SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
การสืบทอดธุรกิจครอบครัว ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
       การสืบทอดธุรกิจครอบครัว : พอถึงเวลารูตัวก็สายเสียแลว 
                                                                                   ดร.ดนัย เทียนพุฒ 
นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาธุรกิจ
การมีโอกาสไดคลุกคลีทํางานดานการพัฒนาธุรกิจทั้งธุรกิจขนาดเล็กซึ่งเรียกวาธุรกิจ 
SMEs กับธุรกิจครอบครัวขนาดใหญ และตลอดจนธุรกิจครอบครัวที่ตองการพัฒนาสูความเปนมืออาชีพ
ฯลฯ 
ในเรื่องการสงตอธุรกิจ การสรางทายาท การเตรียมพนักงานขึ้นมาเปนผูบริการและการ
วางแผนอาชีพกับแผนสืบทอดตําแหนง เปนประเด็นที่กลาวถึงกันมาก และผูเขียนไดมีโอกาสศึกษา
ตลอดจนพัฒนาระบบเหลานี้มาอยางยาวนาน 
ประการแรก องคกรธุรกิจกับการเตรียมผูบริหาร 
การมีคนเขาคนออกในธุรกิจนาจะเปนเรื่องปกติ แตถาเปนการสูญเสียบุคคลระดับ
“Key Man”  คงไมใชเรื่องปกติและโดยเฉพาะอยางยิ่งในยามที่องคกรเติบโตขยายกิจการและ
ตองการผูบริหารระดับสูงใหไปกุมบังเหียนกิจการนั้น และบังเอิญหาใครมาลงตําแหนงไมได เรื่องปกติก็
กลายเปนเรื่องยากขึ้นมาทันที 
ผูเขียนไดมีสวนรวมและริเริ่มในทีมงานเพื่อจัดทํา “การวางแผนอาชีพและการสืบทอด
ตําแหนง (Career Planning & Succession Planning) ตั้งแตเปนหัวหนางานประเมิน
ศักยภาพ กองบริหารงานบุคคล ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร) ธนาคารเอเซีย
ตอเนื่องมาที่หางสรรพสินคาโรบินสัน ไดนําวิทยากรยุทธและประการณในการจัดทําเรื่องนี้ บรรยายใหกับ
ธุรกิจชั้นนําหลายแหง มีหลายหนวยงานนําไปใชทั้งหนวยงานรัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน  
บทเรียนอันทรงคุณคาดังกลาว มีหัวใจความสําเร็จอยูที่ “การมีโอกาสไดศึกษาวิธีการ
วางแผนเตรียมนายทหารใหกาวสูตําแหนงผูนําเหลาทัพ” และทีมงานที่ทํารวมกันในครั้งนั้นนํามาพัฒนา
ปรับใชกับ การบริหารองคกรของรัฐที่จะเกือบเปนธุรกิจอยูแลว คือ มีสถานะเปนรัฐวิสาหกิจ 
ความเชี่ยวชาญในเรื่องนี้ไดกอตัวเปนองคความรู จนกระทั่งผูเขียนเห็นวา
ควรสรุปเปนหนังสือถายทอดประสบการณดานการวางแผนอาชีพและแผนสืบ
ทอดตําแหนง ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการบริหารคนออกมาเปนหนังสือและนาจะเปน
เลมแรกๆ ในเมืองไทย ปจจุบันก็ยังปรับและบรรยายใชอยู โดยเฉพาะ การจัดทํา
การสืบทอดธุรกิจครอบครัว ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
แผนพัฒนารายบุคคล (IDP: Individual Development Plan) 
หัวใจสําคัญในเรื่องนี้ ผูเขียนชี้ชัดไววา “การทําแผนสืบทอดตําแหนง (Succession 
Plan) สําหรับการสรางทายาทหรือผูสืบทอดตําแหนง (Successor)“ ในธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจ
ครอบครัวเมื่อตองการพัฒนาเปนธุรกิจขนาดใหญ จะตองมีการจัดทําการวางแผนสืบทอดตําแหนงใน 2
ระดับดวยกันดังนี้ 
1. วางแผนสืบทอดตําแหนงสําหรับผูบริหาร (Executive Succession Plan)
เปนการจัดทําการวางแผนอาชีพเพื่อการเตรียมใหผูบริหารตั้งแตระดับตน (First Line Manager)
กาวขึ้นเปนผูบริหารระดับสูง (Top Management) 
และในบางกรณี “ผูบริหาร” คนนั้นอาจประสบความสําเร็จสูงมากจนไดรับความไววางใจ
ใหกาวสูตําแหนง ประธานเจาหนาที่บริหาร (CEO: Chief Executive Officer) ก็มีปรากฏให
เห็นอยูในหลายธุรกิจ 
2.การวางแผนสืบทอดธุรกิจสําหรับทายาทของเจาของกิจการหรือธุรกิจครอบครัว
(Family Success Plan) โดยปกติตําแหนงบริหารสําคัญ ๆ ของธุรกิจจะถูกจับจองไวใหเฉพาะ
ทายาท และสมาชิกของครอบครัวเจาของกิจการเพียงเทานั้น 
การสืบทอดธุรกิจครอบครัว ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
ในบางครั้งกรณีที่ทายาทธุรกิจ (Successor) ยังไมพรอม เจาของกิจการอาจหา
ผูบริหารมืออาชีพ (Professional Manager) เขามาเปน CEO ซึ่งในทางเทคนิคฝรั่งเรียกวา
“Bridge Manager” เปนการขัดตาทัพรอจนกระทั่งทายาทมีความพรอมคอยกาวขึ้นมาเปน CEO 
ตัวอยางชัดๆ เชนสมัยคุณสัมฤทธิ์ จิราธิวัฒน เปนประธานกลุมเครือเซ็นทรัลยังเชิญคุณ
วิโรจน ภูตระกูล ซึ่งเปนผูบริหารมืออาชีพที่มีประสบการณสูงมากในดานการจัดจําหนายสินคาคอนซูเมอร
หลังจากหมดวาระที่ยูนิลีเวอรไดรับเชิญใหเขามาเปนผูบริหารระดับสูงเพื่อใหสมาชิกครอบครัวไดเรียนรู
ประสบการณจากคุณวิโรจน 
 
