SlideShare a Scribd company logo
การตีความกฎหมาย
การตีความกฎหมายเป็นเรื่องสาคัญที่สุดเรื่องหนึ่งในการดาเนินวิชาชีพกฎหมายไม่ว่าสาข
าใดเพราะในกรณีที่ตัวบทกฎหมายมีความชัดแจ้งการที่จะใช้กฎหมายนั้นปรับเข้ากับข้อเท็
จจริงย่อมไม่มีปัญหายุ่งยากแต่ถ้าตัวบทกฎหมายคลอบคลุม
หรือมีกรณีสงสัยว่ากฎหมายนั้นมีควาหมายอย่างไรก็ต้องอาศัยการตีความกฎหมายเป็นเค
รื่องมือช่วย
สาเหตุที่ต้องมีการตีความกฎหมาย
เนื่องจากถ้อยคาหรือข้อความในกฎหมายมีความหมายไม่ชัดเจน
มีข้อสงสัยหรือมีความหมายหลายนัยทาให้เกิดปัญหาโต้เถียงจนหาข้อยุติไม่ได้จนต้องมีก
ารตีความกฎหมายเพื่อให้ได้ความหมายที่แท้จริงของถ้อยคาหรือข้อความนั้น
๑. วัตถุประสงค์ของการตีความกฎหมาย
เพื่อค้นหาเหตุผลในกฎหมายหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า“เจตนารมณ์ของกฎหมาย”
(Thespirit of thelaw) หรือ“วัตถุประสงค์ของกฎหมาย”(Theobjective of thelaw)
ก็เพราะเพื่อจะให้เป็นไปตามเจตนารมณ์หรือความมุ่งหมายอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วพ
ยายามเลือกเฟ้นถ้อยคามาใช้เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์หรือความมุ่งหมายดังกล่
าวโดยเหตุนี้เมื่อเราสามารถหยั่งทราบเจตนารมณ์หรือความมุ่งหมายได้เราก็สามาร
ถทราบความหมายของถ้อยคาที่เขียนไว้ในกฎหมายนั้นได้1
(๑.๑) การตีความตามเจตนารมณ์
คือการค้นหาความหมายของถ้อยคาในบทกฎหมายจากเจตนารมณ์หรือความมุ่งหมายของ
กฎหมายนั้นๆ
เจตนารมณ์ของกฎหมายแต่ละเรื่องไม่เหมือนกัน เช่น
เจตนารมณ์ของกฎหมายอาญามุ่งที่จะควบคุมการกระทาความผิดและลงโทษผู้กระทาควา
มผิดในขณะที่กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มุ่งที่จะให้มีการชดใช้เยียวยาความเสียหาย
ก. ทฤษฎีอาเภอจิต
ซึ่งเห็นว่าสามารถค้นหาเจตนารมณ์ของกฎหมายจากเจตนารมณ์ของผู้บัญญัติกฎหมายนั่น
เองในทางประวัติศาสตร์ เช่น พิจารณาจากบันทึก รายงานการประชุมของสภา
คาอภิปรายในสภา เป็นต้น
ข.ทฤษฎีอาเภอการณ์
ซึ่งเห็นว่าต้องค้นหาเจตนารมณ์ของกฎหมายนั้นว่ากฎหมายมีความมุ่งหมายอย่างไร
อาจผันแปรไปตามบริบททางสังคมที่เปลี่ยนไปได้ เช่น
กฎหมายออกในสมัยที่ยังไม่มีวิทยุโทรทัศน์
แม้ภายหลังมีโทรทัศน์ก็สามารถใช้กฎหมายปรับได้
ในการตีความกฎหมายควรใช้ทั้งสองทฤษฎีประกอบกันเพราะลาพังใช้ทฤษฎีได้ทฤษฎีห
นึ่งนั้นจะเป็นข้อบกพร่อง 2
๒. ประเภทของการตีความ
การตีความในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของไทยมี ๓ ประเภทคือ
๑.) การตีความตามมาตรา ๔ วรรคแรกบัญญัติว่า
“กฎหมายนั้นต้องใช้ในบรรดากรณีซึ่งต้องด้วยบทบัญญัติใดๆแห่งกฎหมายตามตัวอักษร
หรือตามความมุ่งหมายของบทบัญญัตินั้น”
๒.)การตีความการแสดงเจตนาตามมาตรา๑๗๑บัญญัติว่า“ในการตีความแสดงเจตนานั้น
ให้เพ่งเล็งถึงเจตนาอันแท้จริงยิ่งกว่าถ้อยคาสานวนหรือตัวอักษร”
๓.) การตีความสัญญาตามมาตรา ๓๖๘ บัญญัติว่า
“สัญญานั้นท่านให้ตีความไปตามความประสงค์ในทางสุจริตโดยพิเคราะห์ถึงปกติประเพ
ณีด้วย”3
๓.เครื่องมือช่วยตีความกฎหมาย
เมื่อตัวบทกฎหมายชัดเจนอยู่แล้วไม่จาต้องตีความ
แต่ถ้าบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดไม่ชัดแจ้งก็ต้องตีความเพื่อเสาะหาความหมายที่แท้จริงข
องบทกฎหมายนั้นวิธีการก็โดยพิจารณาจากมาตราอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับมาตราที่ต้องตีความ
นอกจากนี้ยังต้องหาเครื่องมือช่วยตีความซึ่งมีดังนี้
๓.๑ พระราชปรารภ
๓.๒ หมายเหตุท้ายกฎหมาย
๓.๓ ชื่อกฎหมายชื่อลักษณะ ชื่อหมวดหมู่
๓.๔ ประวัติศาสตร์กฎหมาย
๓.๕ คานิยามศัพท์
๓.๖ พจนานุกรมฯ
๓.๗ หลักกฎหมายทั่วไป
๓.๘.กฎหมายเก่า
