SlideShare a Scribd company logo
1 of 109
Download to read offline
แผนผังความคิด ประจาหน่วยการเรียนรู้ที่ 4
อำนำจอธิปไตย กำรปกครองระดับท้องถิ่น
รัฐธรรมนูญ กฎหมำยน่ำรู้
การเมืองการปกครอง
อานาจบริหาร
อานาจตุลการ
อานาจนิติบัญญัติ
อบต.
อบจ.
เมืองพัทยา
กฎหมายใน
ชีวิตประจาวัน
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสำระ สังคมศึกษำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 4 เรื่องกำรเมืองกำรปกครอง เวลำ 9 ชั่วโมง
เรื่อง กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เวลำ 1 ชั่วโมง
***********************************************************************
มำตรฐำน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา
และธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวชี้วัด
มำตรฐำน ส 2.2 ป.6 / 1 เปรียบเทียบบทบาท หน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นและรัฐบาล
สำระสำคัญ
การปกครองทุกระดับต้องมีผู้นา หรือหัวหน้าเป็นผู้รับผิดชอบ เพื่อให้เกิดความสบ
เรียบร้อยในประเทศ
จุดประสงค์กำรเรียนรู้
1. อธิบายบทบาทความสัมพันธ์ระหว่างอานาจของกลุ่มบุคคลในสังคมระดับประเทศ
2. อธิบายการใช้อานาจอธิปไตยในการปกครองระดับประเทศได้
3. สารวจและนาเสนอผลการสารวจ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองการ
ปกครองของบุคคลในครอบครัวได้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รับผิดชอบต่อหน้าที่
2. เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี
3. ทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
4. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
5. ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง
สำระกำรเรียนรู้
1. การปกครองระดับประเทศ
2. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองการปกครอง
กระบวนกำรเรียนรู้
1. ให้นักเรียนเล่นเกมเขียนชื่ออาเภอในจังหวัดของตนเองกลุ่มไหนเขียนเสร็จก่อน
เป็นผู้ชนะ
2. ครูซักถามนักเรียนว่า ประเทศมีการปกครองแบบใดและมีใครเป็นประมุข
3. ครูอธิบายว่าประเทศไทยมีการปกครองแบบระบบประชาธิปไตย มี
พระมหากษัตริย์เป็นประมุข และมีการแบ่งเป็นจังหวัดทั้ง 76 จังหวัด เป็นการ
แบ่งเขตการปกครองให้แต่ละจังหวัดมีอานาจหน้าที่ในการพัฒนา และแก้ไข
ปัญหาต่าง ๆ เพื่อความสุขความเจริญของประชาชนในจังหวัด
4. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็น 3 กลุ่ม ค้นคว้าเรื่อง การบริหารราชการส่วน
ท้องถิ่น
จากนั้น ให้แต่ละกลุ่มออกมารายงานผลที่หน้าชั้น ครูอธิบายเพิ่มเติมให้ถูกต้อง
สมบูรณ์
5. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เรื่อง การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ดังนี้
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 5 รูปแบบ
1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด
2. องค์การบริหารส่วนตาบล
3. เทศบาล
4. กรุงเทพมหานคร
5. เมืองพัทยา
6. ให้นักเรียนทาใบงานที่ 1 เรื่อง การปกครอง แล้วนาเสนอผลงานหน้าชันเรียน
7. ครูซักถามนักเรียนกิจการเลือกตั้ง ครั้งที่ผ่านมาว่าสมาชิกในบ้านนักเรียนได้ไป
เลือกตั้งหรือไม่อย่างไร
8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และข้อดี
ข้อเสียในการปกครองระบอบประชาธิปไตย
9. นักเรียนทาใบงานที่ 2 เรื่อง การบริหารราชการ แผ่นดิน
10. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เมื่อเสร็จแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกระบวนการ
วัดผลประเมินผล
กระบวนกำรวัดผลประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. สังเกตพฤติกรรมรายกลุ่ม
3. การนาเสนอผลงาน
4. การตรวจผลงาน
เครื่องมือ
1. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมินพฤติกรรมรายกลุ่ม
3. แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
4. แบบประเมินการตรวจผลงาน
เกณฑ์กำรประเมิน
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
2. สังเกตพฤติกรรมรายกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
3. การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
สื่อ/แหล่งกำรเรียนรู้
1. ใบความรู้
2. ใบงานที่ 1
3. ใบงานที่ 2
4. แบบฝึกหัด
5. รูปภาพ
กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.………………………………………………………………………………………………
….……………………………………………………………………………………………
…….……………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………
…………….……………………………………………………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหำรหรือผู้ที่ได้รับมอบหมำย
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………
…………….……………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………………..
(……………………….)
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน……………..
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
บันทึกผลหลังกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้
ผลกำรเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
ปัญหำ / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทำงแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………………..
(………………………..)
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ………………….
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
ใบงำนที่ 1
เรื่อง กำรปกครอง
ชื่อ…………………………………………. ชั้น………………………………
วันที่……………………………………..กลุ่ม…………………………………
คำชี้แจง ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายแล้วบันทึกลงในแบบบันทึก
1. การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นประกอบด้วยอะไรบ้าง…………………………
………………………………………………………………………………….
2. เพราะเหตุใดประเทศไทยจึงต้องมีการแบ่งเขตการปกครอง……………………
………………………………………………………………………………….
3. โครงสร้างการบริหารของเทศบาลประกอบด้วยอะไรบ้าง..……………………
………………………………………………………………………………….
4. ให้นักเรียนอธิบายรูปแบบการปกครองขององค์การบริหารส่วนตาบล…………
………………………………………………………………………………….
5. นักเรียนคิดว่าการที่ให้ประชาชนในแต่ละท้องถิ่นปกครองกันเองนั้นดีหรือไม่ เพราะเหตุ
ใด…………………………………………………………………………………
ใบงำนที่ 2
เรื่อง กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
ชื่อ…………………………………………. ชั้น………………………………
คำชี้แจง ให้นักเรียนทาแผนภูมิการบริหารราชการแผ่นดิน แล้วตอบคาถาม
1. การจัดการบริหารราชการแผ่นดินแบบนี้มีประโยชน์อย่างไร……………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
การบริหารราชการแผ่นดิน
……………………………
กระทรวง
……………………………
……………………………
……………………………
……………………………
……………………………
……………………………
……………………………
หมู่บ้าน
……………………………
เทศบาล
……………………………
2. การที่รัฐบาลส่วนกลางเป็นผู้ใช้อานาจในการบริหารโดยตรงทาให้เกิดผลดี หรือผลเสีย
อย่างไร
ผลดี………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………..
ผลเสีย……………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………..
3. จากข้อความที่กาหนดให้ นักเรียนมีความเข้าใจอย่างไรบ้าง
ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 หมวด 4 หน้าที่ของชนชาว
ไทย มาตรา 68 บัญญัติไว้ว่า บุคคลมีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
3.1 ข้อความที่ขีดเส้นใต้หมายถึงอะไร………………………………………….
………………………………………………………………………………
3.2 การเลือกตั้งในประเทศไทยในปัจจุบันมีกี่แบบ อะไรบ้าง……………….
………………………………………………………………………………
3.3 สมมติว่านักเรียนมีอายุครบ 18 ปี บริบูรณ์ในวันที่ 1 มกราคม ของปีที่มีการ
เลือกตั้งนักเรียนจะมีสิทธิในการไปทาหน้าที่เลือกตั้งแบบใดบ้าง…….
………………………………………………………………………………
3.4 การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภากับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
สมำชิกวุฒิสภำ สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร
กำรปกครองในระบอบประชำธิปไตย อันมีพระมหำกษัตริย์เป็นประมุข
ประเทศไทยของเราแต่เดิมนั้น ปกครองด้วยระบอกสมบูรณาญาสิทธิราชย์แต่ได้มีการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองขึ้นในปี พ.ศ. 2475 มาเป็นรูปแบบการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ของประเทศ ซึ่งก็คือพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นศูนย์รวมจิตใจของปวงชนชาวไทย โดยอานาจของพระองค์นั้นก็อยู่ภายใต้กฎหมาย
รัฐธรรมนูญอันเป็น อานาจอธิปไตยสูงสุด ซึ่งเป็นของปวงชนชาวไทย และพระมหากษัตริย์
ทรงใช้อานาจนั้นผ่านรัฐสภา คณะรัฐมนตรีและศาล
เมื่อพระมหากษัตริย์ได้มอบอานาจการปกครองให้กับประชาชนแล้ว ทุกคนใน
ประเทศย่อมมีสิทธิและหน้าที่ในการปกครองประเทศอย่างเท่าเทียมกันโดยการใช้สิทธิและ
หน้าที่ในการปกครองประเทศที่ถูกต้องนั้น มาจากการใช้สิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งตัวแทน
เพื่อเข้าไปบริหารประเทศแทนตน ซึ่งสิทธิของการเลือกตั้งนี้ ทุกคนจะมีสิทธิเท่ากับ 1 เสียง
และจะเป็นเสียงที่ใช้แทนกันไม่ได้ ดังนั้นทุกคนจึงควรรักษาสิทธิและหน้าที่ของตนเอง เพื่อ
ประโยชน์ในการอยู่ร่วมกัน
รูปแบบกำรปกครองของไทย
แบ่งเป็นการปกครองส่วน
กลางได้แก่กระทรวง ทบวง กรม
ซึ่งทาหน้าที่กาหนด นโยบาย
ตลอดจนกฎระเบียบและข้อปฏิบัติต่าง ๆ
การปกครองส่วนภูมิภาค ได้แก่
จังหวัดและอาเภอ การปกครองส่วน
ท้องถิ่น ได้แก่ เทศบาลองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตาบล
กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยาความ
สัมพันธ์ระหว่างการปกครองทั้ง 3 ประเภท แสดงได้ดังนี้
ใบควำมรู้
เรื่อง กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
การบริหารราชการแผ่นดิน
การบริหารราชการแผ่นดิน แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
1. การบริหารส่วนกลาง
2. การบริหารส่วนภูมิภาค
3. การบริหารส่วนท้องถิ่น
แผนภูมิโครงสร้างการจัดระเบียบบริหารราชการไทยในปัจจุบัน
- กระทรวง - จังหวัด - องค์การบริหาร
- ทบวง - อาเภอ ส่วนจังวัด
- กรม - เทศบาล
- กรุงเทพมหานคร
- เมืองพัทยา
- องค์การบริหาร
ส่วนตาบล
การปกครองในระดับจังหวัด
ในจังหวัดหนึ่งจะประกอบด้วยจังหวัด อาเภอ ตาบล และหมู่บ้าน
กำรบริหำรรำชกำรแผนดิน
ส่วนท้องถิ่นส่วนภูมิภำคส่วนกลำง
กำรแบ่งส่วนรำชกำรระดับจังหวัด
หัวหน้าการปกครองของจังหวัด คือ ผู้ว่าราชการจังหวัด สังกัดกระทรวงมหาดไทย
ส่วนผู้ทาหน้าที่ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการของกระทรวง ทบวง
กรม ประจาจังหวัดนั้น ๆ
การปกครองของชุมชนและรัฐในระดับท้องถิ่น เป็นส่วนหนึ่งของการจัดรูปแบบการ
บริหารราชการแผ่นดินที่เรียกว่า การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น เป็นกิจการที่รัฐบาลให้
ประชาชนในท้องถิ่นจัดทากันเอง เพื่อสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นนั้น ๆ
โดยเฉพาะ และเพื่อเป็นการกระจายอานาจการปกครองให้ประชาชน
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 5 รูปแบบ
1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีหน้าที่รับผิดชอบทั้งจังหวัด โดยทับซ้อนกับพื้นที่
ของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น คือ เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตาบลใน
จังหวัดนั้น องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีโครงสร้าง 2 ส่วน คือ
1. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ประกอบด้วยสมาชิกสภาองค์การ
บริหารส่วนจังหวัด มาจากการเลือกตั้ง อยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 คน และรอง
ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด 2 คน
กำรบริหำรรำชกำรแผนดิน
ส่วนรำชกำรกระทรวง ทบวง กรมสำนักงำนจังหวัด
2. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
เป็นผู้เลือกสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 คน เป็นนายกองค์การบริหารส่วน
จังหวัดทาหน้าที่ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารกิจการขององค์การบริหารส่วนจังหวัด
ตามกฎหมาย โดยมีรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นผู้ช่วย
3. ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นตัวแทนของรัฐบาลใน
ส่วนภูมิภาค มีอานาจหน้าที่ในการควบคุมดูแลการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นในจังหวัด
เพื่อให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดสามารถปฏิบัติงานภายในอานาจหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง
2. องค์การบริหารส่วนตาบล (อ.บ.ต.) มีหน้าที่ในการพัฒนาตาบลในด้าน
เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตาบลประกอบด้วย
1. สภาองค์การบริหารส่วนตาบล ประกอบด้วย สมาชิกองค์การบริหาร
ส่วนตาบลจานวนหมู่บ้านละ 2 คน
2. คณะกรรมการบริหารองค์การส่วนตาบล ประกอบด้วยประธาน
กรรมการบริหารคนหนึ่ง และกรรมการบริหารจานวน 2 คน
3. เทศบาล มีหน้าที่เกี่ยวกลับการรักษาความสงบเรียบร้อยของประชา
ชน กิจการสาธารณูปโภคต่าง ๆ รวมทั้งการศึกษาอบรม การรักษาพยาบาล เทศบาลแบ่ง
ออกเป็นเทศบาลตาบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร
เทศบาลมีรายได้จากประชาชนในท้องถิ่น เช่น ภาษีอากร ค่าธรรมเนียม ค่าใบอนุญาต
ค่าปรับ รายได้จากสาธารณูปโภคต่าง ๆ เป็นต้น
1. สภาเทศบาล ประกอบด้วยสมาชิก ซึ่งราษฎรเลือกตั้ง จานวน
สมาชิกมีมากน้อยตามประเภทของเทศบาล เทศบาลตาบล 12 คน เทศบาลเมือง 18 คน และ
เทศบาลนคร 24 คน สมาชิกอยู่ในตาแหน่งคราวละ 5 ปี สภาเทศบาลมีประธานสภาเทศบาล
1 คน และรองประธาน 1 คน ผู้ว่าราชการแต่งตั้งจากสมาชิกสภาเทศบาลตามมติของสภา
เทศบาล
2. คณะเทศมนตรี ประกอบด้วย นายกเทศมนตรีและเทศมนตรี ตาม
จานวนที่กาหนดแต่ละประเภทของเทศบาล เทศบาลตาบล เทศบาลเมืองมีเทศมนตรี จานวน 2
คน เทศบาลนครมีเทศมนตรีจานวน 4 คน ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้แต่งตั้งจากสภาเทศบาล
เป็นนายกเทศมนตรี โดยความเห็นชอบของสภาเทศบาล
4. กรุงเทพมหานคร เป็นการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นรูปพิเศษ
โครงสร้างของกรุงเทพมหานครมีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ
1. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารของ
กรุงเทพมหานคร โดยมีรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 4 คน ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
และรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครอยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี
2. สภากรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้ง ซึ่งมี
จานวนมากน้อยตามจานวนราษฎร คือ จานวนราษฎร 100,000 คน ต่อสมาชิกสภา
กรุงเทพมหานครอยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี สภากรุงเทพมหานครจะเลือกประธานสภาและ
รองประธานสภาไม่เกิน 2 คน ให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครประกาศชื่อผู้ได้รับเลือกใน
กรุงเทพกิจจานุเบกษา
5. เมืองพัทยา เป็นการบริหารราชการท้องถิ่น รูปพิเศษมีการกระจาย
อานาจบางส่วนให้แก่ท้องถิ่นไปดาเนินการเอง เพื่อแก้ไขความเสื่อมโทรมของเมืองพัทยา
โครงสร้างเมืองพัทยามีองค์กระกอบ 2 ส่วน
1. สภาเมืองพัทยา ประกอบด้วย สมาชิกจานวน 24 คน มาจาก
การเลือกตั้ง โดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเมืองพัทยา อยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่
วันเลือกตั้ง สภาเมืองพัทยาเลือกสมาชิกเป็นประธานสภาเมืองพัทยา 1 คน และรอง
ประธานสภาเมืองพัทยาจานวน 2 คน และเสนอให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง
ประธานสภาอาจแต่งตั้งเลขานุการประธานสภาเมืองพัทยา และ
ผู้ช่วยเลขานุการประธานสภาเมืองพัทยาไม่เกินจานวน รองประธานสภาเมืองพัทยา
ปลัดเมืองพัทยาทาหน้าที่เลขานุการสภาเมืองพัทยา
2. นายกเมืองพัทยา มาจากการเลือกตั้ง โดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือก
ตั้งในเขตเมืองพัทยา การเลือกตั้งนายกเมืองพัทยาให้กระทาโดยวิธีออกเสียงลงคะแนน
โดยตรงและอยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง แต่จะดารงตาแหน่งติดต่อกันเกิน 2
วาระไม่ได้
กำรเลือกตั้งในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ
1. การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา
2. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
1. การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา
การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
ได้กาหนดให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งจานวน 200 คน โดยดาเนินการจัดให้มีการ
เลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ทุกจังหวัดทั่วประเทศ จานวนสมาชิกวุฒิสภาในแต่ละจังหวัดมีมาก
น้อยต่างกันขึ้นอยู่กับประชากรของจังหวัดนั้น ๆ กล่าวคือ ทุกจานวนประชากรประมาณ
300,000 คน จะเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาได้ 1 คน ถ้ามีประชากรมากกว่านี้ จานวนสมาชิก
วุฒิสภาก็จะเพิ่มขึ้นได้ตามอัตราส่วนกาหนด และดารงตาแหน่งอยู่ในวาระ 6 ปี หลักเกณฑ์
การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาพอสรุปได้ดังนี้
1. การกาหนดเขตเลือกตั้งให้ใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง
2. สิทธิการลงคะแนนเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งคนหนึ่งมีสิทธิ
ลงคะแนนเลือกตั้งผู้สมัครเป็นสมาชิกวุฒิสภาได้เพียงคนเดียว
3. สมาชิกวุฒิสภาที่ได้รับการเลือกตั้ง จังหวัดใดมีสมาชิกวุฒิสภาได้1 คน ให้ผู้สมัคร
ที่ได้รับคะแนนมากที่สุดเป็นผู้ได้รับเลือกตั้ง แต่ถ้าจังหวัดใดมีสมาชิกวุฒิสภาได้
มากกว่า 1 คนให้ผู้สมัครซึ่งได้คะแนนมากที่สุดตามลาดับลงมาตามจานวน
สมาชิกวุฒิสภา ที่จังหวัดนั้นพึงมีเป็นผู้ได้รับเลือกตั้ง
2. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
การปกครองระบอบประชาธิปไตยยึดหลักการมีส่วนร่วมในการปกครองของประชาชน
ซึ่งในทางปฏิบัติประชาชนทุกคนไม่สามารถจะเข้าไปปกครองประเทศได้โดยตรง เนื่องจาก
ประชาชนมีจานวนมาก จึงต้องใช้วิธีเลือกตัวแทนประชาชน คือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไป
ดาเนินการแทน โดยไปทาหน้าที่ออกกฎหมายและควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน การ0
เลือกตั้งจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตย
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของไทยมีลักษณะสาคัญ ดังนี้
1. วิธีการเลือกตั้ง ใช้วิธีออกเสียงโดยตรง คือ ผู้มีสิทธิออกเสียงจะลงคะแนนเสียง
เลือกตั้งผู้สมัครด้วยตนเอง และเป็นการออกเสียงโดยที่ผู้อื่นไม่รู้ว่าตนเลือกใคร
2. จานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งประเทศรวม 500 คน โดยแบ่งเป็นสมาชิกซึ่งมา
จากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 100 คน และสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่ง
เขต 400 คน
3. เขตเลือกตั้งถือเขตจังหวัดเป็นสาคัญ จังหวัดใดจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเท่าใดคิด
ตามสัดส่วนของจานวนราษฎรในจังหวัดนั้นกับจานวนราษฎรทั่วประเทศ
4. ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง คือ ผู้มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ผู้สมัครเลือกตั้ง คือ ผู้มีสิทธิสมัครเข้ารบการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ทั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งและผู้สมัครรับเลือกตั้ง ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม
ทีรัฐธรรมนูญบัญญัติไว้
ข้อดีข้อเสียของกำรปกครองระบอบประชำธิปไตย
ในปัจจุบัน การปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นการปกครองที่นานาประเทศ
ยอมรับว่าเป็นการปกครองที่เหมาะสม เนื่องจากมีข้อดีที่สาคัญหลายประการ ได้แก่
1. เป็นการปกครองที่ประชาชนมีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศใน
ทุกระดับในฐานะผู้ออกเสียงเลือกตั้งและผู้สมัครรับเลือกตั้ง จึงถือเป็นการ
ปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน
2. เป็นการปกครองที่มีลักษณะของการแบ่งอานาจและกระจายอานาจโดยมีการ
ตรวจสอบและถ่วงดุลแห่งอานาจ เพื่อป้องกันมิให้อานาจในการปกครองตกอยู่ใน
มือคน ๆ เดียว หรือคนกลุ่มเดียว
3. เป็นการปกครองที่ให้ความสาคัญแก่บุคคล ยึดหลักความเสมอภาคและเสรีภาพ
โดยมีรัฐธรรมนุญรับรองในหลักการนี้
อย่างไรก็ตาม ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย ซึ่งยึดหลักการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนโดยการเลือกตัวแทนไปทาหน้าที่ในการปกครอง หากประชาชนไม่เข้าใจใน
อุดมการณ์ประชาธิปไตยอาจก่อให้เกิดการซื้อสิทธิ์ขายเสียง ซึ่งนาไปสู่ปัญหาการทุจริตฉ้อ
ราษฎร์บังหลวง
กำรปฏิบัติตนที่เหมำะสมในระบอบประชำธิปไตย
ประชาชนในการปกครองระบอบประชาธิปไตย ควรมีการปฏิบัติตนที่เหมาะสมสอด
คลองกับการปกครองและวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย ดังนี้
1. เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพโดยมีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตนตามหน้าที่ เคารพกติกา
ของสังคม ไม่ละเมิดกฎหมาย
2. สนใจเข้ามีส่วนร่วมในการปกครอง เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี รู้จักใช้สิทธิและ
เสรีภาพในทางที่ถูกต้อง และทาตนให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนร่วม
3. ยึดมั่นในเหตุผล ยุติธรรม รู้จักประนีประนอม รับฟังคาความคิดเห็นของผู้อื่น
และยอมรับเสียงข้างมาก
4. ให้ความสาคัญแก่ผู้อื่น โดยยึดหลักความเสมอภาคเท่าเทียม และเคารพในสิทธิ
เสรีภาพของผู้อื่น
แบบฝึกหัด
คำชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณา ข้อความต่อไปนี้แล้วนาหมายเลขใส่ให้ตรงกับส่วนการ
ปกครอง
กำรจัดระเบียบกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินของไทย
1. การปกครองส่วนกลาง ………………………………………………..
………………………………………………..
2. การปกครองส่วนภูมิภาค ………………………………………………..
………………………………………………..
3. การปกครองส่วนท้องถิ่น ………………………………………………..
……………………………………………….
1. สุขาภิบาล 2. กระทรวง
3. อาเภอ 4. องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)
6. กรม5. จังหวัด
10. เทศบาล9. องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.)
8. กรุงเทพมหานคร7. ทบวง
12. อาเภอ11. เมืองพัทยา
แบบบันทึกผลกำรประเมินกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 หน่วยที่ 4 เรื่องกำรเมืองกำรปกครอง ประกอบแผนที่ 1 กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
เลข
ที่
ชื่อ – สกุล
ด้ำนคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รวมคะแนนด้ำนคุณลักษณะฯ
ด้ำนผลงำน
รวม
ผ่ำน/ไม่ผ่ำน
รับผิดชอบต่อหน้ำที่
เป็นผู้นำและผู้ตำมที่ดีได้
ทำงำนและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
มีควำมสนใจใฝ่เรียนรู้
ประหยัดและอยู่อย่ำงพอเพียง
กำรทำแบบทดสอบก่อนเรียน
กำรทำแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
2 2 2 2 2 10 15 10 35
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
ควำมหมำยระดับคุณภำพ 2 หมำยถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 30 – 35 = 2
1 หมำยถึง พอใช้ 20 – 29 = 1
0 หมำยถึง ปรับปรุง 0 - 19 = 0
เกณฑ์กำรผ่ำน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
(…………………………)
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2
กลุ่มสำระ สังคมศึกษำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 4 เรื่องกำรเมืองกำรปกครอง เวลำ 9 ชั่วโมง
