใช้ลวดอีกเส้นหนึ่งโค้งเป็นวงกลม และทำให้มีช่องว่างระหว่างปลายลวด จากนั้นนำลวดอันที่สองมาอยู่ใกล้ช่องประกายไฟ ปรากฎว่า มีประกายไฟเกิดขึ้นระหว่างช่องว่างที่ 2 ด้วย ซึ่งแสดงให้เห็นชัดเจนว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากช่องแรกแผ่มาทำให้เกิดประกายไฟในช่องที่ 2 ด้วย ซึ่งทำหน้าที่เหมือนสายอากาศตรวจสอบ ต่อมาเขา ได้ทดลองจนพบว่า คลื่นที่เกิดขึ้นสามรถสะท้อนได้เช่นเดียวกับแสง ต่อมาได้มีการสำรวจพบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ความถี่ต่างมากมาย ความถี่ต่างที่ได้พบนี้เรียกว่า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic spectrum)
  • 5. การแผ่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สมการของแมกเวลล์ชี้ให้เห็นว่า เมื่อใดสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กมีความเปลี่ยนแปลงตามเวลา สนามทั้งสองจะมีอิทธิพลต่อกัน เรียกว่าจะเกิดคู่ควบกันขึ้น การเกิดคู่ควบกันของสนามทั้งสองนี้ทำให้สามารถถ่ายโอนพลังาน และโมเมนตัมออกไปในระยะไกลๆ เรียกการแผ่ออกไปนี้ว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นต่างๆนี้ก็แผ่กระจายอยู่ทั่วไปในชีวิตประจำวันของเรา เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์ คลื่น ไมโครเวฟ แสงสว่าง รังสีอัลตราไวโอเลต และรังสีเอกซ์เป็นต้น คำถามที่น่าสนใจคือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออกไปได้อย่างไร ? เมื่อมีกระแส I ในตัวนำเส้นตรง จะมี สนามแม่เหล็กฺ เกิดขึ้น รอบตัวนำ ( ตามกฎของแอมแปร์ ดังนั้น เมื่อกระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลง สนามแม่เหล็ก ก็จะเปลี่ยนแปลงตามกระแสไปด้วย การเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็ก จะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ( ตามกฎของฟาราเดย์ ) ในวงปิดบนระนาบที่ตั้งฉากกับ สนามแม่เหล็ก และสนามเหนี่ยวนำบนวงปิดนี้ จะก่อให้เกิดสนามแม่เหล็ก แผ่ออกไป การเหนี่ยวนำนี้จะเกิดต่อเนื่องไปเรื่อยๆ โดยไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ออกห่างจากสายตัวนำตามแนวรัศมี ขอให้สังเกตว่า ประจุที่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า ( คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ) เคลื่อน ที่ ออกไปนั้น ประจุต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง และถ้าประจุเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ออกไปก็เป็นแบบฮาร์มอนิกด้วย
  • 6. ลักษณะการเหนี่ยวนำที่เกิดขึ้น แสดงทิศการแผ่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ลักษณะการแผ่ของสนามแม่เหล็กจากสายอากาศ
  • 8. ในปี ค . ศ . ๑๘๐๐ ขณะที่ เฮอเชล กำลังติดตามศึกษาดวงอาทิตย์อยู่ ในกล้องดูดาว ต้องมีการใช้เลนส์กรองแสง ซึ่งทำเป็นสีต่างๆ เฮอเชล ต้องการทราบว่า ในเลนส์แต่ละสี จะเปลี่ยนค่าแสดงความร้อนของดวงอาทิตย์หรือไม่ ท่านจึงประดิษฐ์อุปกรณ์การทดลองอย่างง่ายๆ เพื่อหาคำตอบ ซึ่งนับเป็นวิธีทดลองที่หลักแหลมเป็นอย่างมาก
  • 9. ท่านใช้ปริซึมแยกแสง แล้วให้แสงต่างๆมาตกที่เทอร์โมมิเต้อร์ ซึ่งทาสีดำที่กะเปาะ เพื่อให้ดูดความร้อนดียิ่งขึ้น ความที่เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ละเอียดถี่ถ้วนเป็นวิสัยประจำตัว ท่านก็ตั้งเทอร์โมมิเตอร์ตัวหนึ่งนอกเหนือจากแสงสีต่างๆนั้น เพื่อเป็นตัวควบคุมการทดลอง ปรากฏว่า แสงสีต่าง มีอุณหภูมิสูงกว่าแสงสีขาว และอุณหภูมิสูงขึ้นจาก สีม่วง ไปหาสีแดง เฮอเชล จึงเกิดความอยากรู้ขึ้นมา แล้ววัดแถบเหนือแสงสีแดงขึ้นไปที่ไม่ปรากฏมีสีอะไร ดูเหมือนแสงอาทิตย์ธรรมดาเท่านั้นเอง แต่เฮอเชลก็ประหลาดใจเป็นอย่างยิ่ง เมื่อปรากฏว่าเทอร์โมมิเตอร์ตัวที่อยู่นอกเหนือจากแสงสีแดงนั้นกลับวัดได้อุณหภูมิสูงกว่าทุกตัว เฮอเชล จึงทำการทดลองต่อไป ก็พบว่า ส่วนของแสงที่มองไม่เห็นแต่ร้อนกว่าสีแดงนี้ มีคุณสมบัติทางกายภาพเช่นเดียวกับคลื่นแสงที่มองเห็นได้ทุกประการ เช่น การหักเห ดูดซับ ส่องผ่านหรือไม่ผ่านตัวกลาง ฯลฯ ในตอนแรก ท่านเรียกแสงนี้ว่า calorific rays ซึ่งก็เช่นเดิมที่การตั้งชื่อของท่านไม่ค่อยจะเป็นที่ถูกใจใครเท่าไรนัก รังสีที่ถูกค้นพบใหม่นี้ ก็ถูกเปลี่ยนชื่อไปเป็น รังสี
  • 10. รังสีอินฟาเรด ปริซึมดั้งเดิมที่ เฮอเชล ใช้ในการทดลองของท่าน ซึ่งปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่ National Museum of Science and Industry ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ
  • 11. รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ รังสีเหนือม่วง หรือ รังสียูวี ( ultraviolet ) เป็นช่วงหนึ่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้นกว่าแสงสีม่วง รังสีอัลตราไวโอเลตแบ่งเป็นสามชนิดย่อย ได้แก่ UVA มีความยาวคลื่น 400–315 นาโนเมตร UVB มีความยาวคลื่น 315–280 นาโนเมตร UVC มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 280 นาโนเมตร ยิ่งความยาวคลื่นของรังสีสั้น ก็ยิ่งมีอันตรายมากขึ้น และก็มีประโยชน์มากขึ้นเช่นเดียวกัน ( ในการฆ่าเชื้อด้วยรังสียูวี )
  • 12. คณะผู้จัดทำ 1. นางสาว มาลินี เดชพละ 2. นางสาว ฤดีมาศ ผิวแดง 3. นางสาว นฤมล มลิวัลย์