SlideShare a Scribd company logo
กลุ่มย่อยที่ 5
กลุ่มย่อยที่ 5 การเมืองที่รองรับความหลากหลาย (Democracy for All)
 นายยลดา เกริกก้อง สวนยศ

 นายมณเฑียร บุญตัน
 นางสุนี ไชยรส
 นางประกายรัตน์ ต้นธีรวงศ์
ดาเนินรายการโดย : นายเสถียร วิริยะพรรณพงศา
กรอบแนวคิดภาพรวมความหลากหลายของวิทยากร
• นายยลลดา เกริกก้อง สวนยศ : ความหลากหลายทางเพศนั้น สังคม
ยังขาดความเข้าใจธรรมชาติและความต้องการของเขา
• สอดคล้องกับนายมณเฑียรที่ระบุว่าสิ่งที่พิการไม่ใช่ปัญหาของตัว
บุคคลที่ต้องได้รับการบาบัดแก้ไข หากแต่เป็นทัศนคติของสังคมที่
มองความบกพร่องทางกายและจิตใจเป็นเรื่องผิดปกติและแปลกแยก
กลไกในการจัดการทางสังคมและการเมืองที่ไม่ตอบสนองหรือกีดกัน
คนที่มีความแตกต่างจากคนอื่น
• ในขณะที่นางสุนี ไชยรส และนางประกายรัตน์ ต้นธีรวงศ์ ได้เน้นย้าว่า
ระบบการเมืองจะต้องตั้งอยู่บนฐานของการยอมรับและเคารพว่าคน
ทุกคนต่างมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์และต้องได้รับสิทธิพื้นฐาน
อย่างเสมอภาคกัน
กรอบแนวคิดภาพรวมความหลากหลายของวิทยากร
• วิทยากรทุกท่านเห็นสอดคล้องกันว่า ระบอบประชาธิปไตยจะต้องมีกลไกทั้ง
ในเชิงสถาบันและกฎหมายที่ตอบสนองต่อลักษณะธรรมชาติและความ
ปรารถนาของกลุ่มคนต่างๆ ในสังคม
• มีภาคประชาสังคมที่เข็มแข็งเพื่อผลักดันให้เกิดความหลากหลายในสถาบัน
ทางการเมือง การออกกฎหมาย และการบังคับใช้กฎหมาย การเปิดพื้นที่
ให้กับคนทุกคนไม่ว่าเขาจะเป็นอะไรหรือคิดอย่างไร ไม่มองคนที่แตกต่างเป็น
คนที่ผิดแปลก หากแต่เป็นคน ๆ หนึ่งที่มีความเท่าเทียมกันในศักดิ์ศรีความ
เป็นมนุษย์และเคารพในสิทธิมนุษยชนเหมือนกับคนอื่น
• ซึ่งต้องมีโอกาสในการคิด ตัดสินใจ และลงมือทาด้วยตัวเองในการใช้ชีวิต
ตามวิถีที่ตนปรารถนาโดยไม่ถูกลดทอนความสามารถของมนุษย์ และนี่คือ
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย การเมืองที่เป็นไปเพื่อคนทุกคน
(democracy for all) “ให้อยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน” (inclusive society)
ความหลากหลายทางเพศ ต้องเข้าใจพื้นฐาน GLBTIQ มีอะไรบ้าง
• G=gay ชายรักชาย ชายที่ดารงตนเป็นผู้ชายธรรมดาแบบผู้ชายทั่วๆไป คนมองแล้วอาจจะรู้หรือไม่รู้ก็ได้ว่าเป็นชายรัก
ชาย
• L=lesbian ผู้หญิงรักผู้หญิง ใครก็ตามที่บอกว่าตัวเองเป็นผู้หญิงและรักกับอีกคนที่บอกตัวเองว่าเป็นผู้หญิง
• B=bisexual คือจะชายก็ได้ หรือหญิงก็ได้ที่รักได้ทั้งผู้ชายและผู้หญิง
• T=transgender คนข้ามเพศ คนที่เกิดมาเป็นเพศหนึ่ง แต่เวลาโตขึ้นกลับต้องการใช้ชีวิตเป็นอีกเพศหนึ่งซึ่งตรง
ข้ามกับเพศที่เกิดมา โดยจะแปลงเพศแล้วหรือยังก็ตาม แยกออกเป็น transsexual ซึ่งผ่าตัดแปลงเพศขั้นสุดไปอีก
เพศหนึ่งที่ต้องการอย่างถาวร ถ้าไม่ได้แปลงเพศจะรู้สึกทุกข์ ส่วนอีกกลุ่มหนึ่ง transgender คือ dual role
trans-sexism กลุ่มคนที่ต้องการจะใช้ชีวิตแบบเพศตรงข้ามเท่านั้น แต่ไม่ต้องการผ่าตัดแปลงเพศแบบขั้นสุด เช่น
อาจเสริมหน้าอก แต่ไม่แปลงเพศ วันหน้าอาจกลับมาใช้ชีวิตเพศเดิมที่เกิดมาได้ เช่น มีมิสทิฟฟานี่ที่หันมาบวชพระ
• I=intersexual คนที่เกิดมาแล้วมีปัญหาทางร่างกาย เช่น มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิงในร่างเดียวกัน หรือ
ภายนอกเขามีอวัยวะเพศชาย แต่ข้างในมีรังไข่ หรือมีอวัยวะเพศหญิง แต่มีอัณฑะหลบใน ซึ่งคนกลุ่มหลังนี้อาจจะไม่
รู้ตัวเลยจนกว่าจะไปตรวจร่างกายได้
• Q=questioning คือ คนที่ไม่ได้เลือกว่าตัวเองจะเป็นเพศอะไรอย่างใดอย่างหนึ่ง เขายืนยันว่าเขาไม่ใช่ชายหรือ
หญิง แต่มีสิทธิที่จะบอกว่าฉันเป็นฉัน ไม่ใช่ทั้งชายหรือหญิงก็ได้ ซึ่งทั้งหมดนี้ไม่มีใครสมบูรณ์ไปกว่าใคร
ความหลากหลายทางเพศ
• การเมืองที่รองรับความหลากหลาย เป็นเรื่องมาตรฐานที่จะเข้าใจความหลากหลาย
• ความหลากหลายทางเพศ LGBT (Lesbian gay IQ เป็นพื้นฐานของการ
การเมืองเรื่องความหลากหลายทางเพศ ที่ผ่าน สถาบันหรือกฎหมายที่เกี่ยวกับเรื่องนี้
• เมื่อเอาเรื่องนี้เข้าสู่การเมือง จะเกิดคาถามและความสับสนตลอด เช่น จากนายเป็น
นางสาว แต่งงานเพศเดียวกันแต่งอย่างไร ใครเป็นใครกันแน่ ผ่านมา 30-40 ปี
การเมืองเรื่องนี้ยังไม่ก้าวหน้าไปไหน เพราะผู้ใหญ่และผู้เกี่ยวข้อง ไม่ได้มีความเข้าใจ
เบื้องต้นถึงความหลากหลายทางเพศ
• การต่อสู้ทางการเมืองเพื่อให้ความหลากหลายเหล่านี้ได้รับการยอมรับนั้น เป็นเรื่องที่
ยากลาบาก แต่ถ้า “ใจไปถึง ตัวก็จะไปถึง”
• ตอนนี้เราถึงจุดจบของประชาธิปไตยของคนส่วนใหญ่ เพื่อคนส่วนใหญ่ โดยคนส่วน
ใหญ่แล้ว มันไปต่อไม่ได้ ปัญหาทั่วโลกเป็นแบบนี้เราต้องไม่ใช่ democracy
for majority แต่ต้องเป็น democracy for all ประชาธิปไตยที่เป็นไปเพื่อ
ทุกคน
• เราจะจัดการอย่างไร ในความบกพร่องหรือความเจ็บป่วยทางกายนั้น แม้จะแก้ไม่ได้
แต่ไม่ใช่ปัญหาที่สาคัญที่สุด เราสามารถอยู่กับสิ่งเหล่านี้ได้ เราสามารถสร้าง
สภาพแวดล้อมให้อยู่ได้ แต่สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อความบกพร่องต่างๆนั้น เช่น
ตึกที่ไม่สมบูรณ์ ซึ่งเป็นอานาจนิยมอยู่ในตัว สามารถที่จะแก้ไขได้ ถ้าเรามีเจตจานง