เรื่อง อำนำจอธิปไตย เวลำ 1 ชั่วโมง
***********************************************************************
มำตรฐำน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา
และธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวชี้วัด
มำตรฐำน ส 2.2 ป.6 / 1 เปรียบเทียบบทบาท หน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นและรัฐบาล
สำระสำคัญ
ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มี
รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด
จุดประสงค์กำรเรียนรู้
1. สามารถสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหารและอานาจตุลาการ
2. บอกประโยชน์ของการทาความรู้เรื่อง รัฐธรรมนูญของไทยไปใช้ในชีวิตประจาวัน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รับผิดชอบต่อหน้าที่
2. เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี
3. ทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
4. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
5. ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง
สำระกำรเรียนรู้
อานาจอธิปไตย
กระบวนกำรเรียนรู้
1. ครูและนักเรียนทบทวนเรื่องการปกครองจากชั่วโมงที่ผ่านมา
2. ครูอธิบายเรื่อง อานาจอธิปไตย ว่าเป็นอานาจสูงสุดของประเทศ แบ่งเป็น อานาจ
นิติบัญญัติอานาจบริหาร และอานาจตุลาการ
3. แบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเลือกค้นคว้าการใช้อานาจอธิปไตย
โดยเลือกกลุ่มละ 1 เรื่อ ไม่ให้ซ้ากัน จากนั้น ให้แต่ละกลุ่มสรุปเรื่องที่ค้นคว้า
แล้วจัดทาเป็นแผนภูมิและออกมานาเสนอที่หน้าชั้น เปิดโอกาสให้เพื่อนซักถาม
แล้วครูอธิบายเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
4. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เรื่อง การแบ่งแยกและการใช้อานาจอธิปไตย
ดังนี้
1) อานาจอธิปไตย เป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ แบ่งเป็น
อานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหาร และอานาจตุลาการ
2) อานาจนิติบัญญัติ หมายถึง อานานในการออก ยกเลิก แก้ไข หรือเพิ่มเติม
กฎหมายโดยรัฐสภาซึ่งประกอบด้วย วุฒิสมาชิก และสภาผู้แทนราษฎร
3) อานาจบริหาร หมายถึง อานาจในการบริหารประเทศให้เป็นไปตาม
กฎหมายโดยคณะรัฐมนตรีซึ่งมีนายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้ารัฐบาล
4) อานาจตุลาการ หมายถึง อานาจในการวินิจฉัยตัดสินคดีความ ต่าง ๆ เพื่อ
รักษาสิทธิเสรีภาพของประชาชน และให้ความยุติธรรมแก่ทุกฝ่าย โดย
ศาลยุติธรรมขอไทย แบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์
และศาลฎีกา
5. นักเรียนศึกษาใบความรู้แล้วร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นแล้วร่วมกันทา
กิจกรรมในงานที่ 1
6. ให้นักเรียนทาใบงานที่ 2 และใบงานที่ 3 โดยไปค้นคว้าข้อมูลในห้องสมุด
7. ให้นักเรียนร่วมอภิปรายว่าจะทาความรู้ที่ได้เรียนไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างไร
บ้าง โดยครูเขียนบนกระดานดาเพื่อเป็นแนวในการปฏิบัติ
8. นักเรียนทาแบบฝึกหัด
กระบวนกำรวัดผลประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. สังเกตพฤติกรรมรายกลุ่ม
3. การนาเสนอผลงาน
4. การตรวจผลงาน
เครื่องมือ
1. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมินพฤติกรรมรายกลุ่ม
3. แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
4. แบบประเมินการตรวจผลงาน
เกณฑ์กำรประเมิน
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
2. สังเกตพฤติกรรมรายกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
3. การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
สื่อ/แหล่งกำรเรียนรู้
1. ใบงานที่ 1
2. ใบงานที่ 2
3. ใบงานที่ 3
4. ใบความรู้
5. ห้องสมุด
กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.………………………………………………………………………………………………
….……………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………
…………….………………………………………….………………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหำรหรือผู้ที่ได้รับมอบหมำย
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………….………………
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………….………………
ลงชื่อ……………………………………..
(………………………………..)
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน……………
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
บันทึกผลหลังกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้
ผลกำรเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………..………………………………
ปัญหำ / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….………………………………………………………….……………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทำงแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………………..
(…………………………………)
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ…………………..
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
ใบงำนที่ 1
เรื่อง อำนำจอธิปไตย
ชื่อ………………………………………….ชั้น……………………………..
วันที่…………………………………….กลุ่ม………………………………..
คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนแผนภูมิอานาจอธิปไตย
อานาจอธิปไตย
…………………
………………….
…………………
…
………
……….
.
……….
……………
…
……………..
คณะรัฐมนตรี
……………..
…………….
ศาลอุทธรณ์
1. ให้นักเรียนอธิบายบทบาทหน้าที่ของสถาบันทางการเมืองที่เกี่ยวกับการใช้อานาจอธิปไตย
ทั้ง 3 สถาบัน…………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
2. การบริหารประเทศตามใจชอบของรัฐบาล โดยไม่มีฝ่ายนิติบัญญัติควบคุมเป็นผลดีแก่
ประชาชนหรือไม่อย่างไร……………………………………………………..
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
3. เมื่อเกิดคดีขึ้นศาลชั้นต้นเป็นผู้พิจารณาพิพากษาคดีเพียงศาลเดียวประชาชนได้รับความ
ยุติธรรมหรือไม่……………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
4. สถาบันการปกครองที่ปราศจากสถาบันตุลาการแล้ววกฎมายที่ประชาชนยึดถือปฏิบัติจะมี
คุณค่าหรือไม่………………………………….……………………..
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
ใบงำนที่ 2
เรื่อง คณะรัฐมนตรี
คำชี้แจง ให้นักเรียนค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการบริหารประเทศของคณะ
รัฐมนตรีชุดปัจจุบัน แล้วบันทึกข้อมูล
นายกรัฐมนตรีรัฐบาลชุดปัจจุบัน คือ……………………………
ดารงตาแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. ……………สังกัดพรรค……………………
ผลงานของคณะรัฐมนตรีขุดปัจจุบัน มีดังนี้
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
ใบงำนที่ 3
เรื่อง กระทรวง
คำชี้แจง ให้นักเรียนค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับรายชื่อของกระทรวงต่าง ๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน
พร้อมทั้งบอกชื่อรัฐมนตรีว่าการของแต่ละกระทรวง แล้วจัดทาป้ายนิเทศ
กระทรวง………………………………………………………………………..
รัฐมนตรีว่าการ คือ …………………………………………………………….
กระทรวง………………………………………………………………………..
รัฐมนตรีว่าการ คือ …………………………………………………………….
กระทรวง………………………………………………………………………..
รัฐมนตรีว่าการ คือ …………………………………………………………….
. กระทรวง………………………………………………………………………..
รัฐมนตรีว่าการ คือ …………………………………………………………….
กระทรวง………………………………………………………………………..
รัฐมนตรีว่าการ คือ …………………………………………………………….
กระทรวง………………………………………………………………………..
รัฐมนตรีว่าการ คือ …………………………………………………………….
กระทรวง………………………………………………………………………..
รัฐมนตรีว่าการ คือ ………………………………………………………
…….
ใบควำมรู้
เรื่อง อำนำจอธิปไตย
การแบ่งแยกและการใช้อานาจอธิปไตย
อานาจอธิปไทย เป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ แบ่งเป็นอานาจ นิติบัญญติ
อานาจบริหาร และอานาจตุลาการ โดยมีการใช้อานาจต่าง ๆ ดังนี้
1. อานาจนิติบัญญัติ : รัฐสภา
อานาจนิติบัญญัติ หมายถึง อานาจในการออก ยกเลิก แก้ไข หรือเพิ่มเติม กฎหมาย
พระมหากษัตริย์ทรงใช้อานาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา
วุฒิสภา มีสภาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) จานวน 200
คน มาจากการเลือกตั้ง โดยใช้เขตจังหวัดเป็นเขต
เลือกตั้ง ดารงตาแหน่งคราวละ 6 ปี
สภาผู้แทนราษฎร มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
(ส.ส.) จานาวน 500 คน ดารงตาแหน่งคราวละ 4 ปี
ดังนี้
1. แบบบัญชีรายชื่อ มีจานวน 100 คน เป็นการเลือกจากบัญชีรายชื่อ
ของแต่ละพรรคการเมือง โดยใช้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง
2. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง มีจานวน 400 คน เป็นการลงคะแนนเลือกตั้ง
ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นรายบุคคล ตามการแบ่งเขตเลือกตั้งตามที่
กาหนด เขตละ 1 คน
1. การตรากฎหมาย
2. ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ
3. ให้ความเห็นชอบเมื่อรัฐสภาประชุมร่วมกัน
รัฐสภา
อานาจหน้าที่ของรัฐสภา
2. อานาจบริหาร : คณะรัฐมนตรี
อานาจบริหาร หมายถึง อานาจในการบริหารประเทศให้เป็นไปตามกฎหมาย
พระมหากษัตริย์ทรงใช้อานาจบริหารผ่านทางคณะรัฐมนตรี โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า
รัฐบาล
ในคณะรัฐมนตรีประกอบด้วย
นายกรัฐมนตรี 1 คนและรัฐมนตรีอีก
35 คน มาจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ที่มาจากการเลือกตั้ง เพื่อกราบบังคมทูล
พระมหากษัตริย์เพื่อทรงแต่งตั้ง หาก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้ใดได้รับการ
แต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะต้องลาออก
จากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพื่อ
เป็นการแยกอานาจบริหาร และอานาจ
นิติบัญญัติออกจากกัน
1. กาหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน
2. บริหารราชการแผ่นดินตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา
3. ทาหน้าที่ประสานระหว่าง กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ เพื่อให้การบริหาร
เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
4. กาหนดระเบียบข้อบังคับให้กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ
5. พิจารณาและลงมติเรื่องต่าง ๆ ที่กระทรวง ทบวง กรม เสนอให้คณะรัฐมนตรี
วินิจฉัย
อานาจหน้าที่ของรัฐบาล
อำนำจตุลำกำร (ศำล) มีหน้าที่พิจารณาพิพากษาคดีความต่าง ๆ โดยใช้กฎหมายเป็นหลัก ศาล
ไทยดาเนินการเป็นอิสระจากอานาจนิติบัญญัติและอานาจบริหารศาลมี 3 ชั้น คือ
1. ศาลชั้นต้น เป็นศาลที่พิจารณาในตอนเริ่มคดี คดีทุกคดีต้องเริ่มต้นดาเนินการที่
ศาลชั้นต้น
2. ศาลอุทธรณ์ เป็นศาลชั้นกลางคู่ความได้อุทธรณ์มาจากศาลชั้นต้น ซึ่งตั้งอยู่ใน
กรุงเทพมหานคร
3. ศาลฎีกา ศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีแล้วแต่คู่ความยังไม่พอใจและฎีกาขึ้นมาคดีที่
ศาลฎีกาพิพากษาและถือเป็นที่สุด และเด็ดขาด
แบบฝึกหัด
คำชี้แจง ให้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1. อานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ
เรียกว่าอะไร
ก. อานาจบริหารง
ข. อานาจตุลาการ
ค. อานาจอธิปไตย
ง. อานานนิติบัญญัติ
2. ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยผู้
ที่เป็นเจ้าของอานาจอธิปไตยคือใคร
ก. ประชาชน
ข. ข้าราชการ
ค. นายกรัฐมนตรี
ง. พระมหากษัตริย์
3. อานาจนิติบัญญัติคืออานาจในด้านใด
ก. การพิจารณาคดี
ข. การออกกฎหมาย
ค. การบริหารประเทศ
ง. การกาหนดนโยบายของประเทศ
4. สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่อย่างไร
ก. บริหารประเทศ
ข. ควบคุมวุฒิสภา
ค. ตัดสินคดีต่าง ๆ
ง. ตรากฎหมายต่าง ๆ
5. ใครเป็นผู้ใช้อานาจบริหาร
ก. วุฒิสมาชิก
