SlideShare a Scribd company logo
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
“ไม่มีที่ใดมีสันติภาพ
หากปราศจากความยุติธรรม”
ความไม่เป็นธรรมนามาซึ่งความขัดแย้ง
คนเรามักจะลุกขึ้นมาทาอะไรสักอย่างเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม
หากไม่ได้รับการแก้ไข ความคับข้องใจจะกลายเป็นความรุนแรง
www.elifesara.com
ความขัดแย้งกันเป็นเรื่องธรรมดา
เป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่อยู่ร่วมกันในสังคม
เมื่อสังคมหลีกเลี่ยงความขัดแย้งไม่ได้ ต้องหาวิธีการจัดการความขัดแย้งให้
เหมาะสมกับลักษณะความขัดแย้งและความต้องการของคู่กรณี เพื่อให้
คู่กรณีคงอยู่ร่วมกันได้ในสังคมอย่างปกติสุข
www.elifesara.com
4
การเรียนรู้การจัดการความขัดแย้ง
•การใช้กาลังแก้ปัญหา เกิดต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองจะสูง
•ประสบการณ์ในอดีตจะเป็นคาตอบว่าจะเกิดอะไรในอนาคต
•ควรศึกษารูปแบบในการจัดการปัญหาที่ผ่านมาในอดีตของต่างประเทศและของ
ไทย
ww.elifesara.com
ความรุนแรง ทาให้เกิดการแพ้ - ชนะ
สันติวิธี ทาให้เกิด ความสงบ ความสมานฉันท์ และเกิดความ
พอใจร่วมกัน
www.elifesara.com
มนุษย์อยู่กับความขัดแย้ง
ขัดแย้งกับตัวอง
ขัดแย้งกับเพื่อนร่วมงาน
ขัดแย้งต่อสังคมรอบข้าง
www.elifesara.com
ทาอะไรคิดเอาแต่“ตัวกู ของกู”
เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง
2
ความขัดแย้งในสังคมไทย
www.elifesara.com
สันติเกิดไม่ได้ถ้าไม่มีความยุติธรรม
• ความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติ อย่านาสันติไปเป็นเครื่องมือในการปราบปรามประชาชนโดยอ้างว่าเพื่อความ
มั่นคง
• สร้างวัฒนธรรมแห่งสันติ ด้วยให้ความยุติธรรม และสิทธิที่เท่าเทียม
• ขจัดความหลงผิดในตัวบุคคล มิใช่มุ่งกาจัดตัวบุคคล
• ยิ่งใช้อานาจ ยิ่งเกิดความรุนแรงและการไม่ยอมรับ
• ไม่มีใครถูกหรือผิดโดยสมบูรณ์ ความขัดแย้งแก้ได้ด้วยความร่วมมือ
• “สันติภาพในโลกจะเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ก็เมื่อเราแต่ละคนสร้างสันติภาวะขึ้นได้ภายในใจของเราเอง
ก่อน”(ทะไล ลามะ แห่งธิเบต)
www.elifesara.com
สันติเกิดไม่ได้ถ้าไม่มีความยุติธรรม
• สร้างวัฒนธรรมแห่งสันติ ด้วยให้ความยุติธรรม และสิทธิที่เท่าเทียม
• ขจัดความหลงผิดในตัวบุคคล มิใช่มุ่งกาจัดตัวบุคคล
• ยิ่งใช้อานาจ ยิ่งเกิดความรุนแรงและการไม่ยอมรับ
• ไม่มีใครถูกหรือผิดโดยสมบูรณ์ ความขัดแย้งแก้ได้ด้วยความร่วมมือ
• “สันติภาพในโลกจะเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ก็เมื่อเราแต่ละคนสร้างสันติภาวะขึ้นได้ภายในใจของเราเองก่อน”(ทะไล ลามะ
แห่งธิเบต)
www.elifesara.com
พระราชดารัส ที่พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาสขึ้นปีใหม่ 2494 ดังความตอนหนึ่งว่า
“ . ประวัติศาสตร์ได้แสดงให้ปรากฏตลอดมาว่า ชาติใดเสื่อมสูญย่อยยับอับปางไป ก็เพราะ
ประชาชาติขาดสามัคคีธรรม แตกแยกเป็นหมู่คณะ เป็นพรรคเป็นพวก คอยเอารัดเอาเปรียบ
ประหัสประหารซึ่งกันและกัน บางพรรคบางพวก ถึงกับเป็นไส้ศึกให้ศัตรูมาจู่โจมทาลายชาติของ
ตนดังนี้ ข้าพเจ้าจึงขอชักชวนพี่น้องชาวไทยทั้งหลาย ให้ระลึกถึงพระคุณของบรรพบุรุษ ซึ่งได้
กอบกู้รักษาบ้านเกิดเมืองนอนของเรามานั้นให้จงหนัก แล้วถือเอาความสามัคคี ความยินยอม
เสียสละส่วนตัวเพื่อประโยชน์ยิ่งใหญ่ของประเทศชาติ เป็นคุณธรรมประจาใจอยู่เนืองนิจ จึง
ขอให้พี่น้องชาวไทยทั้งหลาย จงบาเพ็ญกรณีกิจของตนแต่ละคนด้วยซื่อสัตย์สุจริต
ขยันหมั่นเพียร อดทนและกล้าหาญ แล้วอุทิศความเสียสละส่วนตัว ความเหน็ดเหนื่อยลาบาก
ยากแค้น เป็นพลีบูชาบรรพบุรุษ ผู้ซึ่งได้ก่อสร้างชาติเป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราชาวไทยจน
บัดนี้”
www.elifesara.com
ภาครัฐจะพูดอยู่เสมอว่าทาถูกต้องตามขั้นตอน ตามกฎหมาย ตามกฎ ระเบียบ
ข้อบังคับ ถ้าทุกคนทาถูกต้อง ทุกหน่วยงานทาถูกต้อง แล้วทาไมวันนี้จึงยังมีปัญหาอยู่
ตกลงความถูกต้องชอบธรรมตามกฎหมาย นาไปสู่ความยุติธรรมทางสังคมจริงหรือไม่
ความถูกต้องตามกฎหมาย สร้างให้สังคมเปี่ยมไปด้วยความยุติธรรมจริยธรรมหรือไม่
ทั้งที่ในหลักการแล้วกฎหมายที่ดีก็ควรนาไปสู่ความยุติธรรมและความมีคุณธรรม
จริยธรรมในสังคม ไม่ควรแยกหรือแปลกแยกออกจากกัน
“ให้ความยุติธรรมมาก่อนและอยู่เหนือกฎหมาย”
พระบรมราโชวาท
www.elifesara.com
สันติเกิดไม่ได้ถ้าไม่มีความยุติธรรม
•สร้างวัฒนธรรมแห่งสันติ ด้วยให้ความยุติธรรม และสิทธิที่เท่าเทียม
•ขจัดความหลงผิดในตัวบุคคล มิใช่มุ่งกาจัดตัวบุคคล
•ยิ่งใช้อานาจ ยิ่งเกิดความรุนแรงและการไม่ยอมรับ
•ไม่มีใครถูกหรือผิดโดยสมบูรณ์ ความขัดแย้งแก้ได้ด้วยความร่วมมือ
•“สันติภาพในโลกจะเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ก็เมื่อเราแต่ละคนสร้างสันติภาวะขึ้นได้
ภายในใจของเราเองก่อน”(ทะไล ลามะ แห่งธิเบต)
www.elifesara.com
ปัญหาพื้นฐาน 4 ประการในการพูด
1. สิ่งที่เราพูด ผู้ฟังอาจไม่ได้ยิน
2. สิ่งที่เราพูด ผู้ฟังอาจไม่เข้าใจ
3. สิ่งที่เราพูด ผู้ฟังเข้าใจแต่อาจไม่ยอมรับ
4. ผู้พูดอาจไม่รู้ว่า ผู้ฟังนั้นได้ยิน เข้าใจ หรือยอมรับในสิ่งที่ตนพูด
www.elifesara.com