ทางการเมืองที่ดี นี่จึงเป็นเรื่องของ “การเมือง”
• เราต้องเปลี่ยนกระบวนทัศน์ที่มีต่อคนพิการและความพิการ หลักสิทธิมนุษยชน เรา
จะเว้นใครไม่ได้แม้แต่คนเดียว มองข้ามใครไม่ได้เลย แม้ฟังดูจะเป็นอุดมคติ แต่เราก็
ต้องพยายามเดินไปสู่อุดมคตินั้นให้ได้
• อานาจรัฐไม่ยอมรับความหลากหลาย และสร้างรัฐเดี่ยวหรือเอกลักษณ์
ขึ้นมาด้วยการทาลายความหลากหลาย การปฏิรูปครั้งนี้ต้องสถาปนา
ความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมอย่างแท้จริง ข้ามพื้นที่ ข้ามสังกัด
ข้ามประเด็น ข้ามกลุ่มชน
• เราพูดถึงคาว่าพิการ เรามักจะวินิจฉัยโดยทางการแพทย์ ทฤษฎีนี้เป็น
medical model ดีกรีที่เรียกว่าพิการ จะถูกชี้วัดที่ความบกพร่อง
ของบุคคล เป็นเรื่องของปัจเจกบุคคล และวัดว่าใครบกพร่องมากน้อย
กว่ากัน ขึ้นอยู่กับวิทยาการทางการแพทย์ที่จะบอกว่าใครปกติหรือไม่
ปกติ จริงๆแล้วสังคมไม่ได้โหดร้ายกับคนพิการซะทีเดียว
มิติของความพิการที่มีความหลากหลาย(นายมณเฑียร บุญตัน)
มิติของความพิการที่มีความหลากหลาย(นายมณเฑียร บุญตัน)
• สังคมพยายามจัดการปัญหานี้ด้วยการ “รักษาให้หาย” หรือให้กลับมาเป็น
ปกติให้มากที่สุด เพราะมีฐานคิดว่าเป็นเรื่องของการผิดปกติหรือปกติ แก้ผิด
ให้เป็นถูก
• วิธีคิดแบบนี้ก็ถึงทางตัน เพราะแก้ปัญหาความพิการไม่ได้จริง มาถึงอีกยุค
หนึ่ง คือ เป็น social model มองว่าแท้จริงความพิการไม่ใช่ปัญหา แต่
วิธีมองคือตัวปัญหา
• มันเป็นปัญหาสังคม สังคมตัดสินเองว่า อะไรปกติ หรือไม่ปกติ แล้วก็เอา
มาตรวัดนี้มาตัดสินในหลายๆเรื่องเช่น การสร้างรถไฟ อาคารสถานที่
การเมือง คนที่ไม่เข้ากับสิ่งเหล่านี้ก็เลยกลายเป็นปัญหาโดยปริยาย
กลายเป็นคนพิการด้วยเงื่อนไขที่สังคมสร้างขึ้น
• ยุคปัจจุบันนี้คือ ใช้สิทธิมนุษยชนมาอธิบาย มองว่าปัญหาความพิการ
ไม่ใช่ปัญหาความบกพร่อง แต่เป็นปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน การ
แก้ปัญหาความพิการจึงไม่ใช่การรักษาให้หาย แต่เป็นเรื่องของการเคารพ
สิทธิมนุษยชน ซึ่งอาจจะแก้ไขสามด้านใหญ่ๆ คือ
1) การมีส่วนร่วม ซึ่งไม่ร่วมรับอย่างเดียว แต่ต้องร่วมคิดร่วมทาร่วม
รับผิดชอบ
2) การเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมและผลิตภัณฑ์
บริการต่างๆ
3) การเสริมพลังอานาจ ถ้าสามข้อนี้ไปได้ เราจะไม่เสียเวลาไป
หมกมุ่นกับการซ่อมความพิการ
มิติของความพิการที่มีความหลากหลาย(นายมณเฑียร บุญตัน)
เยาวชนซีเรีย ๑๓ ปี”ขอให้ยุติสงคราม ไม่อยากมาเป็นผู้ลี้ภัย”
มาลาลาต่อสู้เพื่อการศึกษาเด็กหญิง
15
• สิทธิชุมชน การกระจายอานาจ..
สิทธิองค์กรปกครองท้องถิ่น
ประชาชนมีสิทธิอานาจร่วมตัดสินใจ
/ จัดการฐานทรัพยากร/คุณภาพชีวิต
และตรวจสอบการใช้อานาจทุกระดับ
ความเสมอภาค..ความเท่าเทียมกับความยุติธรรม
17
ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
สิทธิชุมชน กระจายอานาจ
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความ
เสมอภาค ไม่ถูกเลือกปฎิบัติ
มิติหญิงชาย เชื้อชาติ ศาสนา
ระบบสวัสดิการสังคม/
คุณภาพชีวิต/
ไม่เหลื่อมล้า
นายกฯ สภาทุกระดับ
มาจากการเลือกตั้ง
ถูกถอดถอนได้
ฐานทรัพยากรคือคุณภาพ
ชีวิต
อุดมการและวิสัยทัศน์ที่ดี
ของผู้นาทุกระดับ
เรื่องสิทธิมนุษยชน(สุนี ไชยรส)
• คนทุกเพศวันนี้ต้องการอะไรบ้างเพื่อการดารงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
การเมืองต้องรองรับความต้องการนี้ให้ได้ เราอยู่ในที่ๆพร้อมจะถูกไล่ที่ตลอดเวลา
หรือเปล่า
• อะไรสาคัญที่สุดที่จะทาให้เราเป็นคนที่มีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เท่ากัน เราไม่ต้อง
รวยเท่ากัน แต่ขอโอกาสที่เท่าเทียมกันและสภาพความเป็นอยู่ที่เอื้อต่อการพัฒนา
ตัวเอง แล้วฉันจะตัดสินใจด้วยตัวของฉันเอง ใครอย่าตัดสินใจแทนฉันเลย พูดทั้ง
ในแง่ร่างกาย จิตใจ สังคม และการเมือง
• การเมืองที่รองรับความหลากหลาย ไม่ว่าฉันจะเป็นใครก็ตาม ขอฉันได้รับสิทธิขั้น
พื้นฐานโดยเสมอภาค สิทธิที่จะเข้าถึงและการดูแลตัวเอง ขอฉันมีโอกาสเท่าเทียม
กันในการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเอง
• เราไม่ต้องการการสงเคราะห์ ไม่ต้องการรับเงินบรรเทาทุกข์ แต่ต้องให้ทุกคน
สามารถเข้าถึงสิทธิพื้นฐานที่ควรจะได้
• ทัศนคติแบบเหมารวมของสังคม เป็นจุดอ่อนที่ทาให้เราไม่สามารถเข้าใจได้
ว่าแต่ละกลุ่มมีความซับซ้อนและเป็นส่วนหนึ่งขององคาพยพทางสังคม
ทัศนคติแบบนี้ทาให้เกิดสิ่งที่หากไม่กีดกัน ก็สงเคราะห์
• รัฐธรรมนูญเป็นรูปธรรมสาคัญที่จะสะท้อนการยอมรับความหลากหลายของ
กลุ่มคนในสังคม เราจะสร้างระบบการเมืองและกลไกทางสังคมการเมืองที่
รองรับความหลากหลายทางถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ
สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจ และความเชื่อทางการเมือง
เรื่องสิทธิมนุษยชน(สุนี ไชยรส)
เรื่องสิทธิมนุษยชน(สุนี ไชยรส)
• เราต้องการประชาธิปไตย ต้องการการเลือกตั้งทุกระดับ เราต้องเชื่อมั่นคนทุกกลุ่มใน
สังคมว่าเขามีสิทธิในการเลือกและตัดสินใจผู้นาของเขาได้
