SlideShare a Scribd company logo
จัดทาโดย
นางสาวมาริษา กุนันตา
รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๔๖
มีหนังสือหลักภาษาไทยบางเล่ม ยกตัวอย่างคา
อักษรนาที่มีเสียงพยางค์หน้าเน้นเสียงอะ เช่น คาว่า
สบาย สบง ขบวน ทนาย ฯลฯ และระบุว่าเป็นอักษรนา
ซึ่งความจริงยังไม่ถูกต้อง เพราะคาอักษรนาจะต้อง
เป็นคาที่เป็นอักษรสูง หรือ อักษรกลาง นาอักษรต่า
เดี่ยว จึงจะจัดเป็นคาอักษรนา ส่วนคาว่า สบาย สบง
ขบวน ทนาย คาเหล่านี้ ไม่จัดเป็นอักษรนา เพราะคา
เหล่านี้ แม้จะออกเสียง ๒ พยางค์ และพยางค์หน้าออก
เสียงอะ โดยไม่ประวิสรรชนีย์ก็จริง แต่เสียงพยางค์
ของคาทั้ง ๒ คา เป็นอิสระแก่กัน
หมายเหตุ
อย่า
อักษรนา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
อยู่
อยาก
อย่าง
ข้อยกเว้น
คาบางคาออกเสียงตามความนิยม เช่น
ขมา อ่านว่า ขะ - มา
สมา อ่านว่า สะ - มา
เช่น คาว่า สบาย อ่านว่า สะ-บาย ตัว "บ" ไม่ต้องออก
เสียงสูงตามตัว "ส" และตัว "บ" ไม่ใช่อักษรต่าเดี่ยว จึงไม่
จัดเป็น อักษรนา คาว่า ทนาย อ่านว่า ทะ-นาย ตัว "ท"
เป็นอักษรต่าไม่ใช่อักษรสูง หรือ อักษรกลาง อักษรนา
จะต้องใช้พยัญชนะตัวแรกเป็นอักษรสูงหรืออักษรกลาง
เท่านั้น
อักษรนา คือ พยัญชนะ ๒ ตัว
ประสมอยู่ในสระเดียวกัน มีวิธีการออก
เสียงอักษรนา ดังนี้
แต่ สะ – บาย(สบาย)ไม่ใช่อักษรนา
เสียง “อะ” ไม่ประวิสรรชนีย์
เมื่อแยกคาอ่าน สะ – บาย คงที่
กึ่งเสียงเท่านี้ ไม่มี “ห” นา
หากตัว “ห” นาอักษรต่าเดี่ยว
เสียงที่เปลี่ยนไปคืออักษรต่า
หากมี “อ” นาอักษรต่าเดี่ยว
”อย่า อยู่ อย่าง อยาก” สี่คาเท่านี้
เสียง “อะ” ไม่เกี่ยวกลมเกลียวทุกคา
ไม่มีเงื่อนงาฝึกจาให้ดี
เหมือน “ห” นาเชียวเหมือนกันเลยนี่
หลักการที่มีจาให้ขึ้นใจ
อักษรนาคืออะไร?
๑. อ่านออกเสียงร่วมกันสนิทเป็นพยางค์เดียว ได้แก่
๑.๑ เมื่อ ห นา อักษรต่า ได้แก่ ง ญ น ม ย ร ล
ออกเสียงพยางค์เดียวสูงตามเสียง ห
เช่น หงาย หญ้า หนอน ไหม หยาม หรือ หลาน
๑.๒ เมื่อ อ นา ย มี๔ คา ได้แก่ อย่า อยู่
อย่าง อยาก
๒. อ่านออกเสียง ๒ พยางค์ พยางค์แรกออกเสียง อะ กึ่ง
เสียง พยางค์หลังออกเสียงตามสระที่ประสมอยู่และออก
เสียงเหมือน ห นา ดังนี้
๒.๑ อักษรสูงนาอักษรต่าที่เป็นอักษรเดี่ยว เช่น
ขนม อ่านว่า ขะ-หนม
ฉลาม อ่านว่า ฉะ-หลาม
สมุด อ่านว่า สะ-หมุด
๒.๒ อักษรกลางนาอักษรต่าที่เป็นอักษรเดี่ยว เช่น
จมูก อ่านว่า จะ-หมูก
ตลาด อ่านว่า ตะ-หลาด
องุ่น อ่านว่า อะ-หงุ่น
พยัญชนะสองตัวเรียงกัน
อักษรสูงอักษรกลางนาพา
อักษรตัวตามอักษรต่าเดี่ยว
เหมือนมีตัว “ห” มานาทุกคา
ร่วมสระผันในหลักภาษา
อักษรตัวหน้าเรียก “อักษรนา”
เสียงที่ข้องเกี่ยวมันดูลึกล้า
ขอให้จดจาแล้วก็ทาใจ
อักษรสูงนาอักษรต่าเดี่ยว
มิใช่ ผะ–นวด อย่างที่เคยใช้
อักษรกลางนาอักษรต่าเดี่ยว
มิใช่ ตะ-ลาดอย่างที่เคยทา
ผะ–หนวดตัวเดียวเสียงก็เปลี่ยนไป
เสียง “น” เปลี่ยนไปตามอักษรนา
ตะ–หลาด(ตลาด)ตัวเดียวเสียงก็เปลี่ยนคา
ฝึกจดฝึกจาเอาไว้ให้ดี

More Related Content

What's hot

การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856Rose'zll LD
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
แผ่นพับ เรื่องคำนาม
แผ่นพับ เรื่องคำนามแผ่นพับ เรื่องคำนาม
แผ่นพับ เรื่องคำนาม
ตัน' หยง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJUnity' PeeBaa
 
