SlideShare a Scribd company logo
ความรู้เกี่ยวกับหลักภาษา
เสียง , อักษร
จัดทาโดย
๑.นาย กฤษฏี ธารรัตนานุกูล เลขที่ ๑๕
๒. นางสาว ณัชชา ธนกิจวรบูลย์ เลขที่ ๒๒
๓.นางสาว รัศม์ริศา ปลื้มบุญธนานนท์ เลขที่ ๒๓
๔.นางสาว สิรินยา ศรีสกุล เลขที่ ๒๔
๕.นางสาว ปัณชญา เกียรติสิงห์นคร เลขที่ ๒๕
ม.๔/๕
เสนอ
อาจารย์ อัจฉรา เมณฑ์กูล
ชิ้นงานนี้เป็นส่วนหนึ่งในวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ๒
ปีการศึกษา ๒๕๕๙ โรงเรียนนครสวรรค์
เสียงและอักษรไทย
พยัญชนะ
พยัญชนะมี 44 รูป 21 เสียง
มาตราตัวสะกด 8 แม่
กก กน
กด กม
กบ กย
กง กว
รูปพยัญชนะที่ไม่ออกเสียง
ได้แก่ ร เป็นอักษรควบไม่แท้
ห นาอักษรต่าเดี่ยว
อ นาอักษรต่าเดี่ยว
ห นาพยัญชนะตัวสะกด
ร นาพยัญชนะตัวสะกด
ร พยัญชนะตามหลังตัวสะกด
ร ที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต
สระ
สระแท้มี 32 เสียง
เสียงสั้น (รัสสระ)
1.อะ 5.เอะ 9.เออะ
2.อิ 6.แอะ
3.อึ 7.โอะ
4.อุ 8.เอาะ
เสียงยาว(ทีฆสระ)
อา อี อือ อู เอ แอ โอ ออ เออ
สระประสม
1.เอียะ 2.เอือะ 3.อัวะ
4.เอีย 5.เอือ 6.อัว
สระเกิน
1.อำ (ะ+ม) 4.เอำ (อะ+ว)
2.ไอ } (อะ+ ย) 5.ฤ 7.ฤำ
3.ใอ 6.ฦ 8.ฦำ
วรรณยุกต์
1.คงระดับ =สามัญ เอก ตรี
2.เปลี่ยนระดับ =โท จัตวา
คาเป็น
1.ประสมสระเสียงยาวในแม่ ก กา
2.สะกดแม่ กง กน กม เกย เกอว
3.ประสมสระเกิน อา ไอ ใอ เอา ฤา ฦา
คาตาย
1.ประสมเสียงสั้นในแม่ก กา
2.สะกดแม่กก กด กบ
3.สระเกิน ฤ ฦ
คาครุ
1.ประสมสระเสียงยาวในแม่ ก กา
2.มีตัวสะกด
3.ประสมสระเกิน อา ไอ ใอ เอา ฤา ฦา
คาลหุ
1.ประสมสระเสียงสั้นในแม่ ก กา
2.ไม่มีตัวสะกด
3.สระเกิน ฤ ฦา
คาซ้อน
คาซ้อน คือ การนาคามูลตั้งแต่ 2 คาขึ้นไปมาซ้อนกัน มี 2 ชนิด
1.ซ้อนเสียง คือ การนาคาที่มีสระ, พยัญชนะเดียวกันมาซ้อนกัน เช่น
มากมาย ยุ่งเหยิง
2.ซ้อนความหมาย มี3 ชนิด คือ
2.1 ความหมายเหมือนกัน = บ้านเรือน จิตใจ มืดค่า
2.2 ความหมายคล้ายกัน = เสื้อผ้า ถ้วยชาม เหนื่อยหน่าย
2.3 ความหมายตรงข้าม = บาปบุญ คุณโทษ ชั่วดี
คาประสม
คาประสม คือ การนาคามูลตั้งแต่ 2 คามารวมกันเกิดเป็นคาใหม่ที่มี
ความหมายต่างจากคาเดิม เช่น กระดานดา ไม้บรรทัด รถราง
ข้อสังเกต
1.มีคาต้น + คาเติม โดยใช้คาต้น คือ นัก การ ความ ชาว
2.เป็นสานวน มีความหมายเชิงอุปมา เช่น ไก่อ่อน มือปืน
3.คาประสมบางคาอ่านแบบสมาส เช่น ผลไม้ ราชวัง พลเรือน กรมท่า
คาสมาส
คาสมาส คือ การนาคาบาลี-สันสกฤตตั้งแต่ 2 คาขึ้นไปมารวมกัน
1.อ่านออกเสียงสระระหว่างคา หากไม่มีรูปสระปรากฏให้ออกเสียง อะ
2.ไม่มีวิสรรชนีย์และการันต์กลางคา
3.แปลจากหลังไปหน้า
4.พระ แผลงมาจาก วร ในภาษาบาลี เมื่อนาหน้าคาบาลี-สันสกฤต เป็น
คาสมาส