ตามปกติเมื่อตัวบทกฎหมายก็ดี คาพิพากษาขอศาลก็ดี สัญญา พินัยกรรม
หรือเอกสารอื่นทางกฎหมายก็ดีมีข้อความแจ่มแจ้งอยู่แล้วก็ไม่จาต้องตีความทางกฎหมาย
ตรงกันข้ามถ้าบทบัญญัติของกฎหมายเคลือบคลุมมีข้อความกากวมก็ต้องใฝ่หาเจตนารมณ์
อันแท้จริงของกฎหมายหรือของผู้ทาเอกสารเหล่านั้นให้ได้
ถ้าหากเป็นสัญญาก็จะต้องเป็นเจตนารมณ์ของคู่สัญญาทุกฝ่ายในขณะทาสัญญานั้นเป็นสา
คัญถ้าเป็นพินัยกรรมก็ต้องถือตามความประสงค์ของผู้ทาพินัยกรรมเป็นที่ตั้ง
การใฝ่หาเจตนารมณ์ดังกล่าวนี้คือ “การตีความกฎหมาย”
ก.การตีความกฎหมายรัฐธรรมนูญ
เนื่องจากรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศหรือเป็นกฎหมายของกฎหมายทั้งป
วง
รัฐธรรมนูญจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งในการตีความรัฐธรรมนูญย่อมกระทบถึงสิทธิ
เสรีภาพ หน้าที่ และความรับผิดของราษฎรโดยตรง
การตีความรัฐธรรมนูญจึงต้องกระทาด้วยความรอบคอบและพิถีพิถัน
ผู้ที่ตีความรัฐธรรมนูญคือศาลรัฐธรรมนูญ
วิธีการตีความรัฐธรรมนูญจึงมีวิธีความเช่นเดียวกันกับการตีความกฎหมายทั่วๆไปคือใช้เค
รื่องมือช่วยดังนี้
๑.) คาปรารภของรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญฯพ.ศ.2550
มีหลักสาคัญเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้เป็นที่ประจักษ์ชั
ดเจนยิ่งขึ้น….เป็นต้น
๒.)หลักกฎหมายทั่วไปในรูปสุภาษิตกฎหมาย เช่น สุภาษิตกฎหมายที่ว่า”สิ่งที่มาก่อน
และสิ่งที่ตามหลังมาย่อมช่วยตีความหมายได้ดีที่สุด”
สุภาษิตกฎหมายอีกบทหนึ่งที่นามาใช้ตีความรัฐธรรมนูญได้ก็คือสุภาษิตที่ว่า”พึงตีความก
ฎหมายไปในทางที่เป็นผลมากกว่าในทางที่ไร้ผล” เป็นต้น
นอกจากหลักการตีความรัฐธรรมนูญดังกล่าวแล้วยังมีอีก2หลักการคือ
(๑.) หลักการตีความตามประเพณีการปกครอง
หลักนี้นามาใช้เมื่อเกิดปัญหาการตีความตามลายลักษณ์อักษร หรือ
การไม่กระจ่างชัดในการตีความตามเจตนารมณ์หรือเพื่อให้การตีความตามเจตนารมณ์มี
น้าหนักยิ่งขึ้นหรือในกรณีที่ไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญบังคับแก่กรณีใดๆก็จาเป็นต้อ
งใช้หลักการตีความตามประเพณีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัต
ริย์ทรงเป็นประมุขโดยอาศัยหลักปรัชญาของระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบสาก
ลมาประกอบการวินิจฉัยตีความด้วย
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยคือ
รูปแบบการปกครองตามแนวคิดของประเทศตะวันตก
ซึ่งยึดหลักในความเสมอภาค ความเป็นอิสระเสรี และความเป็นเหตุผลนิยม
การเป็นรัฐบาลหรือการปกครองที่เป็นของประชาชนโดยประชาชนและเพื่อประชาชน
ประเพณีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขจึงหม
ายความว่าสิ่งที่นิยมปฏิบัติและเป็นที่ยอมรับสืบต่อกันมาจนเป็นแบบแผนในการปกครอง
ภายใต้หลักการประชาธิปไตยซึ่งยอมรับพระราชฐานะและพระราชอานาจของพระมหาก
ษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ
(๒.)
หลักการตีความกฎหมายมหาชนที่มุ่งประโยชน์สาธารณะหรือประโยชน์แห่งรัฐต้องคานึง
ถึงเหตุผลและความจาเป็นของรัฐ และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตามมา
การตีความรัฐธรรมนูญจึงต้องไม่ปล่อยให้เกิดช่องว่างทางอานาจหรือสุญญากาศทางการเ
มืองหรือก่อให้เกิดทางตันทางการเมืองจนนาไปสู่วิกฤติการณ์รัฐธรรมนูญหรือนาไปสู่กา
รปกครองรูปแบบอื่นที่ไม่พึงประสงค์เกิดขึ้น4
ข.การตีความกฎหมายอาญาต้องตีความโดยเคร่งครัด
หมายความว่า
เมื่อรัฐได้ออกบทบัญญัติที่ชัดแจ้งระบุว่าการกระทาหรือการไม่กระทาอย่างใดเป็นความผิ
ดทางอาญาแล้วก็ถือว่าเฉพาะกรณีนั้นๆเท่านั้นที่เป็นความผิด