หรือในอีกลักษณะหนึ่งที่นิยมทํากัน อาจจะมีผูบริหารระดับสูงสมัยรุนผูกอตั้งหรือรุนพอ-
แมมาเปนพี่เลี้ยง (Executive Coach) ใหกับทายาทธุรกิจก็ทํากัน 
ในระดับประเทศอยางเชน สิงคโปร เมื่อนายกรัฐมนตรี ลีกวนยู ลงจากตําแหนง ลูกชายลี
เซียน หลุง ยังไมพรอมไดนํา โจะ กก ตง เขามาเปนนายกรัฐมนตรีกอนเพื่อรอใหลูกชายพรอมขึ้นมาสืบทอด
ตําแหนงก็เปนลักษณะ “ผูจัดการแบบสะพานเชื่อมตอ (Bridge Manager) เชนกัน 
ประการที่สอง เจาะลึกเขมขนกับธุรกิจครอบครัว 
เมื่อตอนเพื่อนของผูเขียนอยูในระหวางศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตไดทําวิจัยเกี่ยวกับธุรกิจ
ครอบครัวโดยเนนเฉพาะการสืบทอดธุรกิจ ไดสอบถามและสนทนากันวา 
“ในธุรกิจใหญๆ มีการทําหรือใชทฤษฎีอะไรเกี่ยวกับเรื่อง “การวางแผนสืบทอดตําแหนง
(Succession Planning) พอจะนํามาใชกับธุรกิจครอบครัวไหม?” 
ผูเขียนนึกๆ อยูวาไดเคยทําและเขียนหนังสือเรื่องนี้ไวดังที่กลาวมาขางตน คงนาจะนํามา
ประยุกตใชไดบางสวนกับไดมีโอกาสอานหนังสือ Unconventional Wisdom ของ Ward ทํา
ใหคิดวานาจะตองปรับหรือบูรณาการบางอยาง 
และพอคราวของผูเขียนบาง ไดทําวิจัย “เจาะ DNA ธุรกิจครอบครัวไทย” จึงเลือก
แนวคิดของ Ward (2005) มาเปนตัวแบบในการอธิบาย เรียกวา “เมทริกซระยะของงผูสืบทอดธุรกิจ
ครอบครัวไทย วามี 3 ระยะดวยกันคือ 1) ระยะการปฏิบัติ (DO) 2) ระยะการชี้นําสูการปฏิบัติ (Lead 
to Do)  และ 3) ระยะการอนุญาตใหปฏิบัติ (Let Do) โดยมุงความสนใจใน 4 องคประกอบหลักของ
โมเดลธุรกิจครอบครัวไทยคือ 1) ครอบครัว (Family) 2) ความเปนเจาของ (Ownership) 3) ธุรกิจ
(Business)  และ 4) ผูประกอบการ (Entrepreneur) มีรายละเอียดดังรูป
การสืบทอดธุรกิจครอบครัว ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
 