5.มักลงท้ายด้วย ศาสตร์ กรรม ภาพ ภัย
ข้อสังเกต
1.ถ้านาคาบาลี-สันสกฤตไปรวมคาภาษาอื่น ถือเป็นคาประสม
2.คาประสมบางคาอ่านแบบสมาส
3.คาที่แปลจากหลังมาหน้าไม่ได้ ไม่ใช่คาสมาส ถือเป็นคาประสม
คาสนธิ
คาสนธิ คือ การนาคาบาลี-สันสกฤต มาเชื่อมกันเป็นคาใหม่ มีการเปลี่ยนรูปและเสียง บาง
ตาราเรียกคาสมาสชนิดเปลี่ยนแปลงมี 3 ชนิด
1.สระสนธิ
2.พยัญชนะสนธิมี 2 ชนิด
2.1 โลโป (ลบทิ้ง) 2.2 อาเทโส (เปลี่ยนรูป)
3.นิคหิตสนธิ
3.1 นิคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค เปลี่ยนนิคหิตเป็นพยัญชนะตัวสุดท้าย
3.2 นิคหิตสนธิกับเศษวรรค เปลี่ยนนิคหิตเป็น ง เช่น สังวร สังหรณ์
คาที่ยืมมาจากภาษาอื่น
ภาษาจีน
1.มักเป็นชื่ออาหาร การค้า ชื่อคน
2.เป็นภาษาคาโดดเช่นเดียวกับคาไทย
2.1เป็นคาพยางค์เดียว
2.2เรียงคาเข้าประโยค
2.3มีลักษณนาม
2.4มีเสียงวรรณยุกต์
2.5คาขยายอยู่หน้าคาถูกขยาย
ภาษาอังกฤษ
เป็นภาษาที่มีวิภัติปัจจัย นาคามาประกอบท้ายศัพท์ เพื่อบอกหน้าที่และความหมาย
1.ลากเข้าความ ลากเสียงและความหมายเข้าหาเสียงที่คุ้นเคย
2.เปลี่ยนเสียงให้สะดวกในการออกเสียง
3.ทับศัพท์ภาษาอังกฤษ
4.บัญญัติศัพท์ใหม่
5.การตัดคา
ตัวอย่างคาภาษาอังกฤษ
ฟรี ยีราฟ คอรัปชั่น แสตมป์ ดรัมเมเยอร์
ภาษาชวา
เข้ามาสู่ไทยเพราะสัมพันธไมตรี ถ่ายทอดวัฒนธรรมประเพณี การค้า วรรณกรรม
ตัวอย่างคาภาษาชวา
พันตู ปั้นเหน่ง โนรี
ภาษามลายู
เข้ามาโดยการถ่ายทอดวัฒนธรรมประเพณี และสัมพันธไมตรี
ตัวอย่างคาภาษามลายู
ทุเรียน เงาะ ลองกอง
ลองสาด ตารา ฆ้อง น้อยหน่า
ภาษาญี่ปุ่น
เข้ามาสู่ไทยโดยการค้า สัมพันธไมตรี ถ่ายทอดวัฒนธรรม
ตัวอย่างคาภาษาญี่ปุ่น
คามิคาเซ่ ซูโม่ ปิยามา
ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน
เข้ามาสู่ไทยโดยการค้า ศาสนา สัมพันธไมตรี
ตัวอย่างคาภาษาโปรตุเกส
ปัง สบู่ บาทหลวง กระดาษ
ตัวอย่างคาภาษาสเปน
กาละแม กะละมัง เหรียญ
ภาษาฝรั่งเศส
เข้ามาสู่ไทยโดยศาสนา
ตัวอย่างคาภาษาฝรั่งเศส
กาเฟอีน กาสิโน กงสุล ปาร์เกต์
ภาษาเปอร์เซีย
เข้ามาสู่ไทยโดยศาสนา การค้า
ตัวอย่างคาภาษาเปอร์เซีย
กากี กุหลาบ เกด ตาด คาราวาน
ภาษาอาหรับ
เข้ามาสู่ไทยโดยศาสนา
ตัวอย่างคาภาษาอาหรับ
กะลาสี การบูร
ภาษาทมิฬ
เข้ามาสู่ไทยโดยศาสนา การเมือง สงคราม
ตัวอย่างคาภาษาทมิฬ
แกงกะหรี่ กามะหยี่ กระสาย
ความแตกต่างของภาษาบาลี-สันสกฤต
บาลี
1.ใช้สระ 8 ตัว
2.ใช้พยัญชนะ 33 ตัว
3.ใช้ ริ
4.ใช้ ฬ
5.ใช้ ส กับ เศษวรรค
6.ใข้สระ อะ อิ อุ
7.ใช้ ฐ ถ
8.ตัวสะกดและตัวตามอยู่ในวรรคเดียวกัน
สันสกฤต
1.ใช้สระ 14 ตัว เพิ่ม ฤ ฤา ฦ ฦา ไอ เอา
2.ใช้พยัญชนะ 33 ตัว เพิ่ม ษ ศ
3. ใช้ รร
4.ใช้ ฑ
5.ใช้ ส กับพยัญชนะวรรคตะ
6.ใช้ ฤ
7.ใช้ สถ
8.ไม่กาหนด
เสียง