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. คณะผู้พิพากษา
ง. สภาผู้แทนราษฎร
6. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับวาระในการ
ดารงตาแหน่งสมาชิกรัฐสภา
ก. วุฒิสมาชิก 1 ปี ผู้แทนราษฎร 4 ปี
ข. วุฒิสมาชิก 4 ปี ผู้แทนราษฎร 4 ปี
ค. วุฒิสมาชิก 6 ปี ผู้แทนราษฎร 4 ปี
ง. วุฒิสมาชิก 8 ปี ผู้แทนราษฎร 4 ปี
7. ข้อใดเป็นหน้าที่หลักของรัฐสภา
ก. อนุมัติงบประมาณแผ่นดิน
ข. ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน
ค. จัดเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎร
ง. กาหนดแนวนโยบายการบริหาร
แผนดิน
8. ใครมีสิทธิเสนอร่างพระราชบัญญัติ
ก. รัฐสภา
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. ประชาชนทั่วไป
ง. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
9. ข้อใดคือวิธีการที่รัฐบาลใช้ควบคุมสภา
ผู้แทนราษฎร
ก. ยุบสภา
ข. ตั้งกระทู้ถาม
ค. เปิดอภิปรายทั่วไป
ง. ให้ประชาชนลงประชามติ
10. ผู้ใดทาหน้าที่นิติบัญญัติ
ก. รัฐบาล
ข. รับมนตรี
ค. รัฐสภา
ง. องคมนตรี
11. วุฒิสมาชิกและสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎรมีข้อใดเหมือนกัน
ก. ที่มา
ข. คุณสมบัติ
ค. บทบาทหน้าที่
ง. เป็นสมาชิกรัฐสภา
12. การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลใดที่
ถือว่าสิ้นสุดเด็ดขาด
ก. ศาลฎีกา
ข. ศาลอาญา
ค. ศาลชั้นต้น
ง. ศาลอุทธรณ์
13. ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
ของไทยยึดถือหลักการปกครองข้อใด
ก. การรวมอานาจ
ข. การแบ่งอานาจ
ค. การกระจายอานาจ
ง. ทุกข้อผสมผสานกัน
14. ข้อใดเรียงลาดับศาลตั้งแต่เริ่มแรกจน
สูงสุดได้ถูกต้อง
ก. ศาลชั้นต้น ศาลฎีกา ศาลอุทธรณ์
ข. ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา
ค. ศาลฎีกา ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์
ง. ศาลฎีกา ศาลอุทธรณ์ ศาลชั้นต้น
15. ข้อใดคือการบริหารราชการส่วน
ท้องถิ่น
ก. อาเภอ
ข. จังหวัด
ค. เทศบาล
ง. กระทรวง
แบบบันทึกผลกำรประเมินกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 หน่วยที่ 4 เรื่องกำรเมืองกำรปกครอง ประกอบแผนที่ 2 อำนำจอธิปไตย
เลข
ที่
ชื่อ – สกุล
ด้ำนคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รวมคะแนนด้ำนคุณลักษณะฯ
ด้ำนผลงำน
รวม
ผ่ำน/ไม่ผ่ำน
รับผิดชอบต่อหน้ำที่
เป็นผู้นำและผู้ตำมที่ดีได้
ทำงำนและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
มีควำมสนใจใฝ่เรียนรู้
ประหยัดและอยู่อย่ำงพอเพียง
กำรทำแบบทดสอบก่อนเรียน
กำรทำแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
2 2 2 2 2 10 15 10 35
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
ควำมหมำยระดับคุณภำพ 2 หมำยถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 30 – 35 = 2
1 หมำยถึง พอใช้ 20 – 29 = 1
0 หมำยถึง ปรับปรุง 0 - 19 = 0
เกณฑ์กำรผ่ำน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
(………………………..)
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 3
กลุ่มสำระ สังคมศึกษำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 4 เรื่องกำรเมืองกำรปกครอง เวลำ 9 ชั่วโมง
เรื่อง หน้ำที่คนไทยตำมรัฐธรรมนูญ เวลำ 1 ชั่วโมง
***********************************************************************
มำตรฐำน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา
และธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวชี้วัด
มำตรฐำน ส 2.2 ป.6 / 2 มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริม ประชาธิปไตยใน
ท้องถิ่นและประเทศ
สำระสำคัญ
ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มี
รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด อานาจอธิปไตยที่ใช้ในการปกครอง คนไทยมีหน้าที่ตาม
รัฐธรรมนูญ
จุดประสงค์กำรเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของรัฐธรรมนูญ และบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับโครง
ของรัฐ และการเมืองการปกครองได้
2. ค้นคว้าและนาเสนอหน้าที่คนไทยตามรัฐธรรมนูญได้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รับผิดชอบต่อหน้าที่
2. เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี
3. ทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
4. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
5. ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง
สำระกำรเรียนรู้
หน้าที่คนไทยตามรัฐธรรมนูญ
กระบวนกำรเรียนรู้
1. ครูเล่านิทานเรื่อง ราชสีห์กับสุนัขจิ้งจอก ให้นักเรียนฟังแล้วสรุปข้อคิดที่ได้จาก
นิทาน
นิทำนเรื่อง รำชสีห์กับสุนัขจิ้งจอก
มีราชสีห์ตัวหนึ่งออกไปล่าวัวมาได้ก็กินจนอิ่มหนาสาราญ แล้วก็ไปกินน้าที่ลาธาร บังเอิญมีสุนัข
จิ้งจอกตัวหนึ่งกินน้าอยู่บริเวณนั้นเห็นราชสีห์เข้าก็ตกใจกลัว จะหนีก็หนีไม่ทัน ก็เลยทาใจดีเดินเข้าหา
ราชสีห์พร้อมกับพูดว่า “ท่านราชสีห์ผู้ยิ่งใหญ่ ข้าชื่นชมท่านมานานแล้ว ข้าอยากเป็นผู้รับใช้ติดตามท่านไป
ทุกหนทุกแห่ง” ราชสีห์ได้ยินก็ไม่ว่าอะไร ยินยอมให้สุนัขจิ้งจอกติดตามไปทุกหนทุกแห่ง สุนัขจิ้งจอกก็
รับใช้ราชสีห์โดยมีหน้าที่ออกไปหาสัตว์ว่าอยู่ที่ใด แล้วกลับมาบอกราชสีห์ ให้ราชสีห์ไปล่า เมื่อได้สัตว์
มาราชสีห์ก็จะแบ่งเนื้อให้สุนัขจิ้งจอกกินทุกครั้ง
เมื่อเวลาผ่านไปนานเข้าสุนัขจิ้งจอกก็สาคัญตนเองผิด คิดว่ามีบารมีมากแล้ว น่านะเป็นหัวหน้าให้
ราชสีห์ได้รับใช้บ้าง จึงพูดกับราชสีห์ขอแลกหน้าที่กัน ให้ราชสีห์เป็นฝ่ายไปหาเหยื่อแล้วตนตะเป็นผู้ล่า
เองบ้าง ราชสีห์ได้ฟังก็ไม่ว่าอะไรยินยอมตามสุนัขจิ้งจอก แล้วถามสุนัขจิ้งจอกว่า “วันนี้ท่านอยกกินเนื้อ
อะไร” สุนัขจิ้งจอกบอกว่า “เราอยากกินเนื้อช้าง” ราชสีห์จึงออกไปหาช้างเมื่อพบแล้วก็กลับมาบอกสุนัข
จิ้งจอกสุนัขจิ้งจอกจึงออกไปล่าช้าง เมื่อเห็นช้างก็เห่าและตรงเข้าไปจะกัดช้าง แต่ช้างซึ่งเป็นสัตว์ที่มี
ร่างกายใหญ่โตเมื่อเห็นสุนัขจิ้งจอกจะทาร้ายตน จึงใช้เท้าแตะสุนัขจิ้งจอกล้มลงและเหยียบสุนัขจิ้งจอกจน
ตาย
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ใครมีหน้าที่อะไรก็ควรทาแต่ในหน้าที่ของตนให้ดี อย่าได้ไปทาใน
หน้าที่ของคนอื่น อาจเป็นผลร้ายต่อตนเองและผู้อื่นได้
2. ให้นักเรียนดูภาพพานรัฐธรรมนูญ และถามนักเรียนว่าใครรู้จักภาพนี้บ้าง และ
ภาพนี้คืออะไรมีความหมายต่อประเทศไทยอย่าไร แล้วให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย
คาว่ารัฐธรรมนูญ
3. ครูอธิบายว่ารัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายสูงสุดของประเทศ ที่กาหนดรูปแบบการ
ปกครองประเทศและอานาจหน้าที่ขององค์กรของรัฐ มีบทบัญญัติที่คุ้มครองสิทธิ
และเสรีภาพของราษฎร ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ ฉบับที่ 16 ประกาศใช้
เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2540
4. ครูให้นักเรียนบอกถึงหน้าที่ของคนไทยตามรัฐธรรมนูญ ลงในใบงานที่ 1 แล้ว
นาเสนอผลงาน
5. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เรื่อ รัฐธรรมนูญ ดังนี้
1) รัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายสูงสุดขอประเทศ และเป็นกฎหมายที่กาหนดรูปแบบ
ของการปกครองประเทศ กาหนดอานาจหน้าที่ขององค์กรของรัฐ มี
บทบัญญัติที่คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของราษฎร
2) บทบัญญัติเกี่ยวกับโครสร้างของการบริหารของรัฐ และการเมืองการ
ปกครอง มีดังนี้
(1) ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวกันจะแบ่งแยกมิได้
(2) ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์
เป็นประมุข
(3) อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย
(4) พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะกล่าวหา
หรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้
6. หน้าที่ของคนไทยตามรัฐธรรมนูญ
(1) รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
(2) ปฏิบัติตามกฎหมาย
(3) ใช้สิทธิเลือกตั้ง
(4) รับราชการทหาร
(5) เสียภาษี
กระบวนกำรวัดผลประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. สังเกตพฤติกรรมรายกลุ่ม
3. การนาเสนอผลงาน
4. การตรวจผลงาน
เครื่องมือ
1. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมินพฤติกรรมรายกลุ่ม
3. แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
4. แบบประเมินการตรวจผลงาน
เกณฑ์กำรประเมิน
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
2. สังเกตพฤติกรรมรายกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
3. การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
สื่อ/แหล่งกำรเรียนรู้
1. ใบความรู้
2. ใบงานที่ 1
3. รูปภาพ
4. ห้องสมุด
กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.………………………………………………………………………………………………
….……………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………
…………….………………………………………….………………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหำรหรือผู้ที่ได้รับมอบหมำย
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………….………………
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………….………………
ลงชื่อ……………………………………..
(……………………………….)
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน…………….
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
บันทึกผลหลังกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้
ผลกำรเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………..………………………………
ปัญหำ / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….………………………………………………………….……………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทำงแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………………..
(………………………)
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ………………..
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
ใบงำนที่ 1
เรื่อง หน้ำที่ของคนไทยตำมรัฐธรรมนูญ
ชื่อ…………………………………………..ชั้น…………………………………….
วันที่…………………………………………..กลุ่ม…………………………………
คำชี้แจง ให้นักเรียนค้นคว้าเกี่ยวกับหน้าที่ของคนไทยตามรัฐธรรมนูญ
หน้ำที่คนไทยตำมรัฐธรรมนูญ
1………………………………………………………………………….
2…………………………………………………………………………
3…………………………………………………………………………
4…………………………………………………………………………
5…………………………………………………………………………
6………………………………………………………………………….
7………………………………………………………………………….
8………………………………………………………………………….
9………………………………………………………………………….
10………………………………………………………………………..
ใบควำมรู้
เรื่อง โครงสร้ำงรัฐธรรมนูญ
โครงสร้างของรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน เป็นฉบับที่ 16 ประกาศใช้เมื่อวันที่
11 ตุลาคม พ.ศ. 2540 ได้บัญญัติเกี่ยวกับโครงสร้างการบริหารของรัฐและการเมืองการ
ปกครอง ดังนี้
1. ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักร
อันหนึ่งอันเดียวกัน จะแบ่งแยกมิได้
2. ประเทศไทยมีการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
3. อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน
ชาวไทย
4. พระมหากษัตริย์ทรงดารงอยู่ใน
ฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะกล่าวหา
หรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้
รัฐธรรมนูญ ถือเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ และเป็นกฎหมายที่กาหนดรูปแบบ
ของการปกครองประเทศ กาหนดอานาจหน้าที่ขององค์กรของรัฐ มีบทบัญญัติที่คุ้มครองสิทธิ
และเสรีภาพของประชาชนไว้ด้วย ดังนั้นถ้าข้อกฎหมายใดขัดแย้งกับ รัฐธรรมนูญ
กฎหมายฉบับนั้นจะใช้บังคับไม่ได้
ประเทศไทยใช้ระบบการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย มีรัฐธรรมนูญเป็น
กฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง

More Related Content

What's hot

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56Dhanee Chant
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนMontira Butyothee
 
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1Totsaporn Inthanin
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
 
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 

Similar to หน้าที่พลเมือง

โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)tangmo77
 
กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4thnaporn999
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
งานนำเสนอ1 is
งานนำเสนอ1 isงานนำเสนอ1 is
งานนำเสนอ1 isKay Yosita Intu
 
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6Pukkawin Ngamdee
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือNanthapong Sornkaew
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหารการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหารBoBiw Boom
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่นtassanee chaicharoen
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7mrpainaty
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7mrpainaty
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 sarawut chaicharoen
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยthnaporn999
 

Similar to หน้าที่พลเมือง (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
 
แผนที่ 1
แผนที่ 1แผนที่ 1
แผนที่ 1
 
กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
งานนำเสนอ1 is
งานนำเสนอ1 isงานนำเสนอ1 is
งานนำเสนอ1 is
 
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
 
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 304 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
 
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหารการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวดพื้นฐาน
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวดพื้นฐานเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวดพื้นฐาน
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวดพื้นฐาน
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 

หน้าที่พลเมือง

  • 1. แผนผังความคิด ประจาหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อำนำจอธิปไตย กำรปกครองระดับท้องถิ่น รัฐธรรมนูญ กฎหมำยน่ำรู้ การเมืองการปกครอง อานาจบริหาร อานาจตุลการ อานาจนิติบัญญัติ อบต. อบจ. เมืองพัทยา กฎหมายใน ชีวิตประจาวัน
  • 2. แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสำระ สังคมศึกษำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 4 เรื่องกำรเมืองกำรปกครอง เวลำ 9 ชั่วโมง เรื่อง กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เวลำ 1 ชั่วโมง *********************************************************************** มำตรฐำน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด มำตรฐำน ส 2.2 ป.6 / 1 เปรียบเทียบบทบาท หน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นและรัฐบาล สำระสำคัญ การปกครองทุกระดับต้องมีผู้นา หรือหัวหน้าเป็นผู้รับผิดชอบ เพื่อให้เกิดความสบ เรียบร้อยในประเทศ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1. อธิบายบทบาทความสัมพันธ์ระหว่างอานาจของกลุ่มบุคคลในสังคมระดับประเทศ 2. อธิบายการใช้อานาจอธิปไตยในการปกครองระดับประเทศได้ 3. สารวจและนาเสนอผลการสารวจ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองการ ปกครองของบุคคลในครอบครัวได้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รับผิดชอบต่อหน้าที่ 2. เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี 3. ทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
  • 3. 4. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ 5. ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง สำระกำรเรียนรู้ 1. การปกครองระดับประเทศ 2. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองการปกครอง กระบวนกำรเรียนรู้ 1. ให้นักเรียนเล่นเกมเขียนชื่ออาเภอในจังหวัดของตนเองกลุ่มไหนเขียนเสร็จก่อน เป็นผู้ชนะ 2. ครูซักถามนักเรียนว่า ประเทศมีการปกครองแบบใดและมีใครเป็นประมุข 3. ครูอธิบายว่าประเทศไทยมีการปกครองแบบระบบประชาธิปไตย มี พระมหากษัตริย์เป็นประมุข และมีการแบ่งเป็นจังหวัดทั้ง 76 จังหวัด เป็นการ แบ่งเขตการปกครองให้แต่ละจังหวัดมีอานาจหน้าที่ในการพัฒนา และแก้ไข ปัญหาต่าง ๆ เพื่อความสุขความเจริญของประชาชนในจังหวัด 4. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็น 3 กลุ่ม ค้นคว้าเรื่อง การบริหารราชการส่วน ท้องถิ่น จากนั้น ให้แต่ละกลุ่มออกมารายงานผลที่หน้าชั้น ครูอธิบายเพิ่มเติมให้ถูกต้อง สมบูรณ์ 5. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เรื่อง การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ดังนี้ การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 5 รูปแบบ 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด 2. องค์การบริหารส่วนตาบล 3. เทศบาล 4. กรุงเทพมหานคร 5. เมืองพัทยา
  • 4. 6. ให้นักเรียนทาใบงานที่ 1 เรื่อง การปกครอง แล้วนาเสนอผลงานหน้าชันเรียน 7. ครูซักถามนักเรียนกิจการเลือกตั้ง ครั้งที่ผ่านมาว่าสมาชิกในบ้านนักเรียนได้ไป เลือกตั้งหรือไม่อย่างไร 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และข้อดี ข้อเสียในการปกครองระบอบประชาธิปไตย 9. นักเรียนทาใบงานที่ 2 เรื่อง การบริหารราชการ แผ่นดิน 10. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เมื่อเสร็จแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกระบวนการ วัดผลประเมินผล กระบวนกำรวัดผลประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. สังเกตพฤติกรรมรายกลุ่ม 3. การนาเสนอผลงาน 4. การตรวจผลงาน เครื่องมือ 1. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมรายกลุ่ม 3. แบบประเมินการนาเสนอผลงาน 4. แบบประเมินการตรวจผลงาน เกณฑ์กำรประเมิน 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 2. สังเกตพฤติกรรมรายกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 3. การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
  • 5. สื่อ/แหล่งกำรเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. ใบงานที่ 1 3. ใบงานที่ 2 4. แบบฝึกหัด 5. รูปภาพ
  • 6. กิจกรรมเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………… ….…………………………………………………………………………………………… …….…………………………………………………………………………… ………….…………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………… บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหำรหรือผู้ที่ได้รับมอบหมำย ………………………………………………………………………………………………… …….………………………………………………………………………………………… …………….……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… …….………………………………………………………………………………………… …………….……………………………………………………………………… ………….…………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. (……………………….) ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน…………….. วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
  • 7. บันทึกผลหลังกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ ผลกำรเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ปัญหำ / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ……………….…………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทำงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. (………………………..) ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ…………………. วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
  • 8. ใบงำนที่ 1 เรื่อง กำรปกครอง ชื่อ…………………………………………. ชั้น……………………………… วันที่……………………………………..กลุ่ม………………………………… คำชี้แจง ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายแล้วบันทึกลงในแบบบันทึก 1. การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นประกอบด้วยอะไรบ้าง………………………… …………………………………………………………………………………. 2. เพราะเหตุใดประเทศไทยจึงต้องมีการแบ่งเขตการปกครอง…………………… …………………………………………………………………………………. 3. โครงสร้างการบริหารของเทศบาลประกอบด้วยอะไรบ้าง..…………………… …………………………………………………………………………………. 4. ให้นักเรียนอธิบายรูปแบบการปกครองขององค์การบริหารส่วนตาบล………… …………………………………………………………………………………. 5. นักเรียนคิดว่าการที่ให้ประชาชนในแต่ละท้องถิ่นปกครองกันเองนั้นดีหรือไม่ เพราะเหตุ ใด…………………………………………………………………………………
  • 9. ใบงำนที่ 2 เรื่อง กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ชื่อ…………………………………………. ชั้น……………………………… คำชี้แจง ให้นักเรียนทาแผนภูมิการบริหารราชการแผ่นดิน แล้วตอบคาถาม 1. การจัดการบริหารราชการแผ่นดินแบบนี้มีประโยชน์อย่างไร…………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… การบริหารราชการแผ่นดิน …………………………… กระทรวง …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… หมู่บ้าน …………………………… เทศบาล ……………………………
  • 10. 2. การที่รัฐบาลส่วนกลางเป็นผู้ใช้อานาจในการบริหารโดยตรงทาให้เกิดผลดี หรือผลเสีย อย่างไร ผลดี……………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………….. ผลเสีย…………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………….. 3. จากข้อความที่กาหนดให้ นักเรียนมีความเข้าใจอย่างไรบ้าง ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 หมวด 4 หน้าที่ของชนชาว ไทย มาตรา 68 บัญญัติไว้ว่า บุคคลมีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง 3.1 ข้อความที่ขีดเส้นใต้หมายถึงอะไร…………………………………………. ……………………………………………………………………………… 3.2 การเลือกตั้งในประเทศไทยในปัจจุบันมีกี่แบบ อะไรบ้าง………………. ……………………………………………………………………………… 3.3 สมมติว่านักเรียนมีอายุครบ 18 ปี บริบูรณ์ในวันที่ 1 มกราคม ของปีที่มีการ เลือกตั้งนักเรียนจะมีสิทธิในการไปทาหน้าที่เลือกตั้งแบบใดบ้าง……. ……………………………………………………………………………… 3.4 การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภากับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแตกต่างกันอย่างไรบ้าง สมำชิกวุฒิสภำ สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร
  • 11. กำรปกครองในระบอบประชำธิปไตย อันมีพระมหำกษัตริย์เป็นประมุข ประเทศไทยของเราแต่เดิมนั้น ปกครองด้วยระบอกสมบูรณาญาสิทธิราชย์แต่ได้มีการ เปลี่ยนแปลงการปกครองขึ้นในปี พ.ศ. 2475 มาเป็นรูปแบบการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ของประเทศ ซึ่งก็คือพระมหากษัตริย์ทรง เป็นศูนย์รวมจิตใจของปวงชนชาวไทย โดยอานาจของพระองค์นั้นก็อยู่ภายใต้กฎหมาย รัฐธรรมนูญอันเป็น อานาจอธิปไตยสูงสุด ซึ่งเป็นของปวงชนชาวไทย และพระมหากษัตริย์ ทรงใช้อานาจนั้นผ่านรัฐสภา คณะรัฐมนตรีและศาล เมื่อพระมหากษัตริย์ได้มอบอานาจการปกครองให้กับประชาชนแล้ว ทุกคนใน ประเทศย่อมมีสิทธิและหน้าที่ในการปกครองประเทศอย่างเท่าเทียมกันโดยการใช้สิทธิและ หน้าที่ในการปกครองประเทศที่ถูกต้องนั้น มาจากการใช้สิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งตัวแทน เพื่อเข้าไปบริหารประเทศแทนตน ซึ่งสิทธิของการเลือกตั้งนี้ ทุกคนจะมีสิทธิเท่ากับ 1 เสียง และจะเป็นเสียงที่ใช้แทนกันไม่ได้ ดังนั้นทุกคนจึงควรรักษาสิทธิและหน้าที่ของตนเอง เพื่อ ประโยชน์ในการอยู่ร่วมกัน รูปแบบกำรปกครองของไทย แบ่งเป็นการปกครองส่วน กลางได้แก่กระทรวง ทบวง กรม ซึ่งทาหน้าที่กาหนด นโยบาย ตลอดจนกฎระเบียบและข้อปฏิบัติต่าง ๆ การปกครองส่วนภูมิภาค ได้แก่ จังหวัดและอาเภอ การปกครองส่วน ท้องถิ่น ได้แก่ เทศบาลองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตาบล กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยาความ สัมพันธ์ระหว่างการปกครองทั้ง 3 ประเภท แสดงได้ดังนี้
  • 12. ใบควำมรู้ เรื่อง กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน การบริหารราชการแผ่นดิน การบริหารราชการแผ่นดิน แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 1. การบริหารส่วนกลาง 2. การบริหารส่วนภูมิภาค 3. การบริหารส่วนท้องถิ่น