หลักสาคัญที่ควรจะยึดถือ
แยกคนออกจากปัญหา
เน้นที่ความสนใจ อย่าเน้นที่ตาแหน่งหน้าที่
พยายามหาทางเลือกหลายๆทาง ก่อนตัดสินใจ
ต้องตกลงกันตามกฎเกณฑ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย
www.elifesara.com
การใช้อานาจ
การใช้อานาจจัดการความขัดแย้ง จะนาไปสู่ความไม่พอใจและการไม่ร่วมมือ
การใช้อานาจระงับเหตุการณ์วุ่นวาย ต้องมั่นใจว่าอานาจที่ใช้นั้นถูกต้องตามกฎหมาย
และเป็นอานาจที่ตนเองมีอยู่จริง
ผู้บริหารแบบ “บ้าอานาจ” มักจะใช้วิธีแบบแพ้-ชนะ เพราะเชื่อว่า “เมื่อฉันมีอานาจ ฉัน
ต้องชนะ”
ผู้บริหารแบบบ้าอานาจจะมีใน 2 สถานการณ์คือเมื่อเข้ารับตาแหน่งใหม่ จะแสดงให้คน
ทั้งหลายเห็นว่า ตนเองมีอานาจเป็นการข่มขู่ให้ยอมรับ เมื่อสถานการณ์ไม่แน่นอน จะ
แสดงอานาจอกมาเพื่อให้คนเห็นว่าตัวเองยังมีอานาจอยู่
www.elifesara.com
การใช้อานาจที่ไม่มีเหตุผล
 หน่วงเหนี่ยวไม่ให้ข้อมูลที่จาเป็นต่อการตัดสินใจ ไม่ยอมแก้ปัญหาขัดแย้งโดยอ้างว่ามีเรื่องสาคัญบางอย่างที่ยังไม่ได้
พิจารณา
 ไม่มีการปรึกษาในการตัดสินใจ ทั้ง ๆ ที่การตัดสินใจนั้นมีผลกระทบต่อเขา
 ประวิงการหารือในประเด็นสาคัญ จนกระทั่งไม่มีเวลาพอที่จะหารือได้
 พยายามให้คนอื่นๆได้ร่วมในการตัดสินใจ แล้วเลือกสิ่งที่ตนได้ประโยชน์
 ย้ายบุคคลโดยไม่สนใจความสามารถและความสนใจของบุคคลที่ถูกย้าย
 ย้ายบุคคลโดยไม่ถามหรือรับฟังความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชาชั้นต้น
 เมื่อมีความขัดแย้งเกิดขึ้น จะแสดงหรือชี้นาให้คนทั้งหลายเห็นว่า สาเหตุแห่งความขัดแย้งเกิดขึ้นก่อนที่ตนเองจะมาดารง
ตาแหน่ง
 ควรลดการใช้อานาจและเพิ่มการใช้ปัญญา อานาจจะหมดไปเมื่อพ้นวาระการดารงตาแหน่ง แต่ปัญญาเป็นสมบัติเฉพาะติด
ตัวตลอดไป
www.elifesara.com
สถานการณ์ภายในประเทศ
กระแสโลกาภิวัฒน์
• การรุกรานด้านประเพณีวัฒนธรรม
• การเปิดเสรีด้านทุน การค้า การเงิน
• สภาวะโลกไร้พรมแดน
•กระแสประชาธิปไตย
•สิทธิมนุษย์ชน
•การค้าเสรี
•การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ
•การใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง
•สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
•ปัญหาการล่มสลายของสังคมชนบท
•ยิ่งพัฒนายิ่งต้องพึงต่างชาติมากขึ้น
•เกิดความเสื่อมโทรมของสังคม
•ปัญหาการกระจายรายได้ที่ไม่เป็นธรรม
•ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคเอดส์
การจัดระเบียบโลกใหม่ของมหาอานาจ
ปัญหาในประเทศ
• การก่อการร้ายสากล/ในประเทศ
• อาชญากรรมที่เป็นขบวนการ
• การปะทะทางทหารบริเวณชายแดน
• ภัยจากโจรสลัดและกาลังทางเรือต่างชาติ
• ปัญหาเส้นเขตแดนที่ยังไม่แน่นอน
• ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย
• การเมืองที่ขาดการมองผลประโยชน์ของชาติ
• การปกครองยึดรูปแบบเก่าๆ
• ระบบราชการขาดการปรับตัวเข้ากับสภาวะแวดล้อม
ปัญหาการพัฒนาประเทศแบบไม่ยั่งยืน
ปัญหาระบบการศึกษาล้าหลัง
• ขาดจิตสานึกและชาตินิยมความเป็นไทย
• ถูกครอบงาทางความคิด
• ละทิ้งคุณค่าภูมิปัญญาไทย
ปัญหาการเมือง การปกครอง ระบบราชการ
www.elifesara.com
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตั้งแต่ปี 2475
www.elifesara 18
•
พระราชดารัส ที่พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาสขึ้นปีใหม่ ๒๔๙๔
“ . ประวัติศาสตร์ได้แสดงให้ปรากฏตลอดมาว่า ชาติใดเสื่อมสูญย่อยยับอับปางไป ก็เพราะ
ประชาชาติขาดสามัคคีธรรม แตกแยกเป็นหมู่คณะ เป็นพรรคเป็นพวก คอยเอารัดเอาเปรียบ
ประหัสประหารซึ่งกันและกัน บางพรรคบางพวก ถึงกับเป็นไส้ศึกให้ศัตรูมาจู่โจมทาลายชาติของ
ตนดังนี้ ข้าพเจ้าจึงขอชักชวนพี่น้องชาวไทยทั้งหลาย ให้ระลึกถึงพระคุณของบรรพบุรุษ ซึ่งได้
กอบกู้รักษาบ้านเกิดเมืองนอนของเรามานั้นให้จงหนัก แล้วถือเอาความสามัคคี ความยินยอม
เสียสละส่วนตัวเพื่อประโยชน์ยิ่งใหญ่ของประเทศชาติ เป็นคุณธรรมประจาใจอยู่เนืองนิจ จึง
ขอให้พี่น้องชาวไทยทั้งหลาย จงบาเพ็ญกรณีกิจของตนแต่ละคนด้วยซื่อสัตย์สุจริต
ขยันหมั่นเพียร อดทนและกล้าหาญ แล้วอุทิศความเสียสละส่วนตัว ความเหน็ดเหนื่อยลาบาก
ยากแค้น เป็นพลีบูชาบรรพบุรุษ ผู้ซึ่งได้ก่อสร้างชาติเป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราชาวไทยจน
บัดนี้”
www.elifesara.com
20
Peace in Thailand
การจัดการความขัดแย้ง ต้องมอง ๓ มิติ
• มิติเชิงป้องกัน
• มิติเชิงแก้ไข
• มิติเชิงปรองดอง เยียวยา สันติสุข
www.elifesara.com
www.elifesara.com 21
วงจรความขัดแย้ง
การสื่อสารที่ดี
สร้างการมีส่วนร่วม
การเป็นหุ้นส่วน
แผนที่ความขัดแย้ง
วัฏจักรความขัดแย้ง
รู้สาเหตุความขัดแย้ง
การสานเสวนา
การอานวยการประชุม
การเจรจาต่อรอง
การเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง
การอนุญาโตตุลาการ
การมีส่วนร่วม
กระบวนการยุติธรรม
การฟื้นคืนดี
การขอโทษ
การให้อภัย
การป้องกันและวิเคราะห์
ความขัดแย้ง การจัดการความขัดแย้ง
การปรองดองสู่สันติ
๑
๒
๓
KPI
รากเหง้าและสาเหตุของความขัดแย้ง
ปัญหาความต่างค่านิยม
อุดมการณ์ วัฒนธรรม
ปัญหาความสัมพันธ์
ปัญหาข้อมูล
ความจริงและข่าวสาร
ปัญหาผลประโยชน์
และความต้องการ ปัญหาโครงสร้าง
23
อารมณ์ที่รุนแรง