จะไปรวมถึงกรณีอื่นๆด้วยไม่ได้ซึ่งหลักการตีความกฎหมายโดยเคร่งครัดนี้หมายความว่า
“จะนาบทกฎหมายใกล้เคียงมาใช้ไปเป็นผลร้ายมิได้” ดังคากล่าวของ ศาสตราจารย์เอกูต์
ให้หลักไว้ว่า “บทบัญญัติของกฎหมายอาญาซึ่งกาหนดความผิด
หรือบัญญัติโทษไว้จะต้องบังคับใช้ตามตัวอักษรจะลงโทษบุคคล
เพราะได้กระทาการอันคล้ายคลึงกันกับที่ได้มีกฎหมายบัญญัติไว้นั้นมิได้”
ส่วนในกรณีที่ไม่มีบทบัญญัติกฎหมายบัญญัติไว้โดยตรงถ้าเป็นเรื่องคดีอาญาเมื่อไม่มีกฎ
หมายบัญญัติไว้ว่าเป็นความผิดและกาหนดโทษไว้จาเลยก็ไม่มีความผิดตามประมวลกฎห
มายอาญามาตรา 2 5
ค. การตีความกฎหมายแพ่งเป็นไปตาม มาตรา ๔ วรรคแรกนั้น
ต้องพิจารณาไปตามตัวอักษรและตามความมุ่งหมายไปพร้อมๆกัน
ไม่ใช่พิจารณาตัวอักษรก่อนแล้วจึงพิจารณาความมุ่งหมาย
นอกจากนี้กฎหมายแพ่งยังมีหลักการตีความอีกหลักหนึ่ง
การตีความโดยเคร่งครัด เช่น มาตรา ๑๖๒
การนิ่งไม่ถือว่าเป็นการกลฉ้อฉลจึงต้องตีความโดยเคร่งครัดใช้บังคับในกรณีที่กฎหมายร
ะบุไว้โดยเฉพาะคือการทานิติกรรมสองฝ่ายหรือสัญญาเท่านั้น
ถ้าเป็นนิติกรรมฝ่ายเดียวมาตรานี้ไม่ใช้บังคับเป็นต้น
กฎหมายแพ่งหรือกฎหมายอื่นนั้นแม้ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ในเรื่องนั้นๆโดยเฉพาะ
ศาลก็อาจวินิจฉัยคดีตามจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น ถ้าจารีตประเพณีเช่นว่านี้ไม่มี
ก็ต้องวินิจฉัยคดีโดยอาศัยบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง
ถ้ากฎหมายใกล้เคียงดังกล่าวไม่มี
ก็ต้องถือตามหลักกฎหมายทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 4
ถ้าหากยังไม่มีหลักกฎหมายทั่วไป
กรณีนี้ศาลจะปฏิเสธไม่วินิจฉัยคดีเพราะไม่มีกฎหมายหาได้ไม่เพราะศาลต้องหาหลักกฎห
มายทั่วไปมาปรับแก่คดีจนได้ หลักกฎหมายทั่วไปนี้อาจเป็นสุภาษิตกฎหมาย
ความเห็นของนักกฎหมายหรือแม้แต่สามัญสานึก 6
กระบวนการพิจารณาทางกฎหมาย
เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับกฎเกณฑ์การปกครองประเทศที่แยกมาบัญญัติรายละเอียดต่างหาก
ออกไปจากรัฐธรรมนูญเพื่อขยายบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
มีกระบวนการตราและพิจารณาเหมือนกับการตราพระราชบัญญัติ
แต่มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากพระราชบัญญัติคือ
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น
รัฐสภาจะตราขึ้นได้เฉพาะในกรณีที่รัฐธรรมนูญบัญญัติให้ตราขึ้นและกาหนดเนื้อหาสาร
ะสาคัญไว้
อันเป็นการผูกพันให้รัฐสภาจะต้องตรากฎหมายให้มีเนื้อหาสอดคล้องกับหลักการที่รัฐธร
รมนูญกาหนดเท่านั้น
รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกาหนดให้ตราในรูปแบบของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรม
นูญมีอยู่9 ฉบับด้วยกันได้แก่
(1)
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการ
ได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา
(2)พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง
(3)พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง
(4)พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ
(5)พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
(6)
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่งทางก
ารเมือง
(7)พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน
(8)พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
(9)พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน
พระราชบัญญัติ
เป็นกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ตราขึ้นโดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา
ในการตราพระราชบัญญัตินั้น โดยทั่วไปสามารถกาหนดเรื่องต่าง ๆ
ตามหลักการที่ประสงค์จะให้มีผลบังคับในสังคมได้ทุกเรื่อง
มีข้อจากัดเพียงแต่ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือหลักกฎหมายอื่น
ร่างพระราชบัญญัติ มี 2 ประเภท คือ
ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินและร่างพระราชบัญญัติทั่วไปที่ไม่เกี่ยวด้วยการเงิน
ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน หมายความถึงร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยเรื่องใด
เรื่องหนึ่ง ดังต่อไปนี้
(1) การตั้งขึ้น ยกเลิก ลด เปลี่ยนแปลง แก้ไข
ผ่อนหรือวางระเบียบการบังคับอันเกี่ยวกับภาษีหรืออากร
(2) การจัดสรร รับ รักษา หรือจ่ายเงินแผ่นดิน
หรือการโอนงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน
(3)การกู้เงินการค้าประกันการใช้เงินกู้หรือการดาเนินการที่ผูกพันทรัพย์สินของรัฐ
(4)เงินตรา
ในกรณีที่เป็นที่สงสัยว่าร่างพระราชบัญญัติใดเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินที่จ
ะต้องมีคารับรองของนายกรัฐมนตรีหรือไม่
ให้เป็นอานาจของที่ประชุมร่วมกันของประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานคณะกรรม
าธิการสามัญของสภาผู้แทนราษฎรทุกคณะเป็นผู้วินิจฉัย
ผู้มีอานาจเสนอร่างพระราชบัญญัติ
การเสนอร่างพระราชบัญญัติจะเสนอได้แต่โดย
(1)คณะรัฐมนตรี
(2)สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจานวนไม่น้อยกว่ายี่สิบคน
(3) ศาลหรือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
เฉพาะกฎหมายที่เกี่ยวกับการจัดองค์กรและกฎหมายที่ประธานศาลและประธานองค์กรนั้
นเป็นผู้รักษาการหรือ
(4) ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคนเข้าชื่อเสนอต่อประธานรัฐสภา
โดยกฎหมายที่จะเสนอให้รัฐสภาพิจารณานั้นต้องจัดทาในรูปแบบร่างพระราชบัญญัติ
ซึ่งต้องมีหลักการเกี่ยวกับเรื่องที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญ หมวด 3
ว่าด้วยสิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย หรือหมวด 5
ว่าด้วยแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐเท่านั้น
ในการเสนอร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวต้องมีบันทึก วิเคราะห์
สรุปสาระสาคัญของร่างพระราชบัญญัติเสนอมาพร้อมกับร่างพระราชบัญญัติด้วย
นอกจากนี้ต้องเปิดเผยร่างพระราชบัญญัติที่เสนอต่อรัฐสภาให้ประชาชนทราบและสามาร
ถเข้าถึงข้อมูลรายละเอียดได้โดยสะดวก
การตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของพระราชบัญญัติ
1. การตรวจสอบก่อนที่พระราชบัญญัติจะใช้บังคับ
ร่างพระราชบัญญัติใดที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้ว
ก่อนที่นายกรัฐมนตรีจะนาขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระ
ปรมาภิไธย
หรือร่างพระราชบัญญัติใดที่รัฐสภาลงมติยืนยันและก่อนที่นายกรัฐมนตรีจะนาร่างพระรา
ชบัญญัติดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายอีกครั้งหนึ่งนั้นถ้า
(1) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภารวมกัน
มีจานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภาเห็นว่
าร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้
หรือกระบวนการตรากฎหมายไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
ให้เสนอความเห็นต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา หรือประธานรัฐสภา
แล้วแต่กรณี
แล้วให้ประธานแห่งสภาที่ได้รับความเห็นดังกล่าวส่งความเห็นนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเ
พื่อวินิจฉัยและแจ้งให้นายกรัฐมนตรีทราบโดยไม่ชักช้า