  • 14. - กระทรวง - จังหวัด - องค์การบริหาร - ทบวง - อาเภอ ส่วนจังวัด - กรม - เทศบาล - กรุงเทพมหานคร - เมืองพัทยา - องค์การบริหาร ส่วนตาบล การปกครองในระดับจังหวัด ในจังหวัดหนึ่งจะประกอบด้วยจังหวัด อาเภอ ตาบล และหมู่บ้าน กำรบริหำรรำชกำรแผนดิน ส่วนท้องถิ่นส่วนภูมิภำคส่วนกลำง
  • 15. กำรแบ่งส่วนรำชกำรระดับจังหวัด หัวหน้าการปกครองของจังหวัด คือ ผู้ว่าราชการจังหวัด สังกัดกระทรวงมหาดไทย ส่วนผู้ทาหน้าที่ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการของกระทรวง ทบวง กรม ประจาจังหวัดนั้น ๆ การปกครองของชุมชนและรัฐในระดับท้องถิ่น เป็นส่วนหนึ่งของการจัดรูปแบบการ บริหารราชการแผ่นดินที่เรียกว่า การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น เป็นกิจการที่รัฐบาลให้ ประชาชนในท้องถิ่นจัดทากันเอง เพื่อสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นนั้น ๆ โดยเฉพาะ และเพื่อเป็นการกระจายอานาจการปกครองให้ประชาชน การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 5 รูปแบบ 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีหน้าที่รับผิดชอบทั้งจังหวัด โดยทับซ้อนกับพื้นที่ ของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น คือ เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตาบลใน จังหวัดนั้น องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีโครงสร้าง 2 ส่วน คือ 1. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ประกอบด้วยสมาชิกสภาองค์การ บริหารส่วนจังหวัด มาจากการเลือกตั้ง อยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สภา องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 คน และรอง ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด 2 คน กำรบริหำรรำชกำรแผนดิน ส่วนรำชกำรกระทรวง ทบวง กรมสำนักงำนจังหวัด
  • 16. 2. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นผู้เลือกสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 คน เป็นนายกองค์การบริหารส่วน จังหวัดทาหน้าที่ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารกิจการขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ตามกฎหมาย โดยมีรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นผู้ช่วย 3. ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นตัวแทนของรัฐบาลใน ส่วนภูมิภาค มีอานาจหน้าที่ในการควบคุมดูแลการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นในจังหวัด เพื่อให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดสามารถปฏิบัติงานภายในอานาจหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง 2. องค์การบริหารส่วนตาบล (อ.บ.ต.) มีหน้าที่ในการพัฒนาตาบลในด้าน เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตาบลประกอบด้วย 1. สภาองค์การบริหารส่วนตาบล ประกอบด้วย สมาชิกองค์การบริหาร ส่วนตาบลจานวนหมู่บ้านละ 2 คน 2. คณะกรรมการบริหารองค์การส่วนตาบล ประกอบด้วยประธาน กรรมการบริหารคนหนึ่ง และกรรมการบริหารจานวน 2 คน 3. เทศบาล มีหน้าที่เกี่ยวกลับการรักษาความสงบเรียบร้อยของประชา ชน กิจการสาธารณูปโภคต่าง ๆ รวมทั้งการศึกษาอบรม การรักษาพยาบาล เทศบาลแบ่ง ออกเป็นเทศบาลตาบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร เทศบาลมีรายได้จากประชาชนในท้องถิ่น เช่น ภาษีอากร ค่าธรรมเนียม ค่าใบอนุญาต ค่าปรับ รายได้จากสาธารณูปโภคต่าง ๆ เป็นต้น 1. สภาเทศบาล ประกอบด้วยสมาชิก ซึ่งราษฎรเลือกตั้ง จานวน สมาชิกมีมากน้อยตามประเภทของเทศบาล เทศบาลตาบล 12 คน เทศบาลเมือง 18 คน และ เทศบาลนคร 24 คน สมาชิกอยู่ในตาแหน่งคราวละ 5 ปี สภาเทศบาลมีประธานสภาเทศบาล 1 คน และรองประธาน 1 คน ผู้ว่าราชการแต่งตั้งจากสมาชิกสภาเทศบาลตามมติของสภา เทศบาล
  • 17. 2. คณะเทศมนตรี ประกอบด้วย นายกเทศมนตรีและเทศมนตรี ตาม จานวนที่กาหนดแต่ละประเภทของเทศบาล เทศบาลตาบล เทศบาลเมืองมีเทศมนตรี จานวน 2 คน เทศบาลนครมีเทศมนตรีจานวน 4 คน ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้แต่งตั้งจากสภาเทศบาล เป็นนายกเทศมนตรี โดยความเห็นชอบของสภาเทศบาล 4. กรุงเทพมหานคร เป็นการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นรูปพิเศษ โครงสร้างของกรุงเทพมหานครมีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ 1. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารของ กรุงเทพมหานคร โดยมีรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 4 คน ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครอยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี 2. สภากรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้ง ซึ่งมี จานวนมากน้อยตามจานวนราษฎร คือ จานวนราษฎร 100,000 คน ต่อสมาชิกสภา กรุงเทพมหานครอยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี สภากรุงเทพมหานครจะเลือกประธานสภาและ รองประธานสภาไม่เกิน 2 คน ให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครประกาศชื่อผู้ได้รับเลือกใน กรุงเทพกิจจานุเบกษา 5. เมืองพัทยา เป็นการบริหารราชการท้องถิ่น รูปพิเศษมีการกระจาย อานาจบางส่วนให้แก่ท้องถิ่นไปดาเนินการเอง เพื่อแก้ไขความเสื่อมโทรมของเมืองพัทยา โครงสร้างเมืองพัทยามีองค์กระกอบ 2 ส่วน 1. สภาเมืองพัทยา ประกอบด้วย สมาชิกจานวน 24 คน มาจาก การเลือกตั้ง โดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเมืองพัทยา อยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่ วันเลือกตั้ง สภาเมืองพัทยาเลือกสมาชิกเป็นประธานสภาเมืองพัทยา 1 คน และรอง ประธานสภาเมืองพัทยาจานวน 2 คน และเสนอให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง ประธานสภาอาจแต่งตั้งเลขานุการประธานสภาเมืองพัทยา และ ผู้ช่วยเลขานุการประธานสภาเมืองพัทยาไม่เกินจานวน รองประธานสภาเมืองพัทยา ปลัดเมืองพัทยาทาหน้าที่เลขานุการสภาเมืองพัทยา
  • 18. 2. นายกเมืองพัทยา มาจากการเลือกตั้ง โดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือก ตั้งในเขตเมืองพัทยา การเลือกตั้งนายกเมืองพัทยาให้กระทาโดยวิธีออกเสียงลงคะแนน โดยตรงและอยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง แต่จะดารงตาแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ กำรเลือกตั้งในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา 2. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 1. การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ได้กาหนดให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งจานวน 200 คน โดยดาเนินการจัดให้มีการ เลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ทุกจังหวัดทั่วประเทศ จานวนสมาชิกวุฒิสภาในแต่ละจังหวัดมีมาก น้อยต่างกันขึ้นอยู่กับประชากรของจังหวัดนั้น ๆ กล่าวคือ ทุกจานวนประชากรประมาณ 300,000 คน จะเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาได้ 1 คน ถ้ามีประชากรมากกว่านี้ จานวนสมาชิก วุฒิสภาก็จะเพิ่มขึ้นได้ตามอัตราส่วนกาหนด และดารงตาแหน่งอยู่ในวาระ 6 ปี หลักเกณฑ์ การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาพอสรุปได้ดังนี้ 1. การกาหนดเขตเลือกตั้งให้ใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง 2. สิทธิการลงคะแนนเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งคนหนึ่งมีสิทธิ ลงคะแนนเลือกตั้งผู้สมัครเป็นสมาชิกวุฒิสภาได้เพียงคนเดียว 3. สมาชิกวุฒิสภาที่ได้รับการเลือกตั้ง จังหวัดใดมีสมาชิกวุฒิสภาได้1 คน ให้ผู้สมัคร ที่ได้รับคะแนนมากที่สุดเป็นผู้ได้รับเลือกตั้ง แต่ถ้าจังหวัดใดมีสมาชิกวุฒิสภาได้ มากกว่า 1 คนให้ผู้สมัครซึ่งได้คะแนนมากที่สุดตามลาดับลงมาตามจานวน สมาชิกวุฒิสภา ที่จังหวัดนั้นพึงมีเป็นผู้ได้รับเลือกตั้ง
  • 19. 2. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การปกครองระบอบประชาธิปไตยยึดหลักการมีส่วนร่วมในการปกครองของประชาชน ซึ่งในทางปฏิบัติประชาชนทุกคนไม่สามารถจะเข้าไปปกครองประเทศได้โดยตรง เนื่องจาก ประชาชนมีจานวนมาก จึงต้องใช้วิธีเลือกตัวแทนประชาชน คือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไป ดาเนินการแทน โดยไปทาหน้าที่ออกกฎหมายและควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน การ0 เลือกตั้งจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตย การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของไทยมีลักษณะสาคัญ ดังนี้ 1. วิธีการเลือกตั้ง ใช้วิธีออกเสียงโดยตรง คือ ผู้มีสิทธิออกเสียงจะลงคะแนนเสียง เลือกตั้งผู้สมัครด้วยตนเอง และเป็นการออกเสียงโดยที่ผู้อื่นไม่รู้ว่าตนเลือกใคร 2. จานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งประเทศรวม 500 คน โดยแบ่งเป็นสมาชิกซึ่งมา จากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 100 คน และสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่ง เขต 400 คน 3. เขตเลือกตั้งถือเขตจังหวัดเป็นสาคัญ จังหวัดใดจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเท่าใดคิด ตามสัดส่วนของจานวนราษฎรในจังหวัดนั้นกับจานวนราษฎรทั่วประเทศ 4. ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง คือ ผู้มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผู้สมัครเลือกตั้ง คือ ผู้มีสิทธิสมัครเข้ารบการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ทั้ง ผู้มีสิทธิเลือกตั้งและผู้สมัครรับเลือกตั้ง ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม ทีรัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ ข้อดีข้อเสียของกำรปกครองระบอบประชำธิปไตย ในปัจจุบัน การปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นการปกครองที่นานาประเทศ ยอมรับว่าเป็นการปกครองที่เหมาะสม เนื่องจากมีข้อดีที่สาคัญหลายประการ ได้แก่ 1. เป็นการปกครองที่ประชาชนมีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศใน ทุกระดับในฐานะผู้ออกเสียงเลือกตั้งและผู้สมัครรับเลือกตั้ง จึงถือเป็นการ ปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน
  • 20. 2. เป็นการปกครองที่มีลักษณะของการแบ่งอานาจและกระจายอานาจโดยมีการ ตรวจสอบและถ่วงดุลแห่งอานาจ เพื่อป้องกันมิให้อานาจในการปกครองตกอยู่ใน มือคน ๆ เดียว หรือคนกลุ่มเดียว 3. เป็นการปกครองที่ให้ความสาคัญแก่บุคคล ยึดหลักความเสมอภาคและเสรีภาพ โดยมีรัฐธรรมนุญรับรองในหลักการนี้ อย่างไรก็ตาม ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย ซึ่งยึดหลักการมีส่วนร่วมของ ประชาชนโดยการเลือกตัวแทนไปทาหน้าที่ในการปกครอง หากประชาชนไม่เข้าใจใน อุดมการณ์ประชาธิปไตยอาจก่อให้เกิดการซื้อสิทธิ์ขายเสียง ซึ่งนาไปสู่ปัญหาการทุจริตฉ้อ ราษฎร์บังหลวง กำรปฏิบัติตนที่เหมำะสมในระบอบประชำธิปไตย ประชาชนในการปกครองระบอบประชาธิปไตย ควรมีการปฏิบัติตนที่เหมาะสมสอด คลองกับการปกครองและวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย ดังนี้ 1. เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพโดยมีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตนตามหน้าที่ เคารพกติกา ของสังคม ไม่ละเมิดกฎหมาย 2. สนใจเข้ามีส่วนร่วมในการปกครอง เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี รู้จักใช้สิทธิและ เสรีภาพในทางที่ถูกต้อง และทาตนให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนร่วม 3. ยึดมั่นในเหตุผล ยุติธรรม รู้จักประนีประนอม รับฟังคาความคิดเห็นของผู้อื่น และยอมรับเสียงข้างมาก 4. ให้ความสาคัญแก่ผู้อื่น โดยยึดหลักความเสมอภาคเท่าเทียม และเคารพในสิทธิ เสรีภาพของผู้อื่น
  • 21. แบบฝึกหัด คำชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณา ข้อความต่อไปนี้แล้วนาหมายเลขใส่ให้ตรงกับส่วนการ ปกครอง กำรจัดระเบียบกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินของไทย 1. การปกครองส่วนกลาง ……………………………………………….. ……………………………………………….. 2. การปกครองส่วนภูมิภาค ……………………………………………….. ……………………………………………….. 3. การปกครองส่วนท้องถิ่น ……………………………………………….. ………………………………………………. 1. สุขาภิบาล 2. กระทรวง 3. อาเภอ 4. องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) 6. กรม5. จังหวัด 10. เทศบาล9. องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) 8. กรุงเทพมหานคร7. ทบวง 12. อาเภอ11. เมืองพัทยา