มนุษย์มีการสื่อสารหลายวิธี วิธีที่ใช้คือการเปล่งเสียง
ถ้อยคาที่แสดงมีมากมาย
เช่น บอก เล่า วิจารณ์ ตาหนิ
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการใช้ประโยค
1.ประโยคแต่ละชนิดอาจแสดงเจตนาแยกย่อย
2.ทาให้กลายเป็นประโยคขอร้อง
3.ประโยคปฏิเสธ มักมีคาว่าไม่
เสียงและคาส่วนใหญ่
ข้อสังเกต
1.คาเลียนเสียงเป็นคาจาพวกหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อความหมาย
ส่วนประกอบของคาเลียนเสียง
มีพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
เสียงสระ
เสียงสระ มีลักษณะตรงข้ามกับเสียงพยัญชนะ
สระในภาษาไทย มีทั้งหมด 21 เสียง
เมื่อนามารวมกับพยัญชนะ จะได้คาที่มีความหมายต่างกันไป
พวกเราขอจบการนาเสนอเพียงเท่านี้
ขอบคุณครับ/ ค่ะ

More Related Content

What's hot

หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
sukuman139
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
bambookruble
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJ
Unity' PeeBaa
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Nomoretear Cuimhne
 

What's hot (15)

หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
2 004
2 0042 004
2 004
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJ
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
1276933222 morpheme
1276933222 morpheme1276933222 morpheme
1276933222 morpheme
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

Viewers also liked

ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (11)

กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 

Similar to เสียงและอักษรไทย

คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
พัน พัน
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
Kalasom Mad-adam
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทย
Siraporn Boonyarit
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
guestd57bc7
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
phornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
phornphan1111
 

Similar to เสียงและอักษรไทย (20)

Korat
KoratKorat
Korat
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำ
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
นุกูล
นุกูลนุกูล
นุกูล
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
Satthatharachan
SatthatharachanSatthatharachan
Satthatharachan
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 

เสียงและอักษรไทย