รูปที่ 1 เมทริกซระยะของผูสืบทอดธุรกิจครอบครัวไทย 
มุงความสนใจ 
ระยะ
ครอบครัว  ความเปนเจาของ  ธุรกิจ  ผูประกอบการ 
การปฏิบัติ
(DO) 
ความสัมพันธ
ระหวาง
พอ-แม-ลูก 
มีสวนเกี่ยวของกับ
การควบคุมธุรกิจ 
เนนความเปน
มืออาชีพ 
วัฒนธรรม
ของผูกอตั้ง 
การชี้นําสูการ
ปฏิบัติ         
(Lead to DO) 
ความสัมพันธแบบ
ผูใหญ-ผูใหญ
ความพยายามดิ้นรน
เขาควบคุมธุรกิจ 
เนนความเปน
ผูนํา 
วัฒนธรรมธุรกิจ
ครอบครัว 
การอนุญาตให
ปฏิบัติ         
(Let DO) 
ความสัมพันธ
ระหวาง พอ-แม-ลูก
วิสัยทัศนธุรกิจ
เปรียบเทียบกับการ
ควบคุมธุรกิจ 
เนนการบริหาร
จัดการที่ดี 
วัฒนธรรมของการ
สืบทอดภาวะผูนํา
*ดร.ดนัย เทียนพุฒ. (2552). เจาะ DNA ธุรกิจครอบครัวไทย. หนา 32 
ปจจุบันผูเขียนกําลังวิเคราะหงานวิจัยในเรื่อง “การปรับธุรกิจครอบครัวไทยสูธุรกิจมือ
อาชีพ” พบวาในภาคปฏิบัติจริงๆ แลว มีความจําเปนตองใชรูปแบบทฤษฎีอธิบายมากขึ้นโดยเฉพาะการ
พิจารณาการสืบทอดตําแหนงจากรุนผูกอตั้ง (Founder) มายังรุนที่ 2 ซึ่งเปนรุนลูก และการสืบทอด
จากรุนที่ 2 ไปสูรุนที่ 2 ซึ่งเปนพี่นองกัน หรืออาจจะสงตอไปรุนที่ 3 และมีความสลับซับซอนมากกวานั้น
เมื่อไดศึกษาการสืบทอดธุรกิจของกลุมตระกูลจิราธิวัฒนและตระกูลล่ําซํา 
จึงเห็นวา แนวคิดของ Landsberg ในหนังสือ Succeeding Generations 
กับ Gersick และคณะใน Generation to Generation นาสนใจนํามาใชในการเปนทฤษฎี
อธิบายการสืบทอดธุรกิจครอบครัว 
ประการสุดทาย การสืบทอดธุรกิจครอบครัวเปนเรื่องสําคัญและกลาวถึงกันมาก 
ผูเขียนลองสืบคนทางอินเตอรเน็ตพบเห็นเรื่องรางของการฝกอบรม การเสวนาในประเด็น
ของ “การสืบทอดธุรกิจครอบครัว” หรือ “การสงตอธุรกิจจากรุนสูรุน (Generation to 
Generation) 
การสืบทอดธุรกิจครอบครัว ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
ในขณะที่องคความรูดานนี้ยังมีไมมากนัก หรือไมโดนตลาด และความตองการในการ
นําไปใช
จึงเกิดเปนความสนใจและตองการนําความรูในเรื่องนี้ สังเคราะหออกมาเปนความรูใหม
ในบริบทของธุรกิจครอบครัวไทย วา 
1) เราจะมีหรือสรางแนวคิด ทฤษฎีหรือจําลองรูปแบบในการสงตอธุรกิจจากรุนสูรุน
ขึ้นมาของไทยเองหรืออยางดีที่สุดขอใหมีเปน “หลักการ (Doctrine)” เพื่อสามารถหยิบใชอธิบายกรณี
เหลานี้ในอนาคตไดอยางสอดคลองกับบริบทของสังคมไทยมากยิ่งขึ้น 
2) การเรียนรูและศึกษากรณีศึกษาจากธุรกิจครอบครัวที่ประสบความสําเร็จ เปนสิ่งที่ดี
และนาสนใจ แตการจะสังเคราะหใหเปนองคความรู และความรูที่เปนสากลใชไดอยางทั่วไป
(Generalization) นาจะเปนสิ่งที่ธุรกิจครอบครัวไทยตองการ โดยเฉพาะธุรกิจเริ่มแรก หรือเพิ่งกอ
รางสรางตัวขึ้นมา 
อีกทั้งชวงเวลาเมื่อผานไป อาจมีความสําคัญมากในวันหนึ่งขางหนาเมื่อผูกอตั้งธุรกิจ
ดําเนินธุรกิจไปจนถึงจุดอิ่มตัวดวยอายุและสังขาร หันหลังกลับมาเหลียวดูธุรกิจที่สรางมาอีกครั้ง ไดลืม
เรื่องสําคัญในการเตรียมทายาทหรือผูบริหารที่รวมทุกขรวมสุขกันมาใหเขามาชวยกันดูแลกิจการ อาจจะ
เปนดังคํากลาวที่วา “พอถึงเวลา รูตัวอีกทีก็สายเสียแลว”