  • 22. แบบบันทึกผลกำรประเมินกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 หน่วยที่ 4 เรื่องกำรเมืองกำรปกครอง ประกอบแผนที่ 1 กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เลข ที่ ชื่อ – สกุล ด้ำนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมคะแนนด้ำนคุณลักษณะฯ ด้ำนผลงำน รวม ผ่ำน/ไม่ผ่ำน รับผิดชอบต่อหน้ำที่ เป็นผู้นำและผู้ตำมที่ดีได้ ทำงำนและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ มีควำมสนใจใฝ่เรียนรู้ ประหยัดและอยู่อย่ำงพอเพียง กำรทำแบบทดสอบก่อนเรียน กำรทำแบบฝึกกิจกรรมชุดที่ 2 2 2 2 2 10 15 10 35 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ควำมหมำยระดับคุณภำพ 2 หมำยถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 30 – 35 = 2 1 หมำยถึง พอใช้ 20 – 29 = 1 0 หมำยถึง ปรับปรุง 0 - 19 = 0 เกณฑ์กำรผ่ำน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน (…………………………)
  • 23. แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสำระ สังคมศึกษำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 4 เรื่องกำรเมืองกำรปกครอง เวลำ 9 ชั่วโมง เรื่อง อำนำจอธิปไตย เวลำ 1 ชั่วโมง *********************************************************************** มำตรฐำน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด มำตรฐำน ส 2.2 ป.6 / 1 เปรียบเทียบบทบาท หน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นและรัฐบาล สำระสำคัญ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มี รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1. สามารถสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหารและอานาจตุลาการ 2. บอกประโยชน์ของการทาความรู้เรื่อง รัฐธรรมนูญของไทยไปใช้ในชีวิตประจาวัน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รับผิดชอบต่อหน้าที่ 2. เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี 3. ทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ 4. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ 5. ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง
  • 24. สำระกำรเรียนรู้ อานาจอธิปไตย กระบวนกำรเรียนรู้ 1. ครูและนักเรียนทบทวนเรื่องการปกครองจากชั่วโมงที่ผ่านมา 2. ครูอธิบายเรื่อง อานาจอธิปไตย ว่าเป็นอานาจสูงสุดของประเทศ แบ่งเป็น อานาจ นิติบัญญัติอานาจบริหาร และอานาจตุลาการ 3. แบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเลือกค้นคว้าการใช้อานาจอธิปไตย โดยเลือกกลุ่มละ 1 เรื่อ ไม่ให้ซ้ากัน จากนั้น ให้แต่ละกลุ่มสรุปเรื่องที่ค้นคว้า แล้วจัดทาเป็นแผนภูมิและออกมานาเสนอที่หน้าชั้น เปิดโอกาสให้เพื่อนซักถาม แล้วครูอธิบายเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ 4. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เรื่อง การแบ่งแยกและการใช้อานาจอธิปไตย ดังนี้ 1) อานาจอธิปไตย เป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ แบ่งเป็น อานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหาร และอานาจตุลาการ 2) อานาจนิติบัญญัติ หมายถึง อานานในการออก ยกเลิก แก้ไข หรือเพิ่มเติม กฎหมายโดยรัฐสภาซึ่งประกอบด้วย วุฒิสมาชิก และสภาผู้แทนราษฎร 3) อานาจบริหาร หมายถึง อานาจในการบริหารประเทศให้เป็นไปตาม กฎหมายโดยคณะรัฐมนตรีซึ่งมีนายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้ารัฐบาล 4) อานาจตุลาการ หมายถึง อานาจในการวินิจฉัยตัดสินคดีความ ต่าง ๆ เพื่อ รักษาสิทธิเสรีภาพของประชาชน และให้ความยุติธรรมแก่ทุกฝ่าย โดย ศาลยุติธรรมขอไทย แบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา 5. นักเรียนศึกษาใบความรู้แล้วร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นแล้วร่วมกันทา กิจกรรมในงานที่ 1 6. ให้นักเรียนทาใบงานที่ 2 และใบงานที่ 3 โดยไปค้นคว้าข้อมูลในห้องสมุด
  • 25. 7. ให้นักเรียนร่วมอภิปรายว่าจะทาความรู้ที่ได้เรียนไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างไร บ้าง โดยครูเขียนบนกระดานดาเพื่อเป็นแนวในการปฏิบัติ 8. นักเรียนทาแบบฝึกหัด กระบวนกำรวัดผลประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. สังเกตพฤติกรรมรายกลุ่ม 3. การนาเสนอผลงาน 4. การตรวจผลงาน เครื่องมือ 1. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมรายกลุ่ม 3. แบบประเมินการนาเสนอผลงาน 4. แบบประเมินการตรวจผลงาน เกณฑ์กำรประเมิน 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 2. สังเกตพฤติกรรมรายกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 3. การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 สื่อ/แหล่งกำรเรียนรู้ 1. ใบงานที่ 1 2. ใบงานที่ 2 3. ใบงานที่ 3 4. ใบความรู้ 5. ห้องสมุด
  • 26. กิจกรรมเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………… ….…………………………………………………………………………………………… …….………………………………………………………………………………………… ………….…………………………………………………………………………………… …………….………………………………………….……………………………………… บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหำรหรือผู้ที่ได้รับมอบหมำย ………………………………………………………………………………………………… …….………………………………………………………………………………………… …………….………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………… …….………………………………………………………………………………………… …………….………………………………………………………………………………… ………….…………………………………………………………………………………… …………….………………………………………………………………….……………… ลงชื่อ…………………………………….. (………………………………..) ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน…………… วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
  • 27. บันทึกผลหลังกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ ผลกำรเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..……………………………… ปัญหำ / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ……………….………………………………………………………….…………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทำงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………….……… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. (…………………………………) ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ………………….. วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
  • 28. ใบงำนที่ 1 เรื่อง อำนำจอธิปไตย ชื่อ………………………………………….ชั้น…………………………….. วันที่…………………………………….กลุ่ม……………………………….. คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนแผนภูมิอานาจอธิปไตย อานาจอธิปไตย ………………… …………………. ………………… … ……… ………. . ………. …………… … …………….. คณะรัฐมนตรี …………….. ……………. ศาลอุทธรณ์
  • 29. 1. ให้นักเรียนอธิบายบทบาทหน้าที่ของสถาบันทางการเมืองที่เกี่ยวกับการใช้อานาจอธิปไตย ทั้ง 3 สถาบัน………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… 2. การบริหารประเทศตามใจชอบของรัฐบาล โดยไม่มีฝ่ายนิติบัญญัติควบคุมเป็นผลดีแก่ ประชาชนหรือไม่อย่างไร…………………………………………………….. …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… 3. เมื่อเกิดคดีขึ้นศาลชั้นต้นเป็นผู้พิจารณาพิพากษาคดีเพียงศาลเดียวประชาชนได้รับความ ยุติธรรมหรือไม่…………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… 4. สถาบันการปกครองที่ปราศจากสถาบันตุลาการแล้ววกฎมายที่ประชาชนยึดถือปฏิบัติจะมี คุณค่าหรือไม่………………………………….…………………….. …………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………
  • 30. ใบงำนที่ 2 เรื่อง คณะรัฐมนตรี คำชี้แจง ให้นักเรียนค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการบริหารประเทศของคณะ รัฐมนตรีชุดปัจจุบัน แล้วบันทึกข้อมูล นายกรัฐมนตรีรัฐบาลชุดปัจจุบัน คือ…………………………… ดารงตาแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. ……………สังกัดพรรค…………………… ผลงานของคณะรัฐมนตรีขุดปัจจุบัน มีดังนี้ ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
  • 31. ใบงำนที่ 3 เรื่อง กระทรวง คำชี้แจง ให้นักเรียนค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับรายชื่อของกระทรวงต่าง ๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน พร้อมทั้งบอกชื่อรัฐมนตรีว่าการของแต่ละกระทรวง แล้วจัดทาป้ายนิเทศ กระทรวง……………………………………………………………………….. รัฐมนตรีว่าการ คือ ……………………………………………………………. กระทรวง……………………………………………………………………….. รัฐมนตรีว่าการ คือ ……………………………………………………………. กระทรวง……………………………………………………………………….. รัฐมนตรีว่าการ คือ ……………………………………………………………. . กระทรวง……………………………………………………………………….. รัฐมนตรีว่าการ คือ ……………………………………………………………. กระทรวง……………………………………………………………………….. รัฐมนตรีว่าการ คือ ……………………………………………………………. กระทรวง……………………………………………………………………….. รัฐมนตรีว่าการ คือ ……………………………………………………………. กระทรวง……………………………………………………………………….. รัฐมนตรีว่าการ คือ ……………………………………………………… …….
  • 32. ใบควำมรู้ เรื่อง อำนำจอธิปไตย การแบ่งแยกและการใช้อานาจอธิปไตย อานาจอธิปไทย เป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ แบ่งเป็นอานาจ นิติบัญญติ อานาจบริหาร และอานาจตุลาการ โดยมีการใช้อานาจต่าง ๆ ดังนี้ 1. อานาจนิติบัญญัติ : รัฐสภา อานาจนิติบัญญัติ หมายถึง อานาจในการออก ยกเลิก แก้ไข หรือเพิ่มเติม กฎหมาย พระมหากษัตริย์ทรงใช้อานาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา วุฒิสภา มีสภาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) จานวน 200 คน มาจากการเลือกตั้ง โดยใช้เขตจังหวัดเป็นเขต เลือกตั้ง ดารงตาแหน่งคราวละ 6 ปี สภาผู้แทนราษฎร มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) จานาวน 500 คน ดารงตาแหน่งคราวละ 4 ปี ดังนี้ 1. แบบบัญชีรายชื่อ มีจานวน 100 คน เป็นการเลือกจากบัญชีรายชื่อ ของแต่ละพรรคการเมือง โดยใช้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง 2. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง มีจานวน 400 คน เป็นการลงคะแนนเลือกตั้ง ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นรายบุคคล ตามการแบ่งเขตเลือกตั้งตามที่ กาหนด เขตละ 1 คน 1. การตรากฎหมาย 2. ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ 3. ให้ความเห็นชอบเมื่อรัฐสภาประชุมร่วมกัน รัฐสภา อานาจหน้าที่ของรัฐสภา
  • 33. 2. อานาจบริหาร : คณะรัฐมนตรี อานาจบริหาร หมายถึง อานาจในการบริหารประเทศให้เป็นไปตามกฎหมาย พระมหากษัตริย์ทรงใช้อานาจบริหารผ่านทางคณะรัฐมนตรี โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า รัฐบาล ในคณะรัฐมนตรีประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี 1 คนและรัฐมนตรีอีก 35 คน มาจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่มาจากการเลือกตั้ง เพื่อกราบบังคมทูล พระมหากษัตริย์เพื่อทรงแต่งตั้ง หาก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้ใดได้รับการ แต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะต้องลาออก จากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพื่อ เป็นการแยกอานาจบริหาร และอานาจ นิติบัญญัติออกจากกัน 1. กาหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน 2. บริหารราชการแผ่นดินตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา 3. ทาหน้าที่ประสานระหว่าง กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ เพื่อให้การบริหาร เป็นไปด้วยความเรียบร้อย 4. กาหนดระเบียบข้อบังคับให้กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ 5. พิจารณาและลงมติเรื่องต่าง ๆ ที่กระทรวง ทบวง กรม เสนอให้คณะรัฐมนตรี วินิจฉัย อานาจหน้าที่ของรัฐบาล
  • 34. อำนำจตุลำกำร (ศำล) มีหน้าที่พิจารณาพิพากษาคดีความต่าง ๆ โดยใช้กฎหมายเป็นหลัก ศาล ไทยดาเนินการเป็นอิสระจากอานาจนิติบัญญัติและอานาจบริหารศาลมี 3 ชั้น คือ 1. ศาลชั้นต้น เป็นศาลที่พิจารณาในตอนเริ่มคดี คดีทุกคดีต้องเริ่มต้นดาเนินการที่ ศาลชั้นต้น 2. ศาลอุทธรณ์ เป็นศาลชั้นกลางคู่ความได้อุทธรณ์มาจากศาลชั้นต้น ซึ่งตั้งอยู่ใน กรุงเทพมหานคร 3. ศาลฎีกา ศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีแล้วแต่คู่ความยังไม่พอใจและฎีกาขึ้นมาคดีที่ ศาลฎีกาพิพากษาและถือเป็นที่สุด และเด็ดขาด