(2)
นายกรัฐมนตรีเห็นว่าร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ห
รือกระบวนการตรากฎหมายไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
ให้ส่งความเห็นเช่นว่านั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย
และแจ้งให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานวุฒิสภาทราบโดยไม่ชักช้า
ถ้าศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัตินั้นมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
นี้หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
และข้อความดังกล่าวเป็นสาระสาคัญให้ร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันตกไปทั้งฉบับ
ถ้าศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัตินั้นมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
นี้แต่ไม่เป็นสาระสาคัญ ให้เฉพาะข้อความที่ขัดหรือแย้งนั้นเป็นอันตกไป
ร่างพระราชบัญญัติฉบับนั้นยังสามารถประกาศใช้บังคับได้
2. การตรวจสอบภายหลังที่พระราชบัญญัติใช้บังคับ
กรณีที่พระราชบัญญัติได้ประกาศใช้บังคับแล้ว
หากต่อมาปรากฎว่าบทบัญญัติของกฎหมายนั้นมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญได้กาหนดให้มีการเสนอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยได้4 กรณี คือ
1.การตรวจสอบว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ศาลจะใช้บังคับแก่คดีขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรม
นูญหรือไม่ ต้องเป็นกรณีที่มีคดีเกิดขึ้นในศาลก่อน ไม่ว่าจะเกิดขึ้นในศาลยุติธรรม
ศาลปกครอง หรือศาลทหาร หรือศาลอื่น
และไม่ว่าคดีจะอยู่ระหว่างการพิจารณาในชั้นศาลใดก็ตาม
หากศาลเห็นเองหรือคู่ความในคดีนั้นโต้แย้งว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ศาลจะใช้บังคับแ
ก่คดีนั้นขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญและยังไม่มีคาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับบท
บัญญัตินั้น
ให้ศาลส่งความเห็นดังกล่าวไปให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยว่าบทบัญญัติแห่งกฎห
มายนั้น ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
2.
การตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติแห่งกฎหมายตามที่ผู้ตรวจการแผ่
นดินเป็นผู้เสนอ เป็นกรณีที่มีผู้ร้องเรียนต่อผู้ตรวจการแผ่นดินก่อน
เว้นแต่เป็นกรณีที่ผู้ตรวจการแผ่นดินเห็นว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดมีผลกระทบต่อควา
มเสียหายของประชาชนส่วนรวม หรือเพื่อคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ
ผู้ตรวจการแผ่นดินอาจพิจารณาและเสนอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาได้โดยไม่จาเป็นต้อ
งมีการร้องเรียน
3.การตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติแห่งกฎหมายตามที่คณะกรรมก
ารสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเป็นผู้เสนอ
ในกรณีที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเห็นตามที่มีผู้ร้องเรียนว่าบทบัญญัติแห่งก
ฎหมายใดกระทบต่อสิทธิมนุษยชนและมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
ให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีอานาจหน้าที่ในการเสนอเรื่องพร้อมด้วยความเ
ห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญได้
4.การตรวจสอบคาร้องของบุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพเพื่อมีคาวินิจฉัยว่าบทบัญ
ญัติแห่งกฎหมายขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