การรับรู้คลาดเคลื่อน
สื่อสาร
ทัศนคติตายตัว
ประพฤติเชิงลบ
การแย่งชิงอานาจ
ความไม่เท่าเทียมกัน
ความไม่ยุติธรรม
กฎหมาย
การปกครอง
ปรัชญาความเชื่อไม่ตรงกัน
ค่านิยมต่างกัน
ประสบการณ์
พื้นฐานการศึกษา
วัฒนธรรม ประเพณีต่างกัน
ค่านิยม
ความสัมพันธ์
โครงสร้าง
ข้อมูลน้อย
ผิดพลาด
แปลข้อมูลไม่ตรงกันความ
แตกต่างในการเก็บและศึกษา
ข้อมูล
แย่งชิงผลประโยชน์
เงินทอง
ทรัพยากร
ความเชื่อ
ความยุติธรรม
วิธีการ
ผลประโยชน์
ยากต่อการเจรจา
เจรจาได้
ประเภทของความขัดแย้ง
www.elifesara.com
24เวลา
ความรุนแรง
สงคราม การปะทะกันอย่างแท้จริง
การลดลงและหาข้อตกลง
การลดระดับลงของความตึงเครียด
ช่วงหลังความขัดแย้ง
การเพิ่มขึ้นของความตึงเครียด
ความขัดแย้งปรากฎขึ้น
ความขัดแย้งที่ซ่อนเร้นอยู่
ช่วงสันติภาพอย่างแท้จริง
วัฏจักรแห่งความขัดแย้ง
บทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ
หมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7
“Nothing contained in the present charter shall authorize the UN
to intervene in matters which are essentially within the domestic
jurisdiction of any state or shall require the member to submit
such matters to settlement under the present charter; But this
principle shall not prejudice the application of enforcement
measures under chapter 7”
www.elifesara.com
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการสันติภาพด้วยตัวเอง
หนทางที่ ๑ ตามบทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติหมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7
•การแก้ปัญหาภายในโดยรัฐใช้กระบวนการสมานฉันท์(Reconciliation Process) สองฝ่าย
•พยายามป้องกันไม่ให้ปัญหาถูกยกระดับขึ้นสู่สากล
•หัวใจสาคัญคือไม่ยอมให้กลุ่มกองกาลังได้รับการยอมรับสถานภาพจากประชาคมโลก
•ควบคุมการละเมิดสิทธิมนุษยชน ถ้าสามารถควบคุมได้ก็มีสิทธิที่จะปฏิเสธความพยายามในการ
แทรกแซงด้วยบทบาทการรักษาสันติภาพจากประชาคมโลกได้
www.elifesara.com
Peace Country
1www.elifesara.com
Peace Country Index
•2007-105
•2008-118
•2009-118
•2010-124
•2011-107-2.247
•2012-126-2.303
•2013-130-2.378
• 121-Mali
• 122-Azerbijan
• 123-Niger
• 124-Venezuela
• 125-Philippine
• 126-Thailand
• 127-Kyrgyzstan
• 128-Guinea
• 129-Mexico
• 130-Turkey
• 131-Rwanda 28
Indicator
• Internal Peace 60%
• External Peace 40%
• การรับรู้จากความผิดทางอาญาในสังคม 4
• จานวนเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยภายในและตารวจต่อ 100,000 คน 3
• จานวนคดีฆาตกรรมต่อ 100,000 คน 4
• จานวนประชากรตะรางต่อ 100,000 คน 3
• ความง่ายดายในการเข้าถึงอาวุธทาลายล้างน้อย 3
• ระดับของความขัดแย้งที่จัด (ภายใน) 5
• โอกาสในการสาธิตการใช้ความรุนแรง 3
• ระดับของอาชญากรรมรุนแรง 4
• ความไม่แน่นอนทางการเมือง 4 1
Indicator
• ระดับของการทาลายสิทธิมนุษยชน (หวาดกลัวการเมือง) 4
• ปริมาณของการถ่ายโอนจากอาวุธธรรมดาที่สาคัญเป็นผู้รับ (นาเข้า) ต่อ 100,000 คน
• ที่มีศักยภาพสาหรับการก่อการร้าย 1
• จานวนผู้เสียชีวิตจากความขัดแย้ง (ภายใน) 5
• ค่าใช้จ่ายทางทหารเป็นร้อยละ 2 ของ GDP
• เงินทุนสาหรับการสหประชาชาติ 2 ภารกิจรักษาสันติภาพ
• จานวนรวมของอาวุธหนักต่อ 100,000 คน 3
• ปริมาณการเคลื่อนย้ายอาวุธในการจัดจาหน่าย ต่อ 100,000 คน 3
• ความสามารถในการทหาร / 2 ความซับซ้อน
• จานวนคนพลัดถิ่นเป็นเปอร์เซ็นต์ของประชากร 4
1
ตัวชี้วัดการสร้างสังคมสันติสุข
1
•การให้การต้อนรับชาวต่างชาติ(Hospitality to foreigners)
•การรวมกลุ่มในภูมิภาคอย่างลุ่มลึก(Depth of regional integration)
•การมีความสัมพันธ์ที่ดีกับประเทศเพื่อนบ้าน 5
• (Relations with neighbors)
www.elifesara.com
Rank Country Score
83 Bangladesh 2.070
84 Serbia 2.071
85 Peru 2.077
86 Cameroon 2.104
87 Angola 2.109
88 Guyana 2.112
89 Montenegro 2 .113
90 Ecuador 2.116
91 Dominican Republic 2.125
92 Guinea 2.126
93 Kazakhstan 2.137
94 Papua New Guinea 2.139
95 Nepal 2.152
96 Liberia 2.159
96 Uganda 2.159
98 Congo (Brazzaville) 2.165
99 Rwanda 2.185
100 Mali 2.188
101 Saudi Arabia 2.192
102 El Salvador 2.215
103 Tajikistan 2.225
104 Eritrea 2.227
105 Madagascar 2.239
106 Jamaica 2.244
107 Thailand 2.247 1
Rank Country Score
108 Turkmenistan 2.248
109 Armenia 2.260
109 Uzbekistan 2.260
111 Kenya 2.276
112 Belarus 2.283
113 Haiti 2.288
114 Kyrgyz Republic 2.296
115 Cambodia 2.301
116 Syria 2.322
117 Honduras 2.327
119 Iran 2.356
119 Niger 2.356
121 Mexico 2.362
122 Azerbaijan 2.379
123 Bahrain 2.398
124 Venezuela 2.403
125 Guatemala 2.405
126 Sri Lanka 2.407
127 Turkey 2.411
128 Cote d’ Ivoire 2.417
129 Algeria 2.423
130 Mauritania 2.425
Rank Country Score
131 Ethiopia 2.468
132 Burundi 2.532
133 Myanmar 2.538
134 Georgia 2.558
135 India 2.570
136 Philippines 2.574
137 Lebanon 2.597