• แต่สิ่งที่ต้องการมากกว่านั้นคือ ประชาธิปไตยที่มีส่วนร่วม ทุกโครงการที่เกี่ยวข้อง
ประชาชนต้องมีส่วน และมีการกระจายอานาจ ทั้งสามด้านนี้ต้องไปด้วยกัน เพราะ
ส่งผลต่อกันและกัน
• สังคมไทยยังมีอานาจต่อรองที่ไม่เท่าเทียมกัน กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายลูก
จึงเป็นเรื่องสาคัญที่ภาคประชาสังคมจะต้องเข้าไปต่อรองกับอานาจภาครัฐผ่าน
กฎหมายเหล่านี้
• กฎหมายและโครงสร้างทางสังคมที่เป็นอยู่มันไม่มีความเป็นธรรม เช่น กรณีของที่อยู่
อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์ที่สะท้อนความไม่เป็นธรรมทางกฎหมาย ซึ่งมีผลทาให้ที่อยู่
อาศัยของผู้ที่อยู่มาก่อนมีกฎหมาย ต้องถูกเผาและได้รับการรับรองจากกฎหมาย
นางประกายรัตน์ ต้นธีรวงศ์ พูดถึงสิทธิสตรีและเด็ก
• ปัจจุบันมีผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
• สิทธิมนุษยชนเป็นหลักสาคัญของการเมืองยุคใหม่ การเมืองภาคประชาชน
เป็นช่องทางในการพัฒนาหลักสิทธิมนุษยชนของประเทศนี้ซึ่งเป็น
กระบวนการประชาสังคม หัวใจคือการมีส่วนร่วม ปัจจุบันสังคมไทยและคน
ไทยเข้าใจเรื่องสิทธิมนุษยชนเพิ่มมากขึ้น แม้จะยังไม่ทั่วถึงก็ตาม
• ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ.2558 ซึ่งจะ
เป็นเรื่องของการพัฒนาศักยภาพของผู้หญิง การมีส่วนร่วมทางการเมืองของ
ผู้หญิง และการตัดสินใจ ซึ่งรวมถึงเรื่องเด็ก ประเทศไทยก็ออกกฎหมาย เช่น
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550
แต่หลายๆเรื่องก็ยังไม่เกิดผลในทางปฏิบัติเพราะรัฐบริหารจัดการแบบ
top-down
บทเรียนจากชุมชน:ความเชื่อและการสืบสาน แนวทางการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติในเขตพื้นที่ตาบลทาเหนือ อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่
• รัฐควรนาบทเรียนของชุมชนที่มีกลไกในการหล่อหลอมความเชื่อของชุมชนหรือชนเผ่าที่มี
ความหลากหลายในแต่ละพื้นที่มาสร้างเป็นเครื่องมือสาคัญในการส่งเสริมมากกว่าการ
ควบคุมกากับเพื่อดูแลรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
• ในมิติของชุมชนการไม่ยอมรับกฎเกณฑ์ของรัฐหรือการปฏิเสธ เงื่อนไขของหน่วยการ
ปกครองไม่ใช่การต่อต้านอานาจรัฐ หากแต่เป็นความพยายามให้เกิดการยอมรับความ
หลากหลายของระบบความเชื่อและวัฒนธรรมเกี่ยวกับคนอยู่กับป่า
• การนาเสนอวิถีการดารงชีวิตของชุมชน ที่พวกเขาเหล่านั้นเชื่อว่าเป็นกลไกในการสร้างความ
มั่นคงของชุมชนและความหมายของประชาธิปไตยในมิติของชุมชนคือการที่สมาชิกในชุมชน
ยอมรับการดารงชีวิตร่วมกันกับถิ่นฐานและธรรมชาติในพื้นที่การที่สมาชิกในชุมชนเล็งเห็น
ผลประโยชน์ส่วนรวมและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง
ยั่งยืนบนพื้นฐานของสิทธิความเป็นเจ้าของเหนือทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน
• ถ้าจะมาศึกษาโดยมีความรู้แบบเต็มเปี่ ยม เขาไม่มีอะไรจะให้
แต่ถ้ามาด้วยความคิดที่ว่างเปล่า เขามีเรื่องที่จะเล่าให้ฟังอย่าง
มากมายเกี่ยวกับประชาธิปไตยชุมชน ที่สร้างขึ้นมาเอง
• เขามีประชาธิปไตย ที่ไม่ใช่ประชาธิปไตยแบบที่หน่วยงานคิด
ไม่ใช่ประชาธิปไตยอย่างที่มหาวิทยาลัยสอน แต่เป็น
ประชาธิปไตยที่ชุมชนเขาสร้างขึ้นเอง
• เขามีโฉนดเยียบย่า ที่วัดผืนแผ่นดินป่าด้วยเท้า
ดร.ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พื้นที่ทาเหนือมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและความรู้ อยู่ในแบบ
ชุมชนของเขา ในป่ าที่ห่างไกล มีการออกแบบประชาธิปไตยของตัวเอง
• ชาวบ้านในพื้นที่มีกระบวนการเรียนรู้และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติใน
พื้นที่ของตัวเอง รัฐมองป่าในมิติของป่า ชาวบ้านมองป่าในมิติของการใช้
ชีวิตและอยู่อาศัยในพื้นที่ เป็นการให้คุณค่าต่างกัน
• ชาวบ้านได้เข้ามาตั้งรกรากในพื้นที่ป่าแห่งนี้มายาวนาน มีความขัดแย้ง
ระหว่างรัฐกับประชาชน ต่อสู้มายาวนาน จนพบว่าป่าของเขาเสื่อมสลายไป
เรื่อยๆจากการจัดการของภาครัฐ
• ชาวบ้านจึงมานั่งคุยกันว่า จะใช้มิติชุมชนในการแก้ไขปัญหาทั้งหมด ใช้เรื่อง
ของผีในการรักษาป่า (ป่าศักดิ์สิทธิและป่าสะดือ) ชาวบ้านพยายามร่าง
บทบัญญัติของท้องถิ่นตัวเองขึ้นมาในการจัดการทรัพยากรโดยไม่ค่อย
คาดหวังจากการเมืองเท่าไร มีการสร้างเครือข่ายชุมชนเพื่อแลกเปลี่ยน
เรียนรู้
เป้าหมายของประชาธิปไตย Mr. David King
• การใช้พื้นที่ส่วนตัวอย่างเหมาะสมโดยที่ทุกคนได้รับประโยชน์
• ประชาธิปไตยจาเป็นต้องมีชุมชนที่รวมเอาประชาชนกับพื้นที่เข้าด้วยกัน
• คนแต่ละคนอาศัยอยู่ในชุมชนต่างๆ โดยมีระดับความความเป็นพลเมืองที่ต่างกัน
และกลไกสาหรับการปกครองตนเองต่างกัน
• การตัดสินใจในบางเรื่องเหมาะสมที่จะให้ท้องถิ่นตัดสินใจได้เองโดยประชาชนที่
ผ่านการเลือกตั้งในระดับท้องถิ่น
• และนานโยบายไปปฏิบัติโดยรัฐบาลท้องถิ่นใช้ทรัพยากรที่เหมาะสม ซึ่ง
นักการเมืองต้องหาทางในการกระจายอานาจ โครงสร้างกลไกในการตัดสินใจทาง
นโยบายแก่ชุมชนท้องถิ่น
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย

More Related Content

Viewers also liked

สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
Taraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
Taraya Srivilas
 
กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพ
Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
Taraya Srivilas
 
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
Taraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
Taraya Srivilas
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
Taraya Srivilas
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
Taraya Srivilas
 
Gestión eficaz del tiempo y motivaciones
Gestión eficaz del tiempo y motivacionesGestión eficaz del tiempo y motivaciones
Gestión eficaz del tiempo y motivacionesEmilio Soriano
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
Taraya Srivilas
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
Taraya Srivilas
 
iร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญiร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญ
Taraya Srivilas
 
กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)
Taraya Srivilas
 
อิสราเอล ปาเลสไตน์
อิสราเอล  ปาเลสไตน์อิสราเอล  ปาเลสไตน์
อิสราเอล ปาเลสไตน์
Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
Taraya Srivilas
 

Viewers also liked (18)

สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพ
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
 
Gestión eficaz del tiempo y motivaciones
Gestión eficaz del tiempo y motivacionesGestión eficaz del tiempo y motivaciones
Gestión eficaz del tiempo y motivaciones
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
 
iร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญiร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญ
 
กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)
 
อิสราเอล ปาเลสไตน์
อิสราเอล  ปาเลสไตน์อิสราเอล  ปาเลสไตน์
อิสราเอล ปาเลสไตน์
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

Similar to การเมืองที่รองรับความหลากหลาย

บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติบทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
Teetut Tresirichod
 
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าสื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
Soraj Hongladarom
 
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายการพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
Somprasong friend Ka Nuamboonlue
 
disability and/or mental illness for hospital dentistry
disability and/or mental illness for hospital dentistrydisability and/or mental illness for hospital dentistry
disability and/or mental illness for hospital dentistry
matanaslideshare
 
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
เกมส์ 'เกมส์'
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
jirawat_r
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
Poramate Minsiri
 
นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "
นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "
นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "
Yanee Tongmanee
 
จริยธรรมบุคคลกับการเป็นผู้นำ
จริยธรรมบุคคลกับการเป็นผู้นำจริยธรรมบุคคลกับการเป็นผู้นำ
จริยธรรมบุคคลกับการเป็นผู้นำ
Sansana Siritarm
 
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differencesChapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Teetut Tresirichod
 
8 ประเด็นโลกศึกษา
8 ประเด็นโลกศึกษา8 ประเด็นโลกศึกษา
8 ประเด็นโลกศึกษาysmhcnboice
 
3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management
Watcharin Chongkonsatit
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนThawankoRn Yenglam
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำ
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำบุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำ
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำguest7530ba
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
Chalit Arm'k
 
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชนหลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
พัน พัน
 
Chapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureChapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of culture
Teetut Tresirichod
 

Similar to การเมืองที่รองรับความหลากหลาย (20)

บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติบทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
 
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าสื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
 
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายการพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
 
disability and/or mental illness for hospital dentistry
disability and/or mental illness for hospital dentistrydisability and/or mental illness for hospital dentistry
disability and/or mental illness for hospital dentistry
 
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
 
นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "
นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "
นวัตกรรม " พัฒนาระบบการดูแลคนพิการชุมชนคนปากน้ำ "
 
จริยธรรมบุคคลกับการเป็นผู้นำ
จริยธรรมบุคคลกับการเป็นผู้นำจริยธรรมบุคคลกับการเป็นผู้นำ
จริยธรรมบุคคลกับการเป็นผู้นำ
 
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differencesChapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
 
8 ประเด็นโลกศึกษา
8 ประเด็นโลกศึกษา8 ประเด็นโลกศึกษา
8 ประเด็นโลกศึกษา
 
3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำ
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำบุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำ
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำ
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
 
เร ยงความ
เร ยงความเร ยงความ
เร ยงความ
 
เร ยงความ
เร ยงความเร ยงความ
เร ยงความ
 
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชนหลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
 
Chapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureChapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of culture
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
Taraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
Taraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
Taraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
Taraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
Taraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
Taraya Srivilas
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
Taraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
Taraya Srivilas
 
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562  นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
Taraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (17)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562  นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
 