More Related Content

What's hot

Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and er
taem
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
NU
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPaper pallet
ตัวอย่างแผนธุรกิจPaper palletตัวอย่างแผนธุรกิจPaper pallet
ตัวอย่างแผนธุรกิจPaper pallet
Nattakorn Sunkdon
 
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพChapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Ronnarit Junsiri
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
Utai Sukviwatsirikul
 
อบรมESBพฤติกรรมการบริการที่เป็นเลิศ (Excellence Service Behaviors)
อบรมESBพฤติกรรมการบริการที่เป็นเลิศ (Excellence Service Behaviors)อบรมESBพฤติกรรมการบริการที่เป็นเลิศ (Excellence Service Behaviors)
อบรมESBพฤติกรรมการบริการที่เป็นเลิศ (Excellence Service Behaviors)
ออเรียนทอล คอนซัลแตนท์
 

What's hot (20)

เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหารเกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
 
Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and er
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 
โครงงานนำเสนอ ลอยกระทง
โครงงานนำเสนอ ลอยกระทงโครงงานนำเสนอ ลอยกระทง
โครงงานนำเสนอ ลอยกระทง
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPaper pallet
ตัวอย่างแผนธุรกิจPaper palletตัวอย่างแผนธุรกิจPaper pallet
ตัวอย่างแผนธุรกิจPaper pallet
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพChapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
 
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
 
ผู้ประกอบการหน้าใหม่ : สตาร์ทอัพ (Startup)
ผู้ประกอบการหน้าใหม่ : สตาร์ทอัพ (Startup)ผู้ประกอบการหน้าใหม่ : สตาร์ทอัพ (Startup)
ผู้ประกอบการหน้าใหม่ : สตาร์ทอัพ (Startup)
 