138 Yemen 2.670
139 Colombia 2.700
140 Zimbabwe 2.722
141 Chad 2.740
142 Nigeria 2.743
143 Libya 2.816
144 Central African Republic 2.869
145 Israel 2.901
146 Pakistan 2.905
147 Russia 2.966
148 Democratic Republic of Congo 3.016
149 North Korea 3.092
150 Afghanistan 3.212
151 Sudan 3.223
152 Iraq 3.296
153 Somalia 3.379
Peace Index
ประเทศ 2013 2012 2011 2010 2009 2008 2007
มาเลเซีย 29 20 19 22 26 37 37
สิงคโปร์ 16 23 24 30 23 29 29
เวียดนาม 41 34 30 38 39 37 35
ลาว 39 37 32 34 45 51 -
อินโดนีเซีย 54 63 68 67 67 68 78
กัมพูชา 115 139 133 132 126 126 108
บรูไน 139 133 132 126 126 108
ฟิลิปปินส์ 129 133 136 130 114 113 100
ไทย 130 126 107 124 118 118 105
พม่า 140 139 133 132 126 126 108
www.elifesara.com 34
35
Global Terrorism Risk Index 2015 ของสถาบัน Institute for Economics & Peace
ประเทศที่เสี่ยงต่อการโจมตีของกลุ่มก่อการร้ายมากที่สุดในโลก
ผลการจัดอันดับ 162 ประเทศทั่วโลก ประจาปี 2015
๑. อิรัก
๒. อัฟกานิสถาน
๓. ในจีเรีย
๔. ปากีสถาน
๕. ซีเรีย
๖. อินเดีย
๗. เยเมน
๘. โซมาเลีย
๙. ลิเบีย
๑๐.ไทย
๑๑.ฟิลิปปินส์
๑๒.ยูเครน
๑๓.อียิป
www.elifesara.com 37
38
ความท้าทาย
ประชาคมโลกจับตาดูบทบาทแต่ละประเทศ
โลกในกระแสโลกาภิวัตน์ : กฎกติกาของโลก
www.elifesara.com
39
สถานการณ์ด้านความมั่นคง
•แนวโน้มจะใช้กระบวนการทางการเมืองแก้ไขปัญหาแทนการสู้รบด้วยอาวุธ
•ความขัดแย้งในรูปแบบใหม่ที่เกิดจากหลายปัจจัย เช่นความแตกต่างของเชื้อชาติ
ศาสนา วัฒนธรรมที่ปะทุขึ้น ต้องมีมาตรการแก้ไขที่ไม่ให้ขยายขอบเขตกว้างขวาง
•มีมาตราการป้องกันกระแสโลกาภิวัตน์ที่ทาให้เกิดความขัดแย้งในระดับปัจเจกบุคคล
หรือกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองที่อาจขยายตัวเป็นความขัดแย้งขนาดใหญ่ ที่มี
ผลกระทบต่อสันติภาพและความมั่นคงของประเทศต่างๆ
www.elifesara.com
สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศเปลี่ยนไป
• การเคลื่อนย้ายข้อมูลข่าวสาร เงินทุน ทาให้โลกเล็กลง
•รัฐและพรมแดนลดความสาคัญเกิดปัญหาลักษณะข้ามรัฐและความสลับซับซ้อน
• โลกจะมีประชาธิปไตยสูงขึ้น
• ความโดดเด่นอานาจเดียวจะลดความสาคัญ
• การต่อสู้ทางวัฒนธรรมและศาสนาจะเพิ่มมากขึ้นระหว่างพุทธ อิสลาม คริสต์ และขงจื๊อ
www.elifesara.com
ทิศทางของสถานการณ์โลกในอนาคต
• สถานการณ์ด้านความมั่นคงมีความเปราะบาง
• ความขัดแย้งระหว่างรัฐและภายในรัฐขยายวงกว้างในทุกภูมิภาค
• ผลจากโลกาภิวัฒน์เกิดความไม่แน่นอนหรือการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว
• การกอบโกยแย่งชิงทรัพยากรของรัฐต่างๆ
• ภัยคุกความจากเครือข่ายก่อการร้าย อาวุธทาลายล้างสูง
• ภัยคุกความจากภัยพิบัติขนาดใหญ่
หมวดที่ ๘ ของกฏบัตรสหประชาชาติwww.elifesara.com
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการสันติภาพด้วยตัวเอง
หนทางที่ ๑ ตามบทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติหมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7
•การแก้ปัญหาภายในโดยรัฐใช้กระบวนการสมานฉันท์สองฝ่าย
•พยายามป้องกันไม่ให้ปัญหาถูกยกระดับขึ้นสู่สากล
•หัวใจสาคัญคือไม่ยอมให้กลุ่มกองกาลังได้รับการยอมรับสถานภาพจากประชาคมโลก
•ควบคุมการละเมิดสิทธิมนุษยชน ถ้าสามารถควบคุมได้ก็มีสิทธิที่จะปฏิเสธความพยายามในการ
แทรกแซงด้วยบทบาทการรักษาสันติภาพจากประชาคมโลกได้
www.elifesara.com
บทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ
หมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7
“Nothing contained in the present charter shall authorize the UN to
intervene in matters which are essentially within the domestic
jurisdiction of any state or shall require the member to submit such
matters to settlement under the present charter; But this principle
shall not prejudice the application of enforcement measures under
chapter 7”
www.kpi.ac.th
ปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศ
ปัญหาความขัดแย้งภายในชาติใดชาติหนึ่งอาจมีสาเหตุจากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการประกอบกัน
• ความไม่เป็นธรรมในสังคม
•ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เผ่าพันธุ์
• การรักษาการปกครองของรัฐ
• กฎหมายหรือองค์กรบังคับใช้กฎหมาย อ่อนแอ
• ภูมิรัฐศาสตร์ที่ไม่เอื้ออานวยให้อานาจการปกครองของรัฐบาลกลางสถาปนาครอบคลุมพื้นที่
อย่างเต็มประสิทธิภาพ
www.elifesara.com
ความขัดแย้งระหว่างรัฐ : สาเหตุแห่งความขัดแย้ง
• กรณีรัฐคู่กรณีไม่ยินยอม และสหประชาชาติพิจารณาว่าความขัดแย้งดังกล่าวเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพและความมั่นคง
นานาชาติ
• การละเมิดสันติภาพ (Breaches of Peace)
• การกระทาในลักษณะรุกราน (Acts of Aggression)
• จะพิจารณาใช้มาตรการบังคับให้เกิดสันติภาพภายใต้กฎบัตรฯ หมวดที่ ๗ โดยสหประชาชาติอาจเข้าดาเนินการเอง หรืออนุมัติอานาจให้
องค์กรภูมิภาคเข้าดาเนินการตามกฎบัตรฯ หมวดที่ ๘ Article 53 ข้อ 1