การเมืองที่รองรับความหลากหลาย

  • 1.
  • 3. กลุ่มย่อยที่ 5 การเมืองที่รองรับความหลากหลาย (Democracy for All)  นายยลดา เกริกก้อง สวนยศ   นายมณเฑียร บุญตัน  นางสุนี ไชยรส  นางประกายรัตน์ ต้นธีรวงศ์ ดาเนินรายการโดย : นายเสถียร วิริยะพรรณพงศา
  • 4.
  • 5. กรอบแนวคิดภาพรวมความหลากหลายของวิทยากร • นายยลลดา เกริกก้อง สวนยศ : ความหลากหลายทางเพศนั้น สังคม ยังขาดความเข้าใจธรรมชาติและความต้องการของเขา • สอดคล้องกับนายมณเฑียรที่ระบุว่าสิ่งที่พิการไม่ใช่ปัญหาของตัว บุคคลที่ต้องได้รับการบาบัดแก้ไข หากแต่เป็นทัศนคติของสังคมที่ มองความบกพร่องทางกายและจิตใจเป็นเรื่องผิดปกติและแปลกแยก กลไกในการจัดการทางสังคมและการเมืองที่ไม่ตอบสนองหรือกีดกัน คนที่มีความแตกต่างจากคนอื่น • ในขณะที่นางสุนี ไชยรส และนางประกายรัตน์ ต้นธีรวงศ์ ได้เน้นย้าว่า ระบบการเมืองจะต้องตั้งอยู่บนฐานของการยอมรับและเคารพว่าคน ทุกคนต่างมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์และต้องได้รับสิทธิพื้นฐาน อย่างเสมอภาคกัน
  • 6. กรอบแนวคิดภาพรวมความหลากหลายของวิทยากร • วิทยากรทุกท่านเห็นสอดคล้องกันว่า ระบอบประชาธิปไตยจะต้องมีกลไกทั้ง ในเชิงสถาบันและกฎหมายที่ตอบสนองต่อลักษณะธรรมชาติและความ ปรารถนาของกลุ่มคนต่างๆ ในสังคม • มีภาคประชาสังคมที่เข็มแข็งเพื่อผลักดันให้เกิดความหลากหลายในสถาบัน ทางการเมือง การออกกฎหมาย และการบังคับใช้กฎหมาย การเปิดพื้นที่ ให้กับคนทุกคนไม่ว่าเขาจะเป็นอะไรหรือคิดอย่างไร ไม่มองคนที่แตกต่างเป็น คนที่ผิดแปลก หากแต่เป็นคน ๆ หนึ่งที่มีความเท่าเทียมกันในศักดิ์ศรีความ เป็นมนุษย์และเคารพในสิทธิมนุษยชนเหมือนกับคนอื่น • ซึ่งต้องมีโอกาสในการคิด ตัดสินใจ และลงมือทาด้วยตัวเองในการใช้ชีวิต ตามวิถีที่ตนปรารถนาโดยไม่ถูกลดทอนความสามารถของมนุษย์ และนี่คือ การเมืองที่รองรับความหลากหลาย การเมืองที่เป็นไปเพื่อคนทุกคน (democracy for all) “ให้อยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน” (inclusive society)
  • 7. ความหลากหลายทางเพศ ต้องเข้าใจพื้นฐาน GLBTIQ มีอะไรบ้าง • G=gay ชายรักชาย ชายที่ดารงตนเป็นผู้ชายธรรมดาแบบผู้ชายทั่วๆไป คนมองแล้วอาจจะรู้หรือไม่รู้ก็ได้ว่าเป็นชายรัก ชาย • L=lesbian ผู้หญิงรักผู้หญิง ใครก็ตามที่บอกว่าตัวเองเป็นผู้หญิงและรักกับอีกคนที่บอกตัวเองว่าเป็นผู้หญิง • B=bisexual คือจะชายก็ได้ หรือหญิงก็ได้ที่รักได้ทั้งผู้ชายและผู้หญิง • T=transgender คนข้ามเพศ คนที่เกิดมาเป็นเพศหนึ่ง แต่เวลาโตขึ้นกลับต้องการใช้ชีวิตเป็นอีกเพศหนึ่งซึ่งตรง ข้ามกับเพศที่เกิดมา โดยจะแปลงเพศแล้วหรือยังก็ตาม แยกออกเป็น transsexual ซึ่งผ่าตัดแปลงเพศขั้นสุดไปอีก เพศหนึ่งที่ต้องการอย่างถาวร ถ้าไม่ได้แปลงเพศจะรู้สึกทุกข์ ส่วนอีกกลุ่มหนึ่ง transgender คือ dual role trans-sexism กลุ่มคนที่ต้องการจะใช้ชีวิตแบบเพศตรงข้ามเท่านั้น แต่ไม่ต้องการผ่าตัดแปลงเพศแบบขั้นสุด เช่น อาจเสริมหน้าอก แต่ไม่แปลงเพศ วันหน้าอาจกลับมาใช้ชีวิตเพศเดิมที่เกิดมาได้ เช่น มีมิสทิฟฟานี่ที่หันมาบวชพระ • I=intersexual คนที่เกิดมาแล้วมีปัญหาทางร่างกาย เช่น มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิงในร่างเดียวกัน หรือ ภายนอกเขามีอวัยวะเพศชาย แต่ข้างในมีรังไข่ หรือมีอวัยวะเพศหญิง แต่มีอัณฑะหลบใน ซึ่งคนกลุ่มหลังนี้อาจจะไม่ รู้ตัวเลยจนกว่าจะไปตรวจร่างกายได้ • Q=questioning คือ คนที่ไม่ได้เลือกว่าตัวเองจะเป็นเพศอะไรอย่างใดอย่างหนึ่ง เขายืนยันว่าเขาไม่ใช่ชายหรือ หญิง แต่มีสิทธิที่จะบอกว่าฉันเป็นฉัน ไม่ใช่ทั้งชายหรือหญิงก็ได้ ซึ่งทั้งหมดนี้ไม่มีใครสมบูรณ์ไปกว่าใคร
  • 8. ความหลากหลายทางเพศ • การเมืองที่รองรับความหลากหลาย เป็นเรื่องมาตรฐานที่จะเข้าใจความหลากหลาย • ความหลากหลายทางเพศ LGBT (Lesbian gay IQ เป็นพื้นฐานของการ การเมืองเรื่องความหลากหลายทางเพศ ที่ผ่าน สถาบันหรือกฎหมายที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ • เมื่อเอาเรื่องนี้เข้าสู่การเมือง จะเกิดคาถามและความสับสนตลอด เช่น จากนายเป็น นางสาว แต่งงานเพศเดียวกันแต่งอย่างไร ใครเป็นใครกันแน่ ผ่านมา 30-40 ปี การเมืองเรื่องนี้ยังไม่ก้าวหน้าไปไหน เพราะผู้ใหญ่และผู้เกี่ยวข้อง ไม่ได้มีความเข้าใจ เบื้องต้นถึงความหลากหลายทางเพศ • การต่อสู้ทางการเมืองเพื่อให้ความหลากหลายเหล่านี้ได้รับการยอมรับนั้น เป็นเรื่องที่ ยากลาบาก แต่ถ้า “ใจไปถึง ตัวก็จะไปถึง”
  • 9. • ตอนนี้เราถึงจุดจบของประชาธิปไตยของคนส่วนใหญ่ เพื่อคนส่วนใหญ่ โดยคนส่วน ใหญ่แล้ว มันไปต่อไม่ได้ ปัญหาทั่วโลกเป็นแบบนี้เราต้องไม่ใช่ democracy for majority แต่ต้องเป็น democracy for all ประชาธิปไตยที่เป็นไปเพื่อ ทุกคน • เราจะจัดการอย่างไร ในความบกพร่องหรือความเจ็บป่วยทางกายนั้น แม้จะแก้ไม่ได้ แต่ไม่ใช่ปัญหาที่สาคัญที่สุด เราสามารถอยู่กับสิ่งเหล่านี้ได้ เราสามารถสร้าง สภาพแวดล้อมให้อยู่ได้ แต่สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อความบกพร่องต่างๆนั้น เช่น ตึกที่ไม่สมบูรณ์ ซึ่งเป็นอานาจนิยมอยู่ในตัว สามารถที่จะแก้ไขได้ ถ้าเรามีเจตจานง ทางการเมืองที่ดี นี่จึงเป็นเรื่องของ “การเมือง” • เราต้องเปลี่ยนกระบวนทัศน์ที่มีต่อคนพิการและความพิการ หลักสิทธิมนุษยชน เรา จะเว้นใครไม่ได้แม้แต่คนเดียว มองข้ามใครไม่ได้เลย แม้ฟังดูจะเป็นอุดมคติ แต่เราก็ ต้องพยายามเดินไปสู่อุดมคตินั้นให้ได้