กรณีที่บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว้
มีสิทธิยื่นคาร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยว่าบทบัญญัติแ
ห่งกฎหมายขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
แต่ต้องเป็นกรณีที่ไม่อาจใช้สิทธิโดยวิธีการอื่นได้แล้ว
พระราชกาหนด
เป็นกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยมีฝ่ายบริหารเป็นผู้ออก
มีศักดิ์เทียบเท่ากับพระราชบัญญัติ
แต่จะมีผลใช้บังคับได้ไปพลางก่อนเป็นการชั่วคราวจนกว่าจะเสนอให้รัฐสภาพิจารณาว่า
จะอนุมัติหรือไม่ ถ้ารัฐสภาอนุมัติจะมีผลเป็นกฎหมายถาวรในระดับพระราชบัญญัติ
แต่ถ้ารัฐสภาไม่อนุมัติก็จะตกไป
การออกพระราชกาหนดนั้นจะต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่รัฐธรรมนูญกาหนดไว้มี2กรณีคือ
กรณีแรก
เมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นว่าเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจาเป็นรีบด่วนอันมิอาจจะหลีกเลี่ยงได้
เพื่อที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ
ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศหรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ
ซึ่งในกรณีนี้จะต้องนาพระราชกาหนดเสนอต่อรัฐสภาเพื่อพิจารณาโดยไม่ชักช้า
หากอยู่นอกสมัยประชุมคณะรัฐมนตรีก็จะต้องดาเนินการให้มีการเรียกประชุมรัฐสภาสมั
ยวิสามัญเพื่อพิจารณาพระราชกาหนดนั้นโดยเร็ว
กรณีที่สอง
เมื่อมีความจาเป็นต้องมีกฎหมายเกี่ยวด้วยภาษีอากรหรือเงินตราในระหว่างสมัยประชุม
ซึ่งจะต้องได้รับการพิจารณาโดยด่วนและลับเพื่อรักษาประโยชน์ของแผ่นดิน
ซึ่งในกรณีนี้จะต้องนาพระราชกาหนดเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรภายในสามวัน
นับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กระบวนการตราพระราชกาหนด
โดยเหตุที่พระราชกาหนดนั้นมีฐานะเช่นเดียวกับพระราชบัญญัติจึงต้องผ่านกระบวนการ
พิจารณาเห็นชอบจากรัฐสภาเช่นเดียวกัน
แต่เนื่องจากพระราชกาหนดนั้นเป็นกฎหมายพิเศษที่รัฐธรรมนูญให้อานาจฝ่ายบริหารตรา
ขึ้นใช้บังคับโดยยังไม่ต้องผ่านกระบวนการพิจารณากฎหมายตามขั้นตอนปกติ
เพียงแต่ว่าเมื่อมีการตราพระราชกาหนดขึ้นแล้ว
รัฐบาลมีหน้าที่ต้องนาพระราชกาหนดนั้นเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎร
และวุฒิสภาทันทีในโอกาสแรกที่มีการประชุมสภา
เพื่อให้สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาให้ความเห็นชอบเพื่อให้มีผลบังคับเป็นการถาวร
ซึ่งในการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภานั้นจะไม่มีการพิจารณาแก้ไขถ้อยคา
ในรายละเอียดดังเช่นการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
แต่จะอภิปรายเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย
แล้วจะลงมติว่าเห็นชอบให้ใช้เป็นกฎหมายต่อไปหรือไม่เท่านั้น
การตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของพระราชกาหนด
ก่อนที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาจะได้อนุมัติพระราชกาหนด
หากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาจานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจานว
นสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภาเห็นว่าพระราชกาหนดนั้นไม่ได้ตราขึ้นเพื่อประ
โยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ
ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศหรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ
ก็สามารถใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอความเห็นต่อประธานแห่งสภาที่ตนเป็นสมาชิกให้ส่งความเ