Business Model Canvas คืออะไร
Business Model Canvas คืออะไรBusiness Model Canvas คืออะไร
Business Model Canvas คืออะไร
 
5614650776
56146507765614650776
5614650776
 
อบรมESBพฤติกรรมการบริการที่เป็นเลิศ (Excellence Service Behaviors)
อบรมESBพฤติกรรมการบริการที่เป็นเลิศ (Excellence Service Behaviors)อบรมESBพฤติกรรมการบริการที่เป็นเลิศ (Excellence Service Behaviors)
อบรมESBพฤติกรรมการบริการที่เป็นเลิศ (Excellence Service Behaviors)
 

Similar to การสืบทอดธุรกิจครอบครัว ดร.ดนัย เทียนพุฒ

ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
Saranpattara Jace
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124
guest417609
 
หลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่นหลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่น
honeylamon
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
kvlovelove
 

Similar to การสืบทอดธุรกิจครอบครัว ดร.ดนัย เทียนพุฒ (20)

SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
นำเสนองานวิจัยนักธุรกิจน้อย
นำเสนองานวิจัยนักธุรกิจน้อยนำเสนองานวิจัยนักธุรกิจน้อย
นำเสนองานวิจัยนักธุรกิจน้อย
 
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อยวิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒ
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124
 
การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล 2 วัน
การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล  2 วันการบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล  2 วัน
การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล 2 วัน
 
Opportunities and Challenges for SMEs
Opportunities and Challenges for SMEsOpportunities and Challenges for SMEs
Opportunities and Challenges for SMEs
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้
 
หลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่นหลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่น
 
Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.
Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.
Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.
 
บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (พิษณุโลก)
บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (พิษณุโลก)บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (พิษณุโลก)
บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (พิษณุโลก)
 
Post Thailand (Phitsanulok)
Post Thailand (Phitsanulok)Post Thailand (Phitsanulok)
Post Thailand (Phitsanulok)
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
 

More from DrDanai Thienphut

บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
DrDanai Thienphut
 

More from DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 
Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2
 