คำนาม111
คำนาม111คำนาม111
คำนาม111
wannisa_md
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 

What's hot (9)

การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
แผ่นพับ เรื่องคำนาม
แผ่นพับ เรื่องคำนามแผ่นพับ เรื่องคำนาม
แผ่นพับ เรื่องคำนาม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJ
 
คำนาม111
คำนาม111คำนาม111
คำนาม111
 
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสารใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

แผ่นพับอักษรนำ

  • 1. จัดทาโดย นางสาวมาริษา กุนันตา รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๔๖ มีหนังสือหลักภาษาไทยบางเล่ม ยกตัวอย่างคา อักษรนาที่มีเสียงพยางค์หน้าเน้นเสียงอะ เช่น คาว่า สบาย สบง ขบวน ทนาย ฯลฯ และระบุว่าเป็นอักษรนา ซึ่งความจริงยังไม่ถูกต้อง เพราะคาอักษรนาจะต้อง เป็นคาที่เป็นอักษรสูง หรือ อักษรกลาง นาอักษรต่า เดี่ยว จึงจะจัดเป็นคาอักษรนา ส่วนคาว่า สบาย สบง ขบวน ทนาย คาเหล่านี้ ไม่จัดเป็นอักษรนา เพราะคา เหล่านี้ แม้จะออกเสียง ๒ พยางค์ และพยางค์หน้าออก เสียงอะ โดยไม่ประวิสรรชนีย์ก็จริง แต่เสียงพยางค์ ของคาทั้ง ๒ คา เป็นอิสระแก่กัน หมายเหตุ อย่า อักษรนา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ อยู่ อยาก อย่าง ข้อยกเว้น คาบางคาออกเสียงตามความนิยม เช่น ขมา อ่านว่า ขะ - มา สมา อ่านว่า สะ - มา เช่น คาว่า สบาย อ่านว่า สะ-บาย ตัว "บ" ไม่ต้องออก เสียงสูงตามตัว "ส" และตัว "บ" ไม่ใช่อักษรต่าเดี่ยว จึงไม่ จัดเป็น อักษรนา คาว่า ทนาย อ่านว่า ทะ-นาย ตัว "ท" เป็นอักษรต่าไม่ใช่อักษรสูง หรือ อักษรกลาง อักษรนา จะต้องใช้พยัญชนะตัวแรกเป็นอักษรสูงหรืออักษรกลาง เท่านั้น
  • 2. อักษรนา คือ พยัญชนะ ๒ ตัว ประสมอยู่ในสระเดียวกัน มีวิธีการออก เสียงอักษรนา ดังนี้ แต่ สะ – บาย(สบาย)ไม่ใช่อักษรนา เสียง “อะ” ไม่ประวิสรรชนีย์ เมื่อแยกคาอ่าน สะ – บาย คงที่ กึ่งเสียงเท่านี้ ไม่มี “ห” นา หากตัว “ห” นาอักษรต่าเดี่ยว เสียงที่เปลี่ยนไปคืออักษรต่า หากมี “อ” นาอักษรต่าเดี่ยว ”อย่า อยู่ อย่าง อยาก” สี่คาเท่านี้ เสียง “อะ” ไม่เกี่ยวกลมเกลียวทุกคา ไม่มีเงื่อนงาฝึกจาให้ดี เหมือน “ห” นาเชียวเหมือนกันเลยนี่ หลักการที่มีจาให้ขึ้นใจ อักษรนาคืออะไร? ๑. อ่านออกเสียงร่วมกันสนิทเป็นพยางค์เดียว ได้แก่ ๑.๑ เมื่อ ห นา อักษรต่า ได้แก่ ง ญ น ม ย ร ล ออกเสียงพยางค์เดียวสูงตามเสียง ห เช่น หงาย หญ้า หนอน ไหม หยาม หรือ หลาน ๑.๒ เมื่อ อ นา ย มี๔ คา ได้แก่ อย่า อยู่ อย่าง อยาก ๒. อ่านออกเสียง ๒ พยางค์ พยางค์แรกออกเสียง อะ กึ่ง เสียง พยางค์หลังออกเสียงตามสระที่ประสมอยู่และออก เสียงเหมือน ห นา ดังนี้ ๒.๑ อักษรสูงนาอักษรต่าที่เป็นอักษรเดี่ยว เช่น ขนม อ่านว่า ขะ-หนม ฉลาม อ่านว่า ฉะ-หลาม สมุด อ่านว่า สะ-หมุด ๒.๒ อักษรกลางนาอักษรต่าที่เป็นอักษรเดี่ยว เช่น จมูก อ่านว่า จะ-หมูก ตลาด อ่านว่า ตะ-หลาด องุ่น อ่านว่า อะ-หงุ่น พยัญชนะสองตัวเรียงกัน อักษรสูงอักษรกลางนาพา อักษรตัวตามอักษรต่าเดี่ยว เหมือนมีตัว “ห” มานาทุกคา ร่วมสระผันในหลักภาษา อักษรตัวหน้าเรียก “อักษรนา” เสียงที่ข้องเกี่ยวมันดูลึกล้า ขอให้จดจาแล้วก็ทาใจ อักษรสูงนาอักษรต่าเดี่ยว มิใช่ ผะ–นวด อย่างที่เคยใช้ อักษรกลางนาอักษรต่าเดี่ยว มิใช่ ตะ-ลาดอย่างที่เคยทา ผะ–หนวดตัวเดียวเสียงก็เปลี่ยนไป เสียง “น” เปลี่ยนไปตามอักษรนา ตะ–หลาด(ตลาด)ตัวเดียวเสียงก็เปลี่ยนคา ฝึกจดฝึกจาเอาไว้ให้ดี