ห็นนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย
ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าพระราชกาหนดนั้นไม่ได้ตราขึ้นเพื่อประโยชน์ในอัน
ที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ
ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ
ให้พระราชกาหนดนั้นไม่มีผลใช้บังคับมาแต่ต้น
คาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจานวนตุลาก
ารศาลรัฐธรรมนูญทั้งหมด
การอนุมัติหรือไม่อนุมัติพระราชกาหนด ให้นายกรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ในกรณีไม่อนุมัติให้มีผลตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กฎหมายที่ออกมาใช้บังคับกับประชาชนได้นั้นต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา
คือทั้งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต้องให้ความเห็นชอบก่อนจึงจะนามาใช้บังคับกับปร
ะชาชนได้ รัฐธรรมนูญจึงได้ให้รัฐสภาซึ่งมาจากตัวแทนของประชาชน
ดาเนินกระบวนการตรากฎหมายตั้งแต่การเสนอ
การพิจารณาจนกระทั่งประกาศใช้เป็นกฎหมาย โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมด้วย
ทั้งนี้เพื่อให้ได้กฎหมายที่ก่อประโยชน์ต่อประชาชนอย่างแท้จริง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน
บัตรประจาตัวประชาชน กฎหมายกาหนดว่า
ผู้ที่จะมีบัตรประจาตัวประชาชนได้ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
๑) เป็นบุคคลที่มีสัญชาติไทย
๒)มีอายุ ๑๕ ปี บริบูรณ์ขึ้นไป จนถึงอายุ ๗๐ ปี บริบูรณ์
๓)มีภูมิลาเนาหรือชื่อในทะเบียนบ้านในท้องที่ที่ไปยื่นคาร้องขอมีบัตร
๒. กฎหมายเกี่ยวกับการศึกษา
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒กาหนดว่า
๑) บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน ในการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า
๑๒ปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
๒) บุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
สังคมการสื่อสารและการเรียนรู้ หรือร่างกายพิการทุพพลภาพ
หรือบุคคลไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแล หรือผู้ด้อยโอกาส
จะมีสิทธิและมีโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
และมีสิทธิได้รับสิ่งอานวยความสะดวกและความช่วยเหลือทางการศึกษาตามกฎหมาย
๓.กฎหมายทะเบียนราษฎร์
๑) การแจ้งเกิด เจ้าบ้านจะต้องแจ้งต่อนายทะเบียนท้องที่ที่มีคนเกิดภายใน ๑๕ วัน
นับแต่วันเกิด เมื่อนายทะเบียนรับแจ้งการเกิดไว้แล้วก็จะออา ใบแจ้งการเกิด หรือสูติบัตร
ให้แก่ผู้แจ้งไว้เป็นหลักฐาน
๒) การแจ้งตายเจ้าบ้านจะต้องแจ้งแก่นายทะเบียนท้องถิ่นภายใน๒๔ ชั่วโมง หรือ
๑ วันนับแต่เวลาตาย
๔. กฎหมายจราจรทางบก เป็นกฎหมาย ที่ควบคุมการใช้รถ ใช้ถนน
ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
๑) การปฏิบัติตามกฎจราจรของผู้ขับขี่รถจักรยาน
(๑) ขับขี่รถจักรยานในทางที่จัดทาไว้สาหรับรถจักรยาน
(๒) รถจักรยานที่ใช้ขับขี่ต้องมีกระดิ่งให้สัญญาณเครื่องห้ามล้อโคมไฟติดหน้ารถ
(๓) ผู้ขับขี่รถจักรยานต้องขับให้ชิดขอบทางด้านซ้ายของทางเดินรถหรือไหล่ทาง
(๔) ไม่ขับขี่รถจักรยานโดยประมาทเป็นที่หวาดเสียวหรือขับขี่โดยไม่จับคันบังคับ
๒) การปฏิบัติตามกฎจราจรของคนเดินเท้า
(๑) ให้คนเดินเท้าบนทางเท้าหรือไหล่ทางที่มี
(๒) ห้ามไม่ให้คนเดินเท้าข้ามถนนนอกทางม้าลายภายในระยะไม่เกิน ๑๐๐ เมตร
(๓) ให้คนเดินเท้าที่ต้องการข้ามถนนปฏิบัติตามไฟสัญญาณจราจร
(๔) ห้ามไม่ให้ผู้ใดเดินแถวหรือเดินเป็นขบวนแห่ในลักษณะกีดขวางจราจร
ยกเว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานจราจร

More Related Content

What's hot

รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี
ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี
ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี
ธนกร ทองแก้ว
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
Utai Sukviwatsirikul
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
tabparid
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
Thamonwan Theerabunchorn
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1Natthaphong Messi
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ SineKat Suksrikong
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
Rung Kru
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเอง
Chainarong Maharak
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
Pa'rig Prig
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
รวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีรวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดี
Hahah Cake
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
Sirinoot Jantharangkul
 

What's hot (20)

รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี
ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี
ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยี
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 
รูปเล่ม
รูปเล่มรูปเล่ม
รูปเล่ม
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
 
แบบฝึกเล่ม 1
แบบฝึกเล่ม 1แบบฝึกเล่ม 1
แบบฝึกเล่ม 1
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเอง
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
รวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีรวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดี
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 

Viewers also liked

กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครองกฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่Palida Sookjai
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
Tophit Sampootong
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)Tophit Sampootong
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)Tophit Sampootong
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokTophit Sampootong
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
marena06008
 
3วินัยและการรักษาวินัยok
3วินัยและการรักษาวินัยok3วินัยและการรักษาวินัยok
3วินัยและการรักษาวินัยokTophit Sampootong
 
เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้
เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้ เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้
เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้
Tattsanee Meeyaeb
 
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
niralai
 
Ebooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีEbooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีRose Banioki
 
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3 การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
faii sasitron
 
คุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงาน
คุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงานคุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงาน
คุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงาน
Padvee Academy
 
บทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครูบทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครู
Pop Punkum
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูokTophit Sampootong
 

Viewers also liked (20)

กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครองกฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
 
สุภาษิตกฎหมาย
สุภาษิตกฎหมายสุภาษิตกฎหมาย
สุภาษิตกฎหมาย
 
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
3วินัยและการรักษาวินัยok
3วินัยและการรักษาวินัยok3วินัยและการรักษาวินัยok
3วินัยและการรักษาวินัยok
 
เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้
เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้ เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้
เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้
 
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
 
ผอ.นำเสนอจรรยาบรรณวิชาชีพ
ผอ.นำเสนอจรรยาบรรณวิชาชีพผอ.นำเสนอจรรยาบรรณวิชาชีพ
ผอ.นำเสนอจรรยาบรรณวิชาชีพ
 
Ebooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีEbooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธี
 
ครูที่ดี
ครูที่ดีครูที่ดี
ครูที่ดี
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
แนวทางการลงโทษทางวินัย
แนวทางการลงโทษทางวินัยแนวทางการลงโทษทางวินัย
แนวทางการลงโทษทางวินัย
 
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3 การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
 
คุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงาน
คุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงานคุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงาน
คุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงาน
 
บทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครูบทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครู
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

การตีความกฎหมาย