การสืบทอดธุรกิจครอบครัว ดร.ดนัย เทียนพุฒ

  • 1. การสืบทอดธุรกิจครอบครัว ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558         การสืบทอดธุรกิจครอบครัว : พอถึงเวลารูตัวก็สายเสียแลว                                                                                     ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาธุรกิจ การมีโอกาสไดคลุกคลีทํางานดานการพัฒนาธุรกิจทั้งธุรกิจขนาดเล็กซึ่งเรียกวาธุรกิจ  SMEs กับธุรกิจครอบครัวขนาดใหญ และตลอดจนธุรกิจครอบครัวที่ตองการพัฒนาสูความเปนมืออาชีพ ฯลฯ  ในเรื่องการสงตอธุรกิจ การสรางทายาท การเตรียมพนักงานขึ้นมาเปนผูบริการและการ วางแผนอาชีพกับแผนสืบทอดตําแหนง เปนประเด็นที่กลาวถึงกันมาก และผูเขียนไดมีโอกาสศึกษา ตลอดจนพัฒนาระบบเหลานี้มาอยางยาวนาน  ประการแรก องคกรธุรกิจกับการเตรียมผูบริหาร  การมีคนเขาคนออกในธุรกิจนาจะเปนเรื่องปกติ แตถาเปนการสูญเสียบุคคลระดับ “Key Man”  คงไมใชเรื่องปกติและโดยเฉพาะอยางยิ่งในยามที่องคกรเติบโตขยายกิจการและ ตองการผูบริหารระดับสูงใหไปกุมบังเหียนกิจการนั้น และบังเอิญหาใครมาลงตําแหนงไมได เรื่องปกติก็ กลายเปนเรื่องยากขึ้นมาทันที  ผูเขียนไดมีสวนรวมและริเริ่มในทีมงานเพื่อจัดทํา “การวางแผนอาชีพและการสืบทอด ตําแหนง (Career Planning & Succession Planning) ตั้งแตเปนหัวหนางานประเมิน ศักยภาพ กองบริหารงานบุคคล ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร) ธนาคารเอเซีย ตอเนื่องมาที่หางสรรพสินคาโรบินสัน ไดนําวิทยากรยุทธและประการณในการจัดทําเรื่องนี้ บรรยายใหกับ ธุรกิจชั้นนําหลายแหง มีหลายหนวยงานนําไปใชทั้งหนวยงานรัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน   บทเรียนอันทรงคุณคาดังกลาว มีหัวใจความสําเร็จอยูที่ “การมีโอกาสไดศึกษาวิธีการ วางแผนเตรียมนายทหารใหกาวสูตําแหนงผูนําเหลาทัพ” และทีมงานที่ทํารวมกันในครั้งนั้นนํามาพัฒนา ปรับใชกับ การบริหารองคกรของรัฐที่จะเกือบเปนธุรกิจอยูแลว คือ มีสถานะเปนรัฐวิสาหกิจ  ความเชี่ยวชาญในเรื่องนี้ไดกอตัวเปนองคความรู จนกระทั่งผูเขียนเห็นวา ควรสรุปเปนหนังสือถายทอดประสบการณดานการวางแผนอาชีพและแผนสืบ ทอดตําแหนง ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการบริหารคนออกมาเปนหนังสือและนาจะเปน เลมแรกๆ ในเมืองไทย ปจจุบันก็ยังปรับและบรรยายใชอยู โดยเฉพาะ การจัดทํา
  • 2. การสืบทอดธุรกิจครอบครัว ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558  แผนพัฒนารายบุคคล (IDP: Individual Development Plan)  หัวใจสําคัญในเรื่องนี้ ผูเขียนชี้ชัดไววา “การทําแผนสืบทอดตําแหนง (Succession  Plan) สําหรับการสรางทายาทหรือผูสืบทอดตําแหนง (Successor)“ ในธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจ ครอบครัวเมื่อตองการพัฒนาเปนธุรกิจขนาดใหญ จะตองมีการจัดทําการวางแผนสืบทอดตําแหนงใน 2 ระดับดวยกันดังนี้  1. วางแผนสืบทอดตําแหนงสําหรับผูบริหาร (Executive Succession Plan) เปนการจัดทําการวางแผนอาชีพเพื่อการเตรียมใหผูบริหารตั้งแตระดับตน (First Line Manager) กาวขึ้นเปนผูบริหารระดับสูง (Top Management)  และในบางกรณี “ผูบริหาร” คนนั้นอาจประสบความสําเร็จสูงมากจนไดรับความไววางใจ ใหกาวสูตําแหนง ประธานเจาหนาที่บริหาร (CEO: Chief Executive Officer) ก็มีปรากฏให เห็นอยูในหลายธุรกิจ  2.