• ผลประโยชน์ของชาติทับซ้อน
• ปัญหาเขตแดน
• อิทธิพลจากภายนอก
• ความแตกต่างของการปกครอง
• ความขัดแย้งของปัจเจกบุคคลที่ถูกยกระดับโดยภาวะโลกาภิวัตน์
www.elifesara.com
เวลาเจรจา สาเหตุขัดแย้ง การจัดการ คณก.หาความจริง
South Korea 10 เรียกร้อง ปชต. ปขข.กดดัน ตั้งคณะกรรมการ
South Africa 10 ไม่เป็นธรรม สร้างภาพอนาคตร่วมกัน ตั้งคณะกรรมการ
Aceh Indonesia 7 ไม่เป็นธรรม เจรจา/ตปท. ตั้งคณะกรรมการ
North Ireland 26 ไม่เป็นธรรม เจรจา/ตปท. ตั้งคณะกรรมการ
Rwanda 8 ไม่เป็นธรรม/กดขี่ คณก.ปรองดอง ตั้งศาล กาชาชา
Chili 17 อุดมการณ์แตกต่าง เลือกตั้ง ตั้งคณะกรรมการ
Columbia 22 อุดมการณ์แตกต่าง ปรับปรุงกฎหมาย คณก ฟื้นฟู
Morocco 16 เรียกร้อง ปชต. ให้ฝ่ายตรงข้ามมารับตาแหน่ง ตั้งคณะกรรมการ
Bolivia 3 ไม่เป็นธรรม ลงประชามติ
Germany 8 อุดมการณ์แตกต่าง การเจรจา ตั้งคณะกรรมการ
ชดเชยเยียวยา ทัศนคติเปลี่ยนแปลง
South Korea เยียวยา ทหารให้คามั่นจะไม่เกิดอีก
South Africa เยียวยา มองอนาคตร่วมกัน
Aceh Indonesia เยียวยา ความรุนแรงไม่แก้ปัญหา
North Ireland เยียวยา ความรุนแรงไม่แก้ปัญหา
Rwanda เยียวยา อยู่ร่วมกัน
Chili เยียวยา หวงแหน ปชต.
Columbia เยียวยา การเจรจา
Morocco เยียวยา รับรู้มีการละเมิดสิทธิมนุษชน
Bolivia ยอมรับความแตกต่าง
Germany เยียวยา ยึดถือความเท่าเทียม
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
South Korea ภาคประชาชนเข้มแข็งผลักดันให้เปลี่ยนแปลง
South Africa มีเจตจานงทางการเมือง/สร้างภาพอนาคตร่วมกัน
Aceh Indonesia มีเจตจานงทางการเมือง/เจรจากับศัตรู
North Ireland มีเจตจานงทางการเมือง/มีส่วนร่วม/ได้รับแก้ไขปัญหาโครงสร้าง/สร้างบรรยากาศ
Rwanda สร้างความร่วมมือ
Chili ตปท.กดดัน
Columbia ภาคประชาชนเข้มแข็ง/มีเจตจานงทางการเมือง/ปรับปรุงกฎหมาย
Morocco สร้างประชาธิปไตย/การมีส่วนร่วม
Bolivia ปฎิรูปกฎหมาย/ยอมรับความแตกต่าง
Germany สร้างอนาคตร่วม/ลดความเหลื่อมล้า
GAM: ในอาเจะห์
ประสบการณ์ความขัดแย้งในต่างประเทศ
www.elifesara.com
Ache Indonesia:
• ความขัดแย้งกลับคืนสู่ความสงบ ให้ความช่วยเหลือ
แก่ผู้ประสบภัยจากความขัดแย้ง การเยียวยา
• หน่วยงาน BRA:Reintegration And Peace
Arrangement เป็นองค์กรเอกชน ให้คาปรึกษาและให้
ความยุติธรรมทุกฝ่าย จ่ายเงินให้ผู้เสียหายทุกฝ่าย
ช่วยเหลืออดีตนักโทษการเมือง ฟื้นฟูให้ผู้ที่สูญเสีย
บ้าน จ่ายค่าตอบแทนสาหรับครอบครัวของ
ผู้ประสบภัย
• ดาเนินการโดยการใช้จ่ายงบประมาณของรัฐบาลและ
ทุนจาก USAID
www.elifesara.com
North Ireland:
แก้ความขัดแย้งทางการเมืองจากการต่อสู้ด้วยกาลังทหารทั้งสองฝ่าย เริ่มต้นจากประชาชนถูกฆ่า
19 คนกลับกลายเป็นการต่อสู้ที่ทั้งสองฝ่ายต้องสูญเสียเกือบสี่พันคน ใช้เวลาหาความจริง ๓๗ ปี
www.elifesara.com
กรณีศึกษา Rwanda
•เป็นประเทศกาลังพัฒนา มีการคอรัปชั่นเหมือนประเทศไทยเรา ประชาชนยากจน
•อัตราการศึกษาของคนในชาติต่า
•การแบ่งปันทรัพยากรไม่เป็นธรรม
•สังคมขาดความยุติธรรม ความขัดแย้งจึงมีขึ้นเป็นระยะ
•วิทยุ ซึ่งเป็นสื่อสาคัญของรัฐที่ชาวฮูตู โหมกระพือความขัดแย้ง "ความเกลียดชัง" และ
"ความมัวเมาอานาจ”
www.elifesara.com
ความรุนแรงที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งต้องมีผู้ที่รับกรรมที่เกิด ไม่มีใครได้อะไรจากความ
รุนแรง
55www.elifesara.com
South Africa
“หากกระบวนการเปลี่ยนผ่านเร็วเกินไปก็จะไม่ได้ผล ถามว่าถ้ามีรัฐบาลแล้วจะยั่งยืนหรือไม่
“ การใช้อานาจจะต้องควบคู่กับความรัก ”
Africa: การใช้อานาจต้องควบคู่ไปกับความรัก : อดัม คาเฮน (Adam Kahane)
นักสันติวิธีโด่งดังจากการนากระบวนการสร้างฉากทัศน์อนาคต (scenario) มาช่วยสร้างสันติภาพในประเทศแอฟริกาใต้
www.elifesara.com
57
“ความสันติและการรับมือกับความซับซ้อนในสังคม จะเกิดขึ้นได้จาก
การบวนการแก้ไขอย่างเป็นระบบ การมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย การ
เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การสานเสวนา การสร้างสัมผัสร่วม และการ
ผนึกจิตใจ(ความรัก)และอานาจเข้าร่วมกัน”
Adam Kahene
www.elifesara.com
58
• หากกระบวนการเปลี่ยนผ่านเร็วเกินไปก็จะไม่ได้ผล ถามว่าถ้ามีรัฐบาลแล้วจะยั่งยืนหรือไม่
• ถ้ารัฐบาลไม่สามารถจัดการสถานการณ์ได้ ก็แก้ปัญหาไม่ยั่งยืน สุดท้ายทุกอย่างก็จะพังทลายพินาศยับเยิน
• ปัญหาที่ซับซ้อน จาเป็นต้องแก้ไขเชิงพลวัต ต้องเข้าใจว่าไม่สามารถใช้กาลังมาแก้ไขได้
• นาผู้มีส่วนได้เสียเข้ามามีส่วนร่วม ต้องหยั่งญาน หรือรับรู้เชิงลึกซึ้ง โดยเฉพาะการฟังและการพูด
• การพูดซ้าๆ จะไม่มีอะไรใหม่ แต่เป็นการพูดในสิ่งที่ตัวเองอยากพูดเท่านั้น และก็จะไม่ได้สร้างสรรค์สิ่งใหม่
เช่นกัน
Adam Kahene
Nelson Mandela
เริ่มมาจากการบินช้าๆ อย่างมีกระบวนการ เป็นการบรรลุผลช้าๆ อย่าง
ต่อเนื่อง ซึ่งแม้ว่าคณะทางานต่างๆ จะมีความขัดแย้งไม่ลงรอยกัน แต่
ก็สามารถร่วมทางานในเชิงสร้างสรรค์กันได้
www.elifesara.com
59
อาดัม คาเฮน มองปัญหาเมืองไทย
• คาเฮน กล่าวว่า ไม่ใช่แค่ปัญหาเสื้อเหลือง เสื้อแดง เพราะมีความ
ซับซ้อนมากกว่านั้นและมีความลึกซึ้ง ไม่ใช่ปัญหาที่จะแก้ด้วย