  • 10. • อานาจรัฐไม่ยอมรับความหลากหลาย และสร้างรัฐเดี่ยวหรือเอกลักษณ์ ขึ้นมาด้วยการทาลายความหลากหลาย การปฏิรูปครั้งนี้ต้องสถาปนา ความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมอย่างแท้จริง ข้ามพื้นที่ ข้ามสังกัด ข้ามประเด็น ข้ามกลุ่มชน • เราพูดถึงคาว่าพิการ เรามักจะวินิจฉัยโดยทางการแพทย์ ทฤษฎีนี้เป็น medical model ดีกรีที่เรียกว่าพิการ จะถูกชี้วัดที่ความบกพร่อง ของบุคคล เป็นเรื่องของปัจเจกบุคคล และวัดว่าใครบกพร่องมากน้อย กว่ากัน ขึ้นอยู่กับวิทยาการทางการแพทย์ที่จะบอกว่าใครปกติหรือไม่ ปกติ จริงๆแล้วสังคมไม่ได้โหดร้ายกับคนพิการซะทีเดียว มิติของความพิการที่มีความหลากหลาย(นายมณเฑียร บุญตัน)
  • 11. มิติของความพิการที่มีความหลากหลาย(นายมณเฑียร บุญตัน) • สังคมพยายามจัดการปัญหานี้ด้วยการ “รักษาให้หาย” หรือให้กลับมาเป็น ปกติให้มากที่สุด เพราะมีฐานคิดว่าเป็นเรื่องของการผิดปกติหรือปกติ แก้ผิด ให้เป็นถูก • วิธีคิดแบบนี้ก็ถึงทางตัน เพราะแก้ปัญหาความพิการไม่ได้จริง มาถึงอีกยุค หนึ่ง คือ เป็น social model มองว่าแท้จริงความพิการไม่ใช่ปัญหา แต่ วิธีมองคือตัวปัญหา • มันเป็นปัญหาสังคม สังคมตัดสินเองว่า อะไรปกติ หรือไม่ปกติ แล้วก็เอา มาตรวัดนี้มาตัดสินในหลายๆเรื่องเช่น การสร้างรถไฟ อาคารสถานที่ การเมือง คนที่ไม่เข้ากับสิ่งเหล่านี้ก็เลยกลายเป็นปัญหาโดยปริยาย กลายเป็นคนพิการด้วยเงื่อนไขที่สังคมสร้างขึ้น
  • 12. • ยุคปัจจุบันนี้คือ ใช้สิทธิมนุษยชนมาอธิบาย มองว่าปัญหาความพิการ ไม่ใช่ปัญหาความบกพร่อง แต่เป็นปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน การ แก้ปัญหาความพิการจึงไม่ใช่การรักษาให้หาย แต่เป็นเรื่องของการเคารพ สิทธิมนุษยชน ซึ่งอาจจะแก้ไขสามด้านใหญ่ๆ คือ 1) การมีส่วนร่วม ซึ่งไม่ร่วมรับอย่างเดียว แต่ต้องร่วมคิดร่วมทาร่วม รับผิดชอบ 2) การเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมและผลิตภัณฑ์ บริการต่างๆ 3) การเสริมพลังอานาจ ถ้าสามข้อนี้ไปได้ เราจะไม่เสียเวลาไป หมกมุ่นกับการซ่อมความพิการ มิติของความพิการที่มีความหลากหลาย(นายมณเฑียร บุญตัน)
  • 13. เยาวชนซีเรีย ๑๓ ปี”ขอให้ยุติสงคราม ไม่อยากมาเป็นผู้ลี้ภัย”
  • 15. 15 • สิทธิชุมชน การกระจายอานาจ.. สิทธิองค์กรปกครองท้องถิ่น ประชาชนมีสิทธิอานาจร่วมตัดสินใจ / จัดการฐานทรัพยากร/คุณภาพชีวิต และตรวจสอบการใช้อานาจทุกระดับ
  • 17. 17 ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม สิทธิชุมชน กระจายอานาจ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความ เสมอภาค ไม่ถูกเลือกปฎิบัติ มิติหญิงชาย เชื้อชาติ ศาสนา ระบบสวัสดิการสังคม/ คุณภาพชีวิต/ ไม่เหลื่อมล้า นายกฯ สภาทุกระดับ มาจากการเลือกตั้ง ถูกถอดถอนได้ ฐานทรัพยากรคือคุณภาพ ชีวิต อุดมการและวิสัยทัศน์ที่ดี ของผู้นาทุกระดับ
  • 18. เรื่องสิทธิมนุษยชน(สุนี ไชยรส) • คนทุกเพศวันนี้ต้องการอะไรบ้างเพื่อการดารงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ การเมืองต้องรองรับความต้องการนี้ให้ได้ เราอยู่ในที่ๆพร้อมจะถูกไล่ที่ตลอดเวลา หรือเปล่า • อะไรสาคัญที่สุดที่จะทาให้เราเป็นคนที่มีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เท่ากัน เราไม่ต้อง รวยเท่ากัน แต่ขอโอกาสที่เท่าเทียมกันและสภาพความเป็นอยู่ที่เอื้อต่อการพัฒนา ตัวเอง แล้วฉันจะตัดสินใจด้วยตัวของฉันเอง ใครอย่าตัดสินใจแทนฉันเลย พูดทั้ง ในแง่ร่างกาย จิตใจ สังคม และการเมือง • การเมืองที่รองรับความหลากหลาย ไม่ว่าฉันจะเป็นใครก็ตาม ขอฉันได้รับสิทธิขั้น พื้นฐานโดยเสมอภาค สิทธิที่จะเข้าถึงและการดูแลตัวเอง ขอฉันมีโอกาสเท่าเทียม กันในการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเอง
  • 19. • เราไม่ต้องการการสงเคราะห์ ไม่ต้องการรับเงินบรรเทาทุกข์ แต่ต้องให้ทุกคน สามารถเข้าถึงสิทธิพื้นฐานที่ควรจะได้ • ทัศนคติแบบเหมารวมของสังคม เป็นจุดอ่อนที่ทาให้เราไม่สามารถเข้าใจได้ ว่าแต่ละกลุ่มมีความซับซ้อนและเป็นส่วนหนึ่งขององคาพยพทางสังคม ทัศนคติแบบนี้ทาให้เกิดสิ่งที่หากไม่กีดกัน ก็สงเคราะห์ • รัฐธรรมนูญเป็นรูปธรรมสาคัญที่จะสะท้อนการยอมรับความหลากหลายของ กลุ่มคนในสังคม เราจะสร้างระบบการเมืองและกลไกทางสังคมการเมืองที่ รองรับความหลากหลายทางถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจ และความเชื่อทางการเมือง เรื่องสิทธิมนุษยชน(สุนี ไชยรส)