การวางแผนสืบทอดธุรกิจสําหรับทายาทของเจาของกิจการหรือธุรกิจครอบครัว (Family Success Plan) โดยปกติตําแหนงบริหารสําคัญ ๆ ของธุรกิจจะถูกจับจองไวใหเฉพาะ ทายาท และสมาชิกของครอบครัวเจาของกิจการเพียงเทานั้น 
  • 3. การสืบทอดธุรกิจครอบครัว ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558  ในบางครั้งกรณีที่ทายาทธุรกิจ (Successor) ยังไมพรอม เจาของกิจการอาจหา ผูบริหารมืออาชีพ (Professional Manager) เขามาเปน CEO ซึ่งในทางเทคนิคฝรั่งเรียกวา “Bridge Manager” เปนการขัดตาทัพรอจนกระทั่งทายาทมีความพรอมคอยกาวขึ้นมาเปน CEO  ตัวอยางชัดๆ เชนสมัยคุณสัมฤทธิ์ จิราธิวัฒน เปนประธานกลุมเครือเซ็นทรัลยังเชิญคุณ วิโรจน ภูตระกูล ซึ่งเปนผูบริหารมืออาชีพที่มีประสบการณสูงมากในดานการจัดจําหนายสินคาคอนซูเมอร หลังจากหมดวาระที่ยูนิลีเวอรไดรับเชิญใหเขามาเปนผูบริหารระดับสูงเพื่อใหสมาชิกครอบครัวไดเรียนรู ประสบการณจากคุณวิโรจน    หรือในอีกลักษณะหนึ่งที่นิยมทํากัน อาจจะมีผูบริหารระดับสูงสมัยรุนผูกอตั้งหรือรุนพอ- แมมาเปนพี่เลี้ยง (Executive Coach) ใหกับทายาทธุรกิจก็ทํากัน  ในระดับประเทศอยางเชน สิงคโปร เมื่อนายกรัฐมนตรี ลีกวนยู ลงจากตําแหนง ลูกชายลี เซียน หลุง ยังไมพรอมไดนํา โจะ กก ตง เขามาเปนนายกรัฐมนตรีกอนเพื่อรอใหลูกชายพรอมขึ้นมาสืบทอด ตําแหนงก็เปนลักษณะ “ผูจัดการแบบสะพานเชื่อมตอ (Bridge Manager) เชนกัน  ประการที่สอง เจาะลึกเขมขนกับธุรกิจครอบครัว  เมื่อตอนเพื่อนของผูเขียนอยูในระหวางศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตไดทําวิจัยเกี่ยวกับธุรกิจ ครอบครัวโดยเนนเฉพาะการสืบทอดธุรกิจ ไดสอบถามและสนทนากันวา  “ในธุรกิจใหญๆ มีการทําหรือใชทฤษฎีอะไรเกี่ยวกับเรื่อง “การวางแผนสืบทอดตําแหนง (Succession Planning) พอจะนํามาใชกับธุรกิจครอบครัวไหม?”  ผูเขียนนึกๆ อยูวาไดเคยทําและเขียนหนังสือเรื่องนี้ไวดังที่กลาวมาขางตน คงนาจะนํามา ประยุกตใชไดบางสวนกับไดมีโอกาสอานหนังสือ Unconventional Wisdom ของ Ward ทํา ใหคิดวานาจะตองปรับหรือบูรณาการบางอยาง  และพอคราวของผูเขียนบาง ไดทําวิจัย “เจาะ DNA ธุรกิจครอบครัวไทย” จึงเลือก แนวคิดของ Ward (2005) มาเปนตัวแบบในการอธิบาย เรียกวา “เมทริกซระยะของงผูสืบทอดธุรกิจ ครอบครัวไทย วามี 3 ระยะดวยกันคือ 1) ระยะการปฏิบัติ (DO) 2) ระยะการชี้นําสูการปฏิบัติ (Lead  to Do)  และ 3) ระยะการอนุญาตใหปฏิบัติ (Let Do) โดยมุงความสนใจใน 4 องคประกอบหลักของ โมเดลธุรกิจครอบครัวไทยคือ 1) ครอบครัว (Family) 2) ความเปนเจาของ (Ownership) 3) ธุรกิจ (Business)  และ 4) ผูประกอบการ (Entrepreneur) มีรายละเอียดดังรูป