นักวิชาการหรือภาครัฐ แต่ต้องสร้างการมีส่วนร่วม ต้องใช้ทั้งความรัก
และอานาจ
•เพราะต้องไม่ลืมว่าท่ามกลางความขัดแย้งมีความโกรธ การแย่ง
อานาจกัน เมื่อมีการแบ่งขั้วกันชัดเจนต้องหาว่าสิ่งใดดีที่สุดที่จะ
นามาใช้แก้ปัญหา
• การฟังก็ต้องใส่ใจที่จะฟังในทุกรายละเอียด ไม่ใช่ฟังเพื่อตัดสินว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย แต่ต้อง
พยายามสร้างความเข้าใจว่าทาไมถึงคิดแบบนั้น
60
Adam Kahene
ทักษะที่ขาดหาย www.kpi.ac.th
ผู้นาเชิงสันติวิธี - พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้นาเชิงสันติวิธีที่ประสบความสาเร็จทรงแก้ไขวิกฤติการณ์ด้วยสันติวิธี
ในกรอบของความชอบธรรม ตามครรลองของรัฐธรรมนูญในระบอบประชาธิปไตย
ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยที่เผชิญปัญหาวิกฤติของประเทศมาหลายครั้ง แต่ทรง
แก้ไขได้ทุกครั้ง ทั้งที่พระองค์ทรงไม่มีโอกาสศึกษา อบรม เตรียมตัว เพื่อเป็นพระประมุขของประเทศมา
ก่อน
เมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะวิกฤติไม่อาจอาศัยรัฐธรรมนูญได้ ต้องอาศัยพระปรีชาญาณของพระองค์โดยแท้ ซึ่ง
พระบรมราชวินิจฉัยก็เหมาะสมกับภาวการณ์และโอกาสเสมอมา
ผู้นาเชิงสันติวิธี - พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
•ตัวอย่างการแก้ไขวิกฤตด้วยสันติวิธีของในหลวง
เมื่อคืนวันที่ 20 พฤษภาคม 2535 (พฤษภาทมิฬ) ทรงเรียกผู้นาสองขั้วที่นามวลชนเข้าห้าหั่นถึง
ขั้นเจ็บตายคาราชดาเนิน เข้าเฝ้าฯ และขอให้ทั้งสองฝ่ายหยุดสู้ นายพลทั้งคู่กราบแทบฝ่าพระ
บาทยินยอมกระทาตามโดยไม่มีเงื่อนไข ความสงบคืนสู่แผ่นดินไทยอย่างเหลือเชื่อ
• คุณธรรมเด่นที่ใช้ : ความเป็นผู้ตื่น ความเมตตา ความยุติธรรม
ผู้นาเชิงสันติวิธี - มหาตมะคานธี
•เป็นผู้นาคนแรกที่นาสันติวิธีล้วนๆ มาใช้แล้วได้ผล
•ใช้หลักสัตยาเคราะห์ที่แอฟริกาใต้ และอินเดีย ทาให้อังกฤษ เจ้าอาณานิคมต้องเปลี่ยน
ยุทธศาสตร์ในการสู้รบกับคนจานวนมหาศาลที่บูชาคานธี
•นาชาวอินเดียยาตราเป็นระยะทางกว่า 400 กม. เพื่อทาเกลือจากน้าทะเลด้วยตนเอง ถือว่าเป็น
หน้าที่ทางศีลธรรมที่จะต้องคัดค้านกฎหมายอันอยุติธรรมของอังกฤษที่ห้ามคนอินเดียทาเกลือ
แม้จะถูกจับเข้าคุกก็ตาม
(คุณธรรมเด่นที่ใช้: ความอดทน, ความเป็นนักสู้, ความยุติธรรม)
มหา ตมะ คานธี
•อหังการย่อมทาลายมนุษย์โดยสิ้นเชิง ความจริงข้อนี้ทุกคนตระหนักได้ทุกขณะ
ตรงกันข้าม ความอ่อนน้อมถ่อมตนช่วยให้มนุษย์เจริญเติบโตและบรรลุความ
สมบูรณ์เสมอ
•หิงสาเป็นอาวุธของผู้อ่อนแอ อหิงสาเป็นอาวุธของผู้เข้มแข็ง ควรเลิกละหิงสา
เพราะสิ่งที่ได้จากหิงสานั้น เป็นเรื่องลวงตา แต่โทษมีอยู่จริงและถาวร
64
ผู้นาเชิงสันติวิธี - ออง ซาน ซูจี
• เป็นต้นแบบแห่งสันติวิธีแนวพุทธ
• ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพใน พ.ศ. 2534
• ต่อสู้โดยวิธีสันติเป็นหนทางเดียวที่จะรักษาชีวิตของทรัพยากรมนุษย์ จึงเลือกใช้วิธีอย่างสันติเพื่อจะไม่ให้เกิด
การนองเลือดในพม่า
• การต่อสู้ของเธอเป็นที่ยอมรับของผู้คนทั่วโลก ยกเว้นรัฐบาลทหารพม่าที่มองว่าเธอเป็นภัยคุกคามต่อความ
มั่นคงของรัฐบาลเผด็จการ การเรียกร้องของเธอจึงยังไม่มีวันสิ้นสุดตราบใดที่พม่ายังคงไม่เห็นความสาคัญของ
ระบอบประชาธิปไตย
การใช้คุณธรรมแก้ไขความขัดแย้งโดยสันติวิธี
• น้้าใจและไมตรีไม่เพียงสามารถชนะใจคู่กรณีในความขัดแย้งระหว่างบุคคลเท่านั้น หาก
ยังมีอานุภาพแม้กระทั่งในความขัดแย้งระหว่างกลุ่มชนที่ลุกลามจนกลายเป็นสงคราม
ระหว่างกัน
• พลังของน้้าใจไมตรีและความดีนั้นอยู่ที่การดึงเอาคุณธรรมและความเป็นมนุษย์ที่ซ่อน
เร้นหรืออยู่ลึกของอีกฝ่ายหนึ่งออกมา
• ในทางกลับกันการใช้ความรุนแรงมีแต่จะดึงเอาความโกรธเกลียดและคุณสมบัติทาง
ลบของคู่กรณีออกมาปะทะกัน ผลก็คือความขัดแย้งลุกลามจนกลายเป็นความรุนแรง
จนยากแก่การระงับ
การใช้คุณธรรมแก้ไขความขัดแย้งโดยสันติวิธี
• การผดุงรักษาความชอบธรรมในสังคม เป็นหน้าที่ทางศีลธรรมอย่างหนึ่งที่จาเป็นสาหรับความ
สงบสุขในสังคม
• การกระทาบางครั้งอาจจะท้าทายระเบียบประเพณีหรือกฎหมายจนนาไปสู่ความขัดแย้งในสังคม
แต่หากวิธีการที่ใช้นั้นเป็นสันติวิธีหรือตั้งมั่นอยู่บนหลักการที่ถูกต้องชอบธรรม นอกจากจะไม่ทา
ร้ายร่างกายหรือทรัพย์สินของคู่กรณี ไม่ใส่ร้ายหรือโกหกมดเท็จ เคารพในความคิดเห็นและ
สิทธิอันพึงมีพึงได้ของคู่กรณี ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่าในที่สุดสันติสุขจะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน
•กฎมายมีไว้สาหรับให้มีความสงบสุขในบ้านเมือง มิใช่ว่ากฏหมายมีไว้
สาหรับบังคับประชาชน ถ้ามุ่งหมายที่จะบังคับประชาชน ก็กลายเป็นเผด็จ
การ กลายเป็นสิ่งที่บุคคลหมู่น้อยจะต้องบังคับบุคคลหมู่มาก
•ในทางตรงกันข้าม กฏหมายมีไว้สาหรับให้บุคคลส่วนมากมีเสรีและอยู่ได้
ด้วยความสงบบางทีเราตั้งกฏหมายขึ้นมาก็ด้วยวิชาการซึ่งได้จาก
ต่างประเทศ เพราะว่าวิชาการกฏหมายนี้ก็เป็นวิชาการที่กว้างขวาง
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวัน“วันรพี” ๒๗ มิถุนายน ๒๕๑๖
•กฎมายมีไว้สาหรับให้มีความสงบสุขในบ้านเมือง มิใช่มีไว้สาหรับบังคับประชาชน