  • 35. แบบฝึกหัด คำชี้แจง ให้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. อานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เรียกว่าอะไร ก. อานาจบริหารง ข. อานาจตุลาการ ค. อานาจอธิปไตย ง. อานานนิติบัญญัติ 2. ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยผู้ ที่เป็นเจ้าของอานาจอธิปไตยคือใคร ก. ประชาชน ข. ข้าราชการ ค. นายกรัฐมนตรี ง. พระมหากษัตริย์ 3. อานาจนิติบัญญัติคืออานาจในด้านใด ก. การพิจารณาคดี ข. การออกกฎหมาย ค. การบริหารประเทศ ง. การกาหนดนโยบายของประเทศ 4. สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่อย่างไร ก. บริหารประเทศ ข. ควบคุมวุฒิสภา ค. ตัดสินคดีต่าง ๆ ง. ตรากฎหมายต่าง ๆ 5. ใครเป็นผู้ใช้อานาจบริหาร ก. วุฒิสมาชิก ข. คณะรัฐมนตรี ค. คณะผู้พิพากษา ง. สภาผู้แทนราษฎร 6. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับวาระในการ ดารงตาแหน่งสมาชิกรัฐสภา ก. วุฒิสมาชิก 1 ปี ผู้แทนราษฎร 4 ปี ข. วุฒิสมาชิก 4 ปี ผู้แทนราษฎร 4 ปี ค. วุฒิสมาชิก 6 ปี ผู้แทนราษฎร 4 ปี ง. วุฒิสมาชิก 8 ปี ผู้แทนราษฎร 4 ปี 7. ข้อใดเป็นหน้าที่หลักของรัฐสภา ก. อนุมัติงบประมาณแผ่นดิน ข. ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน ค. จัดเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร ง. กาหนดแนวนโยบายการบริหาร แผนดิน 8. ใครมีสิทธิเสนอร่างพระราชบัญญัติ ก. รัฐสภา ข. คณะรัฐมนตรี ค. ประชาชนทั่วไป ง. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
  • 36. 9. ข้อใดคือวิธีการที่รัฐบาลใช้ควบคุมสภา ผู้แทนราษฎร ก. ยุบสภา ข. ตั้งกระทู้ถาม ค. เปิดอภิปรายทั่วไป ง. ให้ประชาชนลงประชามติ 10. ผู้ใดทาหน้าที่นิติบัญญัติ ก. รัฐบาล ข. รับมนตรี ค. รัฐสภา ง. องคมนตรี 11. วุฒิสมาชิกและสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎรมีข้อใดเหมือนกัน ก. ที่มา ข. คุณสมบัติ ค. บทบาทหน้าที่ ง. เป็นสมาชิกรัฐสภา 12. การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลใดที่ ถือว่าสิ้นสุดเด็ดขาด ก. ศาลฎีกา ข. ศาลอาญา ค. ศาลชั้นต้น ง. ศาลอุทธรณ์ 13. ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ของไทยยึดถือหลักการปกครองข้อใด ก. การรวมอานาจ ข. การแบ่งอานาจ ค. การกระจายอานาจ ง. ทุกข้อผสมผสานกัน 14. ข้อใดเรียงลาดับศาลตั้งแต่เริ่มแรกจน สูงสุดได้ถูกต้อง ก. ศาลชั้นต้น ศาลฎีกา ศาลอุทธรณ์ ข. ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา ค. ศาลฎีกา ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ง. ศาลฎีกา ศาลอุทธรณ์ ศาลชั้นต้น 15. ข้อใดคือการบริหารราชการส่วน ท้องถิ่น ก. อาเภอ ข. จังหวัด ค. เทศบาล ง. กระทรวง
  • 37. แบบบันทึกผลกำรประเมินกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 หน่วยที่ 4 เรื่องกำรเมืองกำรปกครอง ประกอบแผนที่ 2 อำนำจอธิปไตย เลข ที่ ชื่อ – สกุล ด้ำนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมคะแนนด้ำนคุณลักษณะฯ ด้ำนผลงำน รวม ผ่ำน/ไม่ผ่ำน รับผิดชอบต่อหน้ำที่ เป็นผู้นำและผู้ตำมที่ดีได้ ทำงำนและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ มีควำมสนใจใฝ่เรียนรู้ ประหยัดและอยู่อย่ำงพอเพียง กำรทำแบบทดสอบก่อนเรียน กำรทำแบบฝึกกิจกรรมชุดที่ 2 2 2 2 2 10 15 10 35 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ควำมหมำยระดับคุณภำพ 2 หมำยถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 30 – 35 = 2 1 หมำยถึง พอใช้ 20 – 29 = 1 0 หมำยถึง ปรับปรุง 0 - 19 = 0 เกณฑ์กำรผ่ำน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน (………………………..)
  • 38. แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 3 กลุ่มสำระ สังคมศึกษำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 4 เรื่องกำรเมืองกำรปกครอง เวลำ 9 ชั่วโมง เรื่อง หน้ำที่คนไทยตำมรัฐธรรมนูญ เวลำ 1 ชั่วโมง *********************************************************************** มำตรฐำน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด มำตรฐำน ส 2.2 ป.6 / 2 มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริม ประชาธิปไตยใน ท้องถิ่นและประเทศ สำระสำคัญ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มี รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด อานาจอธิปไตยที่ใช้ในการปกครอง คนไทยมีหน้าที่ตาม รัฐธรรมนูญ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของรัฐธรรมนูญ และบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับโครง ของรัฐ และการเมืองการปกครองได้ 2. ค้นคว้าและนาเสนอหน้าที่คนไทยตามรัฐธรรมนูญได้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รับผิดชอบต่อหน้าที่ 2. เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี 3. ทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
  • 39. 4. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ 5. ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง สำระกำรเรียนรู้ หน้าที่คนไทยตามรัฐธรรมนูญ กระบวนกำรเรียนรู้ 1. ครูเล่านิทานเรื่อง ราชสีห์กับสุนัขจิ้งจอก ให้นักเรียนฟังแล้วสรุปข้อคิดที่ได้จาก นิทาน นิทำนเรื่อง รำชสีห์กับสุนัขจิ้งจอก มีราชสีห์ตัวหนึ่งออกไปล่าวัวมาได้ก็กินจนอิ่มหนาสาราญ แล้วก็ไปกินน้าที่ลาธาร บังเอิญมีสุนัข จิ้งจอกตัวหนึ่งกินน้าอยู่บริเวณนั้นเห็นราชสีห์เข้าก็ตกใจกลัว จะหนีก็หนีไม่ทัน ก็เลยทาใจดีเดินเข้าหา ราชสีห์พร้อมกับพูดว่า “ท่านราชสีห์ผู้ยิ่งใหญ่ ข้าชื่นชมท่านมานานแล้ว ข้าอยากเป็นผู้รับใช้ติดตามท่านไป ทุกหนทุกแห่ง” ราชสีห์ได้ยินก็ไม่ว่าอะไร ยินยอมให้สุนัขจิ้งจอกติดตามไปทุกหนทุกแห่ง สุนัขจิ้งจอกก็ รับใช้ราชสีห์โดยมีหน้าที่ออกไปหาสัตว์ว่าอยู่ที่ใด แล้วกลับมาบอกราชสีห์ ให้ราชสีห์ไปล่า เมื่อได้สัตว์ มาราชสีห์ก็จะแบ่งเนื้อให้สุนัขจิ้งจอกกินทุกครั้ง เมื่อเวลาผ่านไปนานเข้าสุนัขจิ้งจอกก็สาคัญตนเองผิด คิดว่ามีบารมีมากแล้ว น่านะเป็นหัวหน้าให้ ราชสีห์ได้รับใช้บ้าง จึงพูดกับราชสีห์ขอแลกหน้าที่กัน ให้ราชสีห์เป็นฝ่ายไปหาเหยื่อแล้วตนตะเป็นผู้ล่า เองบ้าง ราชสีห์ได้ฟังก็ไม่ว่าอะไรยินยอมตามสุนัขจิ้งจอก แล้วถามสุนัขจิ้งจอกว่า “วันนี้ท่านอยกกินเนื้อ อะไร” สุนัขจิ้งจอกบอกว่า “เราอยากกินเนื้อช้าง” ราชสีห์จึงออกไปหาช้างเมื่อพบแล้วก็กลับมาบอกสุนัข จิ้งจอกสุนัขจิ้งจอกจึงออกไปล่าช้าง เมื่อเห็นช้างก็เห่าและตรงเข้าไปจะกัดช้าง แต่ช้างซึ่งเป็นสัตว์ที่มี ร่างกายใหญ่โตเมื่อเห็นสุนัขจิ้งจอกจะทาร้ายตน จึงใช้เท้าแตะสุนัขจิ้งจอกล้มลงและเหยียบสุนัขจิ้งจอกจน ตาย นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ใครมีหน้าที่อะไรก็ควรทาแต่ในหน้าที่ของตนให้ดี อย่าได้ไปทาใน หน้าที่ของคนอื่น อาจเป็นผลร้ายต่อตนเองและผู้อื่นได้
  • 40. 2. ให้นักเรียนดูภาพพานรัฐธรรมนูญ และถามนักเรียนว่าใครรู้จักภาพนี้บ้าง และ ภาพนี้คืออะไรมีความหมายต่อประเทศไทยอย่าไร แล้วให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย คาว่ารัฐธรรมนูญ 3. ครูอธิบายว่ารัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายสูงสุดของประเทศ ที่กาหนดรูปแบบการ ปกครองประเทศและอานาจหน้าที่ขององค์กรของรัฐ มีบทบัญญัติที่คุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพของราษฎร ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ ฉบับที่ 16 ประกาศใช้ เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2540 4. ครูให้นักเรียนบอกถึงหน้าที่ของคนไทยตามรัฐธรรมนูญ ลงในใบงานที่ 1 แล้ว นาเสนอผลงาน 5. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เรื่อ รัฐธรรมนูญ ดังนี้ 1) รัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายสูงสุดขอประเทศ และเป็นกฎหมายที่กาหนดรูปแบบ ของการปกครองประเทศ กาหนดอานาจหน้าที่ขององค์กรของรัฐ มี บทบัญญัติที่คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของราษฎร 2) บทบัญญัติเกี่ยวกับโครสร้างของการบริหารของรัฐ และการเมืองการ ปกครอง มีดังนี้ (1) ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวกันจะแบ่งแยกมิได้ (2) ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุข (3) อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย (4) พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะกล่าวหา หรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ 6. หน้าที่ของคนไทยตามรัฐธรรมนูญ (1) รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ (2) ปฏิบัติตามกฎหมาย (3) ใช้สิทธิเลือกตั้ง
  • 41. (4) รับราชการทหาร (5) เสียภาษี กระบวนกำรวัดผลประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. สังเกตพฤติกรรมรายกลุ่ม 3. การนาเสนอผลงาน 4. การตรวจผลงาน เครื่องมือ 1. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมรายกลุ่ม 3. แบบประเมินการนาเสนอผลงาน 4. แบบประเมินการตรวจผลงาน เกณฑ์กำรประเมิน 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 2. สังเกตพฤติกรรมรายกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 3. การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 สื่อ/แหล่งกำรเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. ใบงานที่ 1 3. รูปภาพ 4. ห้องสมุด
  • 42. กิจกรรมเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………… .……………………………………………………………………………………………… ….…………………………………………………………………………………………… …….………………………………………………………………………………………… ………….…………………………………………………………………………………… …………….………………………………………….……………………………………… บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหำรหรือผู้ที่ได้รับมอบหมำย ………………………………………………………………………………………………… …….………………………………………………………………………………………… …………….………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………… …….………………………………………………………………………………………… …………….………………………………………………………………………………… ………….…………………………………………………………………………………… …………….………………………………………………………………….……………… ลงชื่อ…………………………………….. (……………………………….) ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน……………. วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
  • 43. บันทึกผลหลังกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ ผลกำรเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..……………………………… ปัญหำ / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ……………….………………………………………………………….…………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทำงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………….……… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. (………………………) ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ……………….. วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
  • 44. ใบงำนที่ 1 เรื่อง หน้ำที่ของคนไทยตำมรัฐธรรมนูญ ชื่อ…………………………………………..ชั้น……………………………………. วันที่…………………………………………..กลุ่ม………………………………… คำชี้แจง ให้นักเรียนค้นคว้าเกี่ยวกับหน้าที่ของคนไทยตามรัฐธรรมนูญ หน้ำที่คนไทยตำมรัฐธรรมนูญ 1…………………………………………………………………………. 2………………………………………………………………………… 3………………………………………………………………………… 4………………………………………………………………………… 5………………………………………………………………………… 6…………………………………………………………………………. 7…………………………………………………………………………. 8…………………………………………………………………………. 9…………………………………………………………………………. 10………………………………………………………………………..
  • 45. ใบควำมรู้ เรื่อง โครงสร้ำงรัฐธรรมนูญ โครงสร้างของรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน เป็นฉบับที่ 16 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2540 ได้บัญญัติเกี่ยวกับโครงสร้างการบริหารของรัฐและการเมืองการ ปกครอง ดังนี้ 1. ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักร อันหนึ่งอันเดียวกัน จะแบ่งแยกมิได้ 2. ประเทศไทยมีการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 3. อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ชาวไทย 4. พระมหากษัตริย์ทรงดารงอยู่ใน ฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะกล่าวหา หรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ รัฐธรรมนูญ ถือเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ และเป็นกฎหมายที่กาหนดรูปแบบ ของการปกครองประเทศ กาหนดอานาจหน้าที่ขององค์กรของรัฐ มีบทบัญญัติที่คุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพของประชาชนไว้ด้วย ดังนั้นถ้าข้อกฎหมายใดขัดแย้งกับ รัฐธรรมนูญ กฎหมายฉบับนั้นจะใช้บังคับไม่ได้ ประเทศไทยใช้ระบบการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย มีรัฐธรรมนูญเป็น กฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