  • 4. การสืบทอดธุรกิจครอบครัว ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558    รูปที่ 1 เมทริกซระยะของผูสืบทอดธุรกิจครอบครัวไทย  มุงความสนใจ  ระยะ ครอบครัว  ความเปนเจาของ  ธุรกิจ  ผูประกอบการ  การปฏิบัติ (DO)  ความสัมพันธ ระหวาง พอ-แม-ลูก  มีสวนเกี่ยวของกับ การควบคุมธุรกิจ  เนนความเปน มืออาชีพ  วัฒนธรรม ของผูกอตั้ง  การชี้นําสูการ ปฏิบัติ          (Lead to DO)  ความสัมพันธแบบ ผูใหญ-ผูใหญ ความพยายามดิ้นรน เขาควบคุมธุรกิจ  เนนความเปน ผูนํา  วัฒนธรรมธุรกิจ ครอบครัว  การอนุญาตให ปฏิบัติ          (Let DO)  ความสัมพันธ ระหวาง พอ-แม-ลูก วิสัยทัศนธุรกิจ เปรียบเทียบกับการ ควบคุมธุรกิจ  เนนการบริหาร จัดการที่ดี  วัฒนธรรมของการ สืบทอดภาวะผูนํา *ดร.ดนัย เทียนพุฒ. (2552). เจาะ DNA ธุรกิจครอบครัวไทย. หนา 32  ปจจุบันผูเขียนกําลังวิเคราะหงานวิจัยในเรื่อง “การปรับธุรกิจครอบครัวไทยสูธุรกิจมือ อาชีพ” พบวาในภาคปฏิบัติจริงๆ แลว มีความจําเปนตองใชรูปแบบทฤษฎีอธิบายมากขึ้นโดยเฉพาะการ พิจารณาการสืบทอดตําแหนงจากรุนผูกอตั้ง (Founder) มายังรุนที่ 2 ซึ่งเปนรุนลูก และการสืบทอด จากรุนที่ 2 ไปสูรุนที่ 2 ซึ่งเปนพี่นองกัน หรืออาจจะสงตอไปรุนที่ 3 และมีความสลับซับซอนมากกวานั้น เมื่อไดศึกษาการสืบทอดธุรกิจของกลุมตระกูลจิราธิวัฒนและตระกูลล่ําซํา  จึงเห็นวา แนวคิดของ Landsberg ในหนังสือ Succeeding Generations  กับ Gersick และคณะใน Generation to Generation นาสนใจนํามาใชในการเปนทฤษฎี อธิบายการสืบทอดธุรกิจครอบครัว  ประการสุดทาย การสืบทอดธุรกิจครอบครัวเปนเรื่องสําคัญและกลาวถึงกันมาก  ผูเขียนลองสืบคนทางอินเตอรเน็ตพบเห็นเรื่องรางของการฝกอบรม การเสวนาในประเด็น ของ “การสืบทอดธุรกิจครอบครัว” หรือ “การสงตอธุรกิจจากรุนสูรุน (Generation to  Generation) 
  • 5. การสืบทอดธุรกิจครอบครัว ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558  ในขณะที่องคความรูดานนี้ยังมีไมมากนัก หรือไมโดนตลาด และความตองการในการ นําไปใช จึงเกิดเปนความสนใจและตองการนําความรูในเรื่องนี้ สังเคราะหออกมาเปนความรูใหม ในบริบทของธุรกิจครอบครัวไทย วา  1) เราจะมีหรือสรางแนวคิด ทฤษฎีหรือจําลองรูปแบบในการสงตอธุรกิจจากรุนสูรุน ขึ้นมาของไทยเองหรืออยางดีที่สุดขอใหมีเปน “หลักการ (Doctrine)” เพื่อสามารถหยิบใชอธิบายกรณี เหลานี้ในอนาคตไดอยางสอดคลองกับบริบทของสังคมไทยมากยิ่งขึ้น  2) การเรียนรูและศึกษากรณีศึกษาจากธุรกิจครอบครัวที่ประสบความสําเร็จ เปนสิ่งที่ดี และนาสนใจ แตการจะสังเคราะหใหเปนองคความรู และความรูที่เปนสากลใชไดอยางทั่วไป (Generalization) นาจะเปนสิ่งที่ธุรกิจครอบครัวไทยตองการ โดยเฉพาะธุรกิจเริ่มแรก หรือเพิ่งกอ รางสรางตัวขึ้นมา  อีกทั้งชวงเวลาเมื่อผานไป อาจมีความสําคัญมากในวันหนึ่งขางหนาเมื่อผูกอตั้งธุรกิจ ดําเนินธุรกิจไปจนถึงจุดอิ่มตัวดวยอายุและสังขาร หันหลังกลับมาเหลียวดูธุรกิจที่สรางมาอีกครั้ง ไดลืม เรื่องสําคัญในการเตรียมทายาทหรือผูบริหารที่รวมทุกขรวมสุขกันมาใหเขามาชวยกันดูแลกิจการ อาจจะ เปนดังคํากลาวที่วา “พอถึงเวลา รูตัวอีกทีก็สายเสียแลว”