ถ้ามุ่งหมายแต่วิชาการนั้นอาจไม่เหมาะสมกับสถานการณ์หรือท้องที่ของเรา.....
•การทามาหากินของประชาชนที่อยู่ห่างไกล ซึ่งเราเอากฏหมายไปบังคับประชาชน
เหล่านั้นไม่ได้ เพราะว่าเป็นความผิดของตนเอง เพราะการปกครองไม่ถึง
ประชาชนที่อยู่ในที่ห่างไกล จึงไม่สามารถทราบถึงกฏหมาย
•ความบกพร่องก็อยู่ที่ทางฝ่ายที่บังคับกฏหมายมากกว่าฝ่ายที่จะถูกบังคับ ข้อนี้ควร
จะถือป็นหลักเหมือนกัน ฉะนั้นจะต้องหาวิธีที่จะปฏิบัติกฏหมายให้ถูกต้องตามหลัก
ธรรมชาติ......”
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวัน“วันรพี” ๒๗ มิถุนายน ๒๕๑๖
“.......ในป่าสงวนซึ่งทางราชการได้ขีดเส้นไว้ว่าเป็นป่าสงวนหรือป่าจาแนก แต่ว่า
เราขีดเส้นไว้ประชาชนก็มีอยู่ในนั้นแล้ว เราจะเอากฏหมายป่าสงวนไปบังคับคนที่
อยู่ในป่าที่ยังไม่ได้สงวนแล้วเพิ่งไปสงวนทีหลังโดยขีดเส้นบนเศษกระดาษก็ดูชอบ
กลอยู่
แต่มีปัญหาเกิดขึ้นที่เมื่อขีดเส้นแล้ว ประชาชนที่อยู่ในนั้นก็กลายเป็นผู้ฝ่าฝืน
กฏหมายไป ถ้าดูในทางกฏหมายเขาก็ฝ่าฝืน เพราะว่าตรามาเป็นกฏหมายโดย
ชอบธรรม แต่ว่าถ้าตามธรรมชาติ ใครเป็นผู้ทาผิดกฏหมายก็ผู้ที่ขีดเส้นนั่นเอง
เพราะว่าบุคคลที่อยู่ในป่านั้นเขาอยู่ก่อน เขามีสิทธิในทางเป็นมนุษย์”
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวัน“วันรพี” ๒๗ มิถุนายน ๒๕๑๖
• เข้าใจตัวเอง
• เข้าใจผู้อื่น
• เข้าใจสังคม
• เข้าใจโครงสร้างของหมู่คณะ
• เข้าใจหลักการและวิธีการสร้างความสัมพันธ์
การสร้างความสัมพันธ์
www.elifesara.com
72
Peace in Thailand
การจัดการความขัดแย้ง ต้องมอง ๓ มิติ
• มิติเชิงป้องกัน
• มิติเชิงแก้ไข
• มิติเชิงปรองดอง เยียวยา สันติสุข
www.elifesara.com
73
วงจรความขัดแย้ง
การสื่อสารที่ดี
สร้างการมีส่วนร่วม
การเป็นหุ้นส่วน
แผนที่ความขัดแย้ง
วัฏจักรความขัดแย้ง
รู้สาเหตุความขัดแย้ง
การสานเสวนา
การอานวยการประชุม
การเจรจาต่อรอง
การเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง
การอนุญาโตตุลาการ
การมีส่วนร่วม
กระบวนการยุติธรรม
การฟื้นคืนดี
การขอโทษ
การให้อภัย
การป้องกันและวิเคราะห์
ความขัดแย้ง การจัดการความขัดแย้ง
การปรองดองสู่สันติ
๑
๒
๓
www.elifesara.com
KPI
รากเหง้าและสาเหตุของความขัดแย้ง
ปัญหาความต่างค่านิยม อุดมการณ์
วัฒนธรรม
ปัญหาความสัมพันธ์
ปัญหาข้อมูล
ความจริงและข่าวสาร
ปัญหาผลประโยชน์
และความต้องการ
ปัญหาโครงสร้าง
www.elifesara.com
75
อารมณ์ที่รุนแรง
การรับรู้คลาดเคลื่อน
สื่อสาร
ทัศนคติตายตัว
ประพฤติเชิงลบ
การแย่งชิงอานาจ
ความไม่เท่าเทียมกัน ความ
ไม่ยุติธรรม กฎหมาย
การปกครอง
ปรัชญาความเชื่อไม่ตรงกัน
ค่านิยมต่างกัน
ประสบการณ์
พื้นฐานการศึกษา
วัฒนธรรม ประเพณีต่างกัน
ค่านิยม
ความสัมพันธ์
โครงสร้าง
ข้อมูลน้อย
ผิดพลาด
แปลข้อมูลไม่ตรงกันความ
แตกต่างในการเก็บและศึกษา
ข้อมูล
แย่งชิงผลประโยชน์
เงินทอง
ทรัพยากร
ความเชื่อ
ความยุติธรรม
วิธีการ
ผลประโยชน์
ยากต่อการเจรจา
เจรจาได้
ประเภทของความขัดแย้ง
www.elifesara.com
76เวลา
ความรุนแรง
สงคราม การปะทะกันอย่างแท้จริง
การลดลงและหาข้อตกลง
การลดระดับลงของความตึงเครียด
ช่วงหลังความขัดแย้ง
การเพิ่มขึ้นของความตึงเครียด
ความขัดแย้งปรากฎขึ้น
ความขัดแย้งที่ซ่อนเร้นอยู่
ช่วงสันติภาพอย่างแท้จริง
วัฏจักรแห่งความขัดแย้ง
77
Mahatma Ghandi
•ทุนทางวัฒนธรรม
www.elifesara.com
78
ด้วยการกรีดเลือดและดื่มน้าสาบาน ว่าจะเลิกแล้วต่อกันร่วมสร้าง
เมืองไว้เป็นอนุสรณ์
จึงเกิดอาณาจักรกุมกาม
(นครเชียงใหม่ในปัจจุบัน)
เวียงกุมกาม สัญลักษณ์แห่งความปรองดอง
กษัตริย์ 3 พระองค์ ตกลงร่วมกัน
ที่จะไม่ทาศึกสงครามระหว่างกัน
หันหน้ามาให้สัตย์บันต่อกัน
ww.elifesara.com
โครงการเสื้อแตงโมสมานฉันท์
• คุณจันทรา ลิมิง ประธานกลุ่มปักจักร บ้านบอเกาะ ต.
สากอ อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส เป็นผู้นาสตรีมุสลิม
ชายแดนใต้ เมื่อปี ๒๕๕๐
• ด้วยความสานึกในพระมหากรุณาธิคุณของล้นเกล้าฯทั้ง
สอง พระองค์
• พัฒนาการด้านอาชีพของกลุ่มแม่บ้านฯ ที่ก้าวหน้าไป
อย่างมาก จากอดีตที่กลุ่มสตรีบ้านบอเกาะแห่งนี้ จาก
ความขัดแย้งกลับกลายเป็นสันติ
<date/time> <footer>
80www.kpi.ac.th
แตงโมสมานฉันท์
81www.kpi.ac.th
รูปแบบยุติธรรมชุมชน
• เจ้าโคตร ระบบเจ้าโคตร แก่วัด แก่ฝาย แก่บ้าน
• การอยู่ร่วมกันเป็นครอบครัวขยาย การทานอาหารร่วมกัน การลงแขกลงขันใน
การทางานร่วมกัน
• การไกล่เกลี่ยชุนชน บ้านบอเกาะ อาเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
• อนุญาโตตุลาการหมู่บ้าน ตาบลบ้านกลาง อาเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่
• ระบบ Barangay ในฟิลิปปินส์
www.elifesara.com
อนุญาโตตุลาการชุมชน
ตาบลเขาพนม อาเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่
ww.elifesara.com
ใครได้รับความเชื่อถือในชุมชน
ww.elifesara.com
กรรมการอนุญาโตตุลาการ
ww.elifesara.com
การแก้ปัญหา
ww.elifesara.com
BARANGAY
www.elifesara.com
University of Philippine
www.elifesara.com
ผู้ปกครองท้องถิ่น BANRANGAY
www.elifesara.com
คณะลูกขุน
www.elifesara.com
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com
www.elifesara.com