  • 20. เรื่องสิทธิมนุษยชน(สุนี ไชยรส) • เราต้องการประชาธิปไตย ต้องการการเลือกตั้งทุกระดับ เราต้องเชื่อมั่นคนทุกกลุ่มใน สังคมว่าเขามีสิทธิในการเลือกและตัดสินใจผู้นาของเขาได้ • แต่สิ่งที่ต้องการมากกว่านั้นคือ ประชาธิปไตยที่มีส่วนร่วม ทุกโครงการที่เกี่ยวข้อง ประชาชนต้องมีส่วน และมีการกระจายอานาจ ทั้งสามด้านนี้ต้องไปด้วยกัน เพราะ ส่งผลต่อกันและกัน • สังคมไทยยังมีอานาจต่อรองที่ไม่เท่าเทียมกัน กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายลูก จึงเป็นเรื่องสาคัญที่ภาคประชาสังคมจะต้องเข้าไปต่อรองกับอานาจภาครัฐผ่าน กฎหมายเหล่านี้ • กฎหมายและโครงสร้างทางสังคมที่เป็นอยู่มันไม่มีความเป็นธรรม เช่น กรณีของที่อยู่ อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์ที่สะท้อนความไม่เป็นธรรมทางกฎหมาย ซึ่งมีผลทาให้ที่อยู่ อาศัยของผู้ที่อยู่มาก่อนมีกฎหมาย ต้องถูกเผาและได้รับการรับรองจากกฎหมาย
  • 21. นางประกายรัตน์ ต้นธีรวงศ์ พูดถึงสิทธิสตรีและเด็ก • ปัจจุบันมีผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย • สิทธิมนุษยชนเป็นหลักสาคัญของการเมืองยุคใหม่ การเมืองภาคประชาชน เป็นช่องทางในการพัฒนาหลักสิทธิมนุษยชนของประเทศนี้ซึ่งเป็น กระบวนการประชาสังคม หัวใจคือการมีส่วนร่วม ปัจจุบันสังคมไทยและคน ไทยเข้าใจเรื่องสิทธิมนุษยชนเพิ่มมากขึ้น แม้จะยังไม่ทั่วถึงก็ตาม • ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ.2558 ซึ่งจะ เป็นเรื่องของการพัฒนาศักยภาพของผู้หญิง การมีส่วนร่วมทางการเมืองของ ผู้หญิง และการตัดสินใจ ซึ่งรวมถึงเรื่องเด็ก ประเทศไทยก็ออกกฎหมาย เช่น พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550 แต่หลายๆเรื่องก็ยังไม่เกิดผลในทางปฏิบัติเพราะรัฐบริหารจัดการแบบ top-down
  • 22. บทเรียนจากชุมชน:ความเชื่อและการสืบสาน แนวทางการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติในเขตพื้นที่ตาบลทาเหนือ อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่ • รัฐควรนาบทเรียนของชุมชนที่มีกลไกในการหล่อหลอมความเชื่อของชุมชนหรือชนเผ่าที่มี ความหลากหลายในแต่ละพื้นที่มาสร้างเป็นเครื่องมือสาคัญในการส่งเสริมมากกว่าการ ควบคุมกากับเพื่อดูแลรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ในมิติของชุมชนการไม่ยอมรับกฎเกณฑ์ของรัฐหรือการปฏิเสธ เงื่อนไขของหน่วยการ ปกครองไม่ใช่การต่อต้านอานาจรัฐ หากแต่เป็นความพยายามให้เกิดการยอมรับความ หลากหลายของระบบความเชื่อและวัฒนธรรมเกี่ยวกับคนอยู่กับป่า • การนาเสนอวิถีการดารงชีวิตของชุมชน ที่พวกเขาเหล่านั้นเชื่อว่าเป็นกลไกในการสร้างความ มั่นคงของชุมชนและความหมายของประชาธิปไตยในมิติของชุมชนคือการที่สมาชิกในชุมชน ยอมรับการดารงชีวิตร่วมกันกับถิ่นฐานและธรรมชาติในพื้นที่การที่สมาชิกในชุมชนเล็งเห็น ผลประโยชน์ส่วนรวมและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง ยั่งยืนบนพื้นฐานของสิทธิความเป็นเจ้าของเหนือทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน
  • 23. • ถ้าจะมาศึกษาโดยมีความรู้แบบเต็มเปี่ ยม เขาไม่มีอะไรจะให้ แต่ถ้ามาด้วยความคิดที่ว่างเปล่า เขามีเรื่องที่จะเล่าให้ฟังอย่าง มากมายเกี่ยวกับประชาธิปไตยชุมชน ที่สร้างขึ้นมาเอง • เขามีประชาธิปไตย ที่ไม่ใช่ประชาธิปไตยแบบที่หน่วยงานคิด ไม่ใช่ประชาธิปไตยอย่างที่มหาวิทยาลัยสอน แต่เป็น ประชาธิปไตยที่ชุมชนเขาสร้างขึ้นเอง • เขามีโฉนดเยียบย่า ที่วัดผืนแผ่นดินป่าด้วยเท้า ดร.ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 24. พื้นที่ทาเหนือมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและความรู้ อยู่ในแบบ ชุมชนของเขา ในป่ าที่ห่างไกล มีการออกแบบประชาธิปไตยของตัวเอง • ชาวบ้านในพื้นที่มีกระบวนการเรียนรู้และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติใน พื้นที่ของตัวเอง รัฐมองป่าในมิติของป่า ชาวบ้านมองป่าในมิติของการใช้ ชีวิตและอยู่อาศัยในพื้นที่ เป็นการให้คุณค่าต่างกัน • ชาวบ้านได้เข้ามาตั้งรกรากในพื้นที่ป่าแห่งนี้มายาวนาน มีความขัดแย้ง ระหว่างรัฐกับประชาชน ต่อสู้มายาวนาน จนพบว่าป่าของเขาเสื่อมสลายไป เรื่อยๆจากการจัดการของภาครัฐ • ชาวบ้านจึงมานั่งคุยกันว่า จะใช้มิติชุมชนในการแก้ไขปัญหาทั้งหมด ใช้เรื่อง ของผีในการรักษาป่า (ป่าศักดิ์สิทธิและป่าสะดือ) ชาวบ้านพยายามร่าง บทบัญญัติของท้องถิ่นตัวเองขึ้นมาในการจัดการทรัพยากรโดยไม่ค่อย คาดหวังจากการเมืองเท่าไร มีการสร้างเครือข่ายชุมชนเพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้
  • 25. เป้าหมายของประชาธิปไตย Mr. David King • การใช้พื้นที่ส่วนตัวอย่างเหมาะสมโดยที่ทุกคนได้รับประโยชน์ • ประชาธิปไตยจาเป็นต้องมีชุมชนที่รวมเอาประชาชนกับพื้นที่เข้าด้วยกัน • คนแต่ละคนอาศัยอยู่ในชุมชนต่างๆ โดยมีระดับความความเป็นพลเมืองที่ต่างกัน และกลไกสาหรับการปกครองตนเองต่างกัน • การตัดสินใจในบางเรื่องเหมาะสมที่จะให้ท้องถิ่นตัดสินใจได้เองโดยประชาชนที่ ผ่านการเลือกตั้งในระดับท้องถิ่น • และนานโยบายไปปฏิบัติโดยรัฐบาลท้องถิ่นใช้ทรัพยากรที่เหมาะสม ซึ่ง นักการเมืองต้องหาทางในการกระจายอานาจ โครงสร้างกลไกในการตัดสินใจทาง นโยบายแก่ชุมชนท้องถิ่น