More Related Content

What's hot

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
Padvee Academy
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
593non
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองพัน พัน
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
Lilrat Witsawachatkun
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
pitsanu duangkartok
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ponderingg
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
Phanuwat Somvongs
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
ธนกร ทองแก้ว
 
Biology Lab: Plant DNA Extraction
Biology Lab:  Plant DNA ExtractionBiology Lab:  Plant DNA Extraction
Biology Lab: Plant DNA Extraction
Napasorn Juiin
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
Paew Tongpanya
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
Thanyamon Chat.
 
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยาSani Satjachaliao
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Yim Wiphawan
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2Jariya Jaiyot
 
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (G...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต  (G...ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต  (G...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (G...
Klangpanya
 

What's hot (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
Biology Lab: Plant DNA Extraction
Biology Lab:  Plant DNA ExtractionBiology Lab:  Plant DNA Extraction
Biology Lab: Plant DNA Extraction
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยา
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2
 
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (G...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต  (G...ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต  (G...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (G...
 
Copy of 00000564 1 20121226-145401
Copy of 00000564 1 20121226-145401Copy of 00000564 1 20121226-145401
Copy of 00000564 1 20121226-145401
 

Similar to 1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด

สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
Taraya Srivilas
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯTaraya Srivilas
 
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าสื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
Soraj Hongladarom
 
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
Taraya Srivilas
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
Taraya Srivilas
 
Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Taraya Srivilas
 

Similar to 1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด (6)

สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
 
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าสื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
 
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
 
Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)
 

More from Taraya Srivilas

นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
Taraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
Taraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
Taraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
Taraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
Taraya Srivilas
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
Taraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
Taraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
Taraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด