SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
คาชี้แจง 
เครื่องมือวัดและประเมินความสามารถและทักษะ 
ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 
“อ่านออก” 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ 
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา 
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ 
สงวนลิขสิทธิ์ กันยายน ๒๕๕๕
คาชี้แจง 
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผลฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อประเมิน 
๑) การอ่านคาพื้นฐานเพิ่มเติมจากชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ได้ไม่น้อยกว่า ๑,๒๐๐ คา 
๒) การอ่านข้อความ เรื่อง บทร้อยกรองที่มีความยากง่ายใกล้เคียงกับหนังสือเรียนด้วยความเข้าใจ 
๓) การมีมารยาทในการอ่าน 
๒. เครื่องมือวัดและประเมินผลฉบับนี้แบ่งเป็น ๔ ตอน คือ 
ตอนที่ ๑ การอ่านคาพื้นฐาน 
ตอนที่ ๒ การเข้าใจความหมายของคา 
ตอนที่ ๓ การอ่านข้อความ เรื่อง บทร้อยกรองที่มีความยากง่ายใกล้เคียงกับหนังสือเรียนด้วยความเข้าใจ 
ตอนที่ ๔ การมีมารยาทในการอ่าน 
๓. วิธีการประเมินและการแปลผล 
ตอนที่ ๑ การอ่านคาพื้นฐาน (ใช้เวลา ๕ นาที) 
วิธีการประเมิน อ่านคาถูกต้องได้คาละ ๑ คะแนน อ่านผิด ๐ คะแนน 
การแปลผล รวมคะแนนแล้วเทียบกับเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ 
๒๐ คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม 
๑๘-๑๙ คะแนน หมายถึง ดี 
๑๖-๑๗ คะแนน หมายถึง พอใช้ 
๐-๑๕ คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง 
ตอนที่ ๒ การเข้าใจความหมายของคา (ใช้เวลา ๑๕ นาที) 
วิธีการประเมิน ตอบถูกต้องได้ ๑ คะแนน ตอบผิด ๐ คะแนน 
เฉลยคาตอบ 
๑. 
๒. 
๓. 
๔. 
๕. 
๖. 
๗. 
๘. 
๙. 
๑๐. 
สงกรานต์ 
ธูปเทียน 
ตักบาตร 
หลวงพ่อ 
เชี่ยวชาญ 
การ บรรยาย 
วัน ครอบครัว 
อวยพร 
ความสุข 
อันตราย 
การแปลผล รวมคะแนน แล้วเทียบกับเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ 
๑๐ คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม 
๘-๙ คะแนน หมายถึง ดี 
๖-๗ คะแนน หมายถึง พอใช้ 
๐-๕ คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง 
ตอนที่ ๓ การอ่านข้อความ เรื่อง บทร้อยกรองที่มีความยากง่ายใกล้เคียงกับหนังสือเรียนด้วยความเข้าใจ (ใช้เวลา ๒๐ นาที) 
วิธีการประเมิน ตอบถูกต้องได้ ๑ คะแนน ตอบผิด ๐ คะแนน 
เฉลยคาตอบ 
๑. 
๒. 
๓. 
๔. 
๕. 
การใฝ่เรียนใฝ่รู้ 
ฝึกอ่าน ฝึกเขียน 
ฝึกคิด 
และฝึกไตร่ตรอง 
หมั่นหาความรู้ 
อย่างสม่าเสมอ 
ฉลาดรอบรู้ 
เด็กๆ จะเก่ง 
ชาติจะเจริญ 
ทุกคนจะมีความสุข
การแปลผล รวมคะแนน แล้วเทียบกับเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ 
๕ คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม 
๔ คะแนน หมายถึง ดี 
๓ คะแนน หมายถึง พอใช้ 
๒ คะแนนลงมา หมายถึง ควรปรับปรุง 
ตอนที่ ๔ การมีมารยาทในการอ่าน 
วิธีการประเมิน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะอ่านหนังสือในชั้นเรียนหรือในห้องสมุด ตามรายการประเมิน แล้วเทียบกับเกณฑ์เป็นระดับคะแนน ดังนี้ 
ระดับคะแนน ๔ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติเป็นประจา 
ระดับคะแนน ๓ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติเป็นบางครั้ง 
ระดับคะแนน ๒ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติน้อย 
ระดับคะแนน ๑ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติน้อยมาก/ไม่เคย 
รายการประเมิน 
รายการประเมิน 
ระดับคะแนน 
๔ 
๓ 
๒ 
๑ 
๑. ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น 
๒. ไม่เล่นกันขณะที่อ่าน 
๓. ไม่ฉีก พับ หรือ ขีด เขียนเล่นในหนังสือ 
๔. ไม่แย่งอ่านหรือชะโงกหน้าไปอ่านขณะที่ผู้อื่นกาลังอ่านอยู่ 
๕. จับหนังสือถูกต้องขณะที่อ่าน 
การแปลผล นาคะแนนรวมทุกรายการประเมินของนักเรียนรายบุคคลหารด้วยจานวนรายการประเมิน แล้วเทียบกับเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ 
คะแนน ๓.๕๑ – ๔.๐๐ หมายถึง ดีเยี่ยม 
คะแนน ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง ดี 
คะแนน ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถึง พอใช้ 
คะแนน ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถึง ควรปรับปรุง
ตัวอย่างการคิดคะแนน 
ที่ 
ชื่อ – สกุล นักเรียน 
รายการประเมิน 
รวม คะแนน 
ที่ได้ 
คะแนนรวม 
หารด้วย 
รายการ ประเมิน 
สรุปผล 
การประเมิน 
รายการที่ ๑ 
รายการที่ ๒ 
รายการที่ ๓ 
รายการที่ ๔ 
รายการที่ ๕ 
๔ 
๔ 
๔ 
๔ 
๔ 
๒๐ 
๔.๐๐ 
๑ 
เด็กหญิงมารยาท เรียบร้อย 
๓ 
๔ 
๔ 
๔ 
๔ 
๑๙ 
๓.๘๐ 
ดีเยี่ยม 
๒ 
เด็กชายลักษณะ ดีจริง 
๓ 
๓ 
๓ 
๓ 
๓ 
๑๕ 
๓.๐๐ 
ดี 
๓ 
เด็กชายสุภาพ สื่อสาร 
๒ 
๒ 
๓ 
๓ 
๒ 
๑๒ 
๒.๔๐ 
พอใช้ 
๔ 
เด็กหญิงไพเราะ ใจงาม 
๑ 
๑ 
๑ 
๒ 
๒ 
๗ 
๑.๔๗ 
ควรปรับปรุง 
ตัวอย่าง การนาผลการประเมินเข้าระบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลสถานศึกษา 
๑. จานวนนักเรียนทั้งหมดในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ใส่ในช่องเป้าหมาย เท่ากับ ๔ คน 
๒. จานวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน สรุปใส่ในช่องผลงานที่ได้ เท่ากับ ๓ คน 
สรุปผลการประเมินความสามารถและทักษะตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 
ด้านอ่านออก ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ 
นักเรียนต้องได้ผลการประเมินในระดับพอใช้ขึ้นไปทุกตอน คือ 
ตอนที่ ๑ การอ่านคาพื้นฐาน 
ตอนที่ ๒ การเข้าใจความหมายของคา 
ตอนที่ ๓ การอ่านข้อความ เรื่อง บทร้อยกรองที่มีความยากง่ายใกล้เคียงกับหนังสือเรียนด้วยความเข้าใจ 
ตอนที่ ๔ การมีมารยาทในการอ่าน 
ที่ 
ชื่อ – สกุล นักเรียน 
ผลการประเมิน 
สรุป 
ตอนที่ ๑ 
ตอนที่ ๒ 
ตอนที่ ๓ 
ตอนที่ ๔ 
๑ 
เด็กหญิงมารยาท เรียบร้อย 
ดี 
ดีเยี่ยม 
ดี 
ดีเยี่ยม 
ผ่าน 
๒ 
เด็กชายลักษณะ ดีจริง 
ดี 
ดี 
ดี 
ดี 
ผ่าน 
๓ 
เด็กชายสุภาพ สื่อสาร 
พอใช้ 
ดี 
พอใช้ 
พอใช้ 
ผ่าน 
๔ 
เด็กหญิงไพเราะ ใจงาม 
พอใช้ 
พอใช้ 
พอใช้ 
ควรปรับปรุง 
ไม่ผ่าน
เครื่องมือวัดและประเมินผล 
ความสามารถและทักษะตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 
“อ่านออก” 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ 
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา 
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ 
สงวนลิขสิทธิ์ กันยายน ๒๕๕๕
ความสามารถและทักษะตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน : ด้านอ่านออก 
ตอนที่ ๑ 
คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านคาที่กาหนดให้ ใช้เวลา ๕ นาที (ครูอ่านเฉพาะคาชี้แจงให้นักเรียนฟัง) 
๑. 
ไกวเปล 
๑๑. 
ญาติมิตร 
๒. 
เมื่อยล้า 
๑๒. 
กรรมกร 
๓. 
ขยับเขยื้อน 
๑๓. 
พยาธิ 
๔. 
บวชนาค 
๑๔. 
ผิวพรรณ 
๕. 
ปีชวด 
๑๕. 
แกงบวด 
๖. 
เกียรติยศ 
๑๖. 
กระยาสารท 
๗. 
เอร็ดอร่อย 
๑๗. 
เกลี้ยง 
๘. 
ระหว่าง 
๑๘. 
โคลนตม 
๙. 
พระพรหม 
๑๙. 
เหยื่อ 
๑๐. 
ประพฤติ 
๒๐. 
เขย่า
ความสามารถและทักษะตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน : ด้านอ่านออก 
ตอนที่ ๒ 
คาชี้แจง ให้นักเรียนใช้คาที่กาหนดให้เติมคาในช่องว่างให้ได้ใจความ ใช้เวลา ๑๕ นาที (ครูอ่าน เฉพาะคาชี้แจงให้นักเรียนฟัง) 
แม่กับยายพาฉันไปทาบุญที่วัดในวัน (๑) ……………………………. 
มีผู้คนมาทาบุญกันมากมาย ยายไปจุด (๒) …………………..……… 
เพื่อบูชาพระ แม่พาฉันไป (๓) …………………..……… เสร็จแล้วมานั่งฟัง พระสวดมนต์ (๔) …………………..……… ท่าน (๕) …………………..……… เรื่องการเทศน์ และ (๖) …………………..……… ธรรมมาก ท่านเชิญชวน 
ให้ประชาชนมาร่วมทาบุญกันในวันรุ่งขึ้นเพราะตรงกับวันที่ ๑๔ เมษายน ซึ่งเป็น (๗) …………………..……… ทุกคนควรมาสรงน้าพระ และรดน้า 
ขอพรผู้สูงอายุ พร้อมทั้ง (๘) …………………..……… ให้ทุกคนมี 
(๙) …………………..……… และเตือนให้ระมัดระวังอย่าเล่นน้ากันจนเกิด (๑๐) …………………..……… ขึ้นได้ 
ธูปเทียน การบรรยาย อวยพร วันครอบครัว ตักบาตร ความสุข หลวงพ่อ สงกรานต์ อันตราย เชี่ยวชาญ
ความสามารถและทักษะตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน : ด้านอ่านออก 
ตอนที่ ๓ 
คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านบทร้อยกรองที่กาหนดให้ แล้วเขียนตอบคาถาม ใช้เวล ๒๐ นาที (ครูอ่าน เฉพาะคาชี้แจงให้นักเรียนฟัง) 
ตอบคาถาม ๑. บทร้อยกรองมีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใด 
……………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………. 
ใฝ่เรียนรู้ 
ใฝ่เอ๋ยใฝ่เรียน 
ฝึกอ่านเขียนเพียรคิดพินิจถาม 
เสาะหาเพิ่มเติมเต็มทุกโมงยาม 
ไม่รู้ตามถามไถ่ในทุกวัน 
หากนักเรียนเยาวชนคนในชาติ 
จะฉลาดเลิศล้าดังใจฝัน 
ฝึกใฝ่เรียนใฝ่รู้อยู่พร้อมพลัน 
อนาคตเด็กไทยนั้นสุขสันต์เอย 
ที่มา : วิบูลย์ ศรีโสภณ. บทดอกสร้อยอาขยาน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สพป.ลพบุรี เขต ๑ 
ที่มา : ปราณี ปราบริปู และคณะ. หนังสือเสริมการเรียนรู้ ชุด สายน้าใจ. อ่านเขียนเรียนไทย
๒. นักเรียนต้องฝึกฝนอย่างไรจึงจะเป็นคนใฝ่รู้ 
……………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………. 
๓. “เสาะหาเพิ่มเติมเต็มทุกโมงยาม” ข้อความนี้นักเรียนเข้าใจว่าอย่างไร 
……………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………. 
๔. คนที่ใฝ่เรียนรู้จะเป็นคนอย่างไร 
……………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………. 
๕. ถ้าทุกคนใฝ่เรียนรู้อนาคตของชาติจะเป็นอย่างไร 
……………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………. 
…………………………………………………………………………………………………………….
ความสามารถและทักษะตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน : ด้านอ่านออก 
ตอนที่ ๔ 
คาชี้แจง สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะอ่านหนังสือในชั้นเรียนหรือในห้องสมุด แล้วเขียนเครื่องหมาย √ 
ในระดับคะแนนที่ตรงกับพฤติกรรม/การปฏิบัติของนักเรียนตามความเป็นจริง 
ระดับคะแนน ๔ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติเป็นประจา 
ระดับคะแนน ๓ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติเป็นบางครั้ง 
ระดับคะแนน ๒ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติน้อย 
ระดับคะแนน ๑ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติน้อยมาก/ไม่เคย 
รายการ 
ระดับคะแนน 
๔ 
๓ 
๒ 
๑ 
๑. ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น 
๒. ไม่เล่นกันขณะที่อ่าน 
๓. ไม่ฉีก พับ หรือ ขีด เขียนเล่นในหนังสือ 
๔. ไม่แย่งอ่านหรือชะโงกหน้าไปอ่านขณะที่ผู้อื่นกาลังอ่านอยู่ 
๕. จับหนังสือถูกต้องขณะที่อ่าน

More Related Content

What's hot

การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯsompoy
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความKo Kung
 
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าวแบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
Reading for comprehension
Reading for comprehensionReading for comprehension
Reading for comprehensionruttiporn
 
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshareนวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slidesharenunawanna
 
แผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysisแผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysisTeacher Sophonnawit
 
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)Teacher Sophonnawit
 
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3Aiwilovekao
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3Milmilk
 
แผนการอ่าน
แผนการอ่านแผนการอ่าน
แผนการอ่านSerena Sunisa
 
วิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษวิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษGratae
 
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษงานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษNontaporn Pilawut
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishTeacher Sophonnawit
 
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านTeacher Sophonnawit
 

What's hot (20)

Thai
ThaiThai
Thai
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
วิจัย ม
วิจัย มวิจัย ม
วิจัย ม
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความ
 
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าวแบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
 
Reading for comprehension
Reading for comprehensionReading for comprehension
Reading for comprehension
 
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshareนวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
 
แผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysisแผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysis
 
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
 
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3
 
แผนการอ่าน
แผนการอ่านแผนการอ่าน
แผนการอ่าน
 
วิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษวิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษ
 
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษงานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fish
 
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 

Viewers also liked

บทอาขยาน2
บทอาขยาน2บทอาขยาน2
บทอาขยาน2Apple Pakanapat
 
เรียงความเรื่องพลโลก
เรียงความเรื่องพลโลกเรียงความเรื่องพลโลก
เรียงความเรื่องพลโลกsirirak Ruangsak
 
การละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4page
การละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4pageการละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4page
การละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายคำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายkruthai40
 
Bbl เอกสารชุดที่1
Bbl เอกสารชุดที่1Bbl เอกสารชุดที่1
Bbl เอกสารชุดที่1Prachoom Rangkasikorn
 
การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์
การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์
การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์วิพร มาตย์นอก
 
การ์ดตบ
การ์ดตบการ์ดตบ
การ์ดตบNirut Uthatip
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)kruthai40
 
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔kruthai40
 
ฝึกออกเสียง ร ก่อน ล
ฝึกออกเสียง ร ก่อน ลฝึกออกเสียง ร ก่อน ล
ฝึกออกเสียง ร ก่อน ลApple Pakanapat
 
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bblพลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bblวิพร มาตย์นอก
 
Worksheet bbl model 2
Worksheet bbl model 2Worksheet bbl model 2
Worksheet bbl model 2nongnoch
 
Bbl เอกสารชุดที่4
Bbl เอกสารชุดที่4Bbl เอกสารชุดที่4
Bbl เอกสารชุดที่4Prachoom Rangkasikorn
 
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bblพลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bblวิพร มาตย์นอก
 

Viewers also liked (20)

บทอาขยาน2
บทอาขยาน2บทอาขยาน2
บทอาขยาน2
 
เรียงความเรื่องพลโลก
เรียงความเรื่องพลโลกเรียงความเรื่องพลโลก
เรียงความเรื่องพลโลก
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
การละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4page
การละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4pageการละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4page
การละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4page
 
Pre orientation
Pre orientationPre orientation
Pre orientation
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘
 
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายคำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
 
พลเมืองโลก1
พลเมืองโลก1พลเมืองโลก1
พลเมืองโลก1
 
Bbl เอกสารชุดที่1
Bbl เอกสารชุดที่1Bbl เอกสารชุดที่1
Bbl เอกสารชุดที่1
 
การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์
การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์
การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์
 
การ์ดตบ
การ์ดตบการ์ดตบ
การ์ดตบ
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
 
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
 
ฝึกออกเสียง ร ก่อน ล
ฝึกออกเสียง ร ก่อน ลฝึกออกเสียง ร ก่อน ล
ฝึกออกเสียง ร ก่อน ล
 
School change maker
School change maker School change maker
School change maker
 
Roadmap พลิกโฉม 2
Roadmap พลิกโฉม 2Roadmap พลิกโฉม 2
Roadmap พลิกโฉม 2
 
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bblพลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
 
Worksheet bbl model 2
Worksheet bbl model 2Worksheet bbl model 2
Worksheet bbl model 2
 
Bbl เอกสารชุดที่4
Bbl เอกสารชุดที่4Bbl เอกสารชุดที่4
Bbl เอกสารชุดที่4
 
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bblพลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
 

Similar to 015

บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระบทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระjintanasuti
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
pเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียน
pเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียนpเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียน
pเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียนธัญญ์ชยา นาคมาตร
 
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้โรงเรียน วัดวังเย็น
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 Amm Orawanp
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศBoonlert Aroonpiboon
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสปายด์ 'ดื้อ
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรPiyarerk Bunkoson
 
[report] Thai school library medium 2010 (award)
[report] Thai school library medium 2010 (award)[report] Thai school library medium 2010 (award)
[report] Thai school library medium 2010 (award)Joy sarinubia
 

Similar to 015 (20)

1
11
1
 
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระบทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
pเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียน
pเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียนpเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียน
pเกณฑ์ประเมินผลการอ่านการเขียน
 
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทร
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
[report] Thai school library medium 2010 (award)
[report] Thai school library medium 2010 (award)[report] Thai school library medium 2010 (award)
[report] Thai school library medium 2010 (award)
 

015

  • 1. คาชี้แจง เครื่องมือวัดและประเมินความสามารถและทักษะ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน “อ่านออก” ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สงวนลิขสิทธิ์ กันยายน ๒๕๕๕
  • 2. คาชี้แจง ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผลฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อประเมิน ๑) การอ่านคาพื้นฐานเพิ่มเติมจากชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ได้ไม่น้อยกว่า ๑,๒๐๐ คา ๒) การอ่านข้อความ เรื่อง บทร้อยกรองที่มีความยากง่ายใกล้เคียงกับหนังสือเรียนด้วยความเข้าใจ ๓) การมีมารยาทในการอ่าน ๒. เครื่องมือวัดและประเมินผลฉบับนี้แบ่งเป็น ๔ ตอน คือ ตอนที่ ๑ การอ่านคาพื้นฐาน ตอนที่ ๒ การเข้าใจความหมายของคา ตอนที่ ๓ การอ่านข้อความ เรื่อง บทร้อยกรองที่มีความยากง่ายใกล้เคียงกับหนังสือเรียนด้วยความเข้าใจ ตอนที่ ๔ การมีมารยาทในการอ่าน ๓. วิธีการประเมินและการแปลผล ตอนที่ ๑ การอ่านคาพื้นฐาน (ใช้เวลา ๕ นาที) วิธีการประเมิน อ่านคาถูกต้องได้คาละ ๑ คะแนน อ่านผิด ๐ คะแนน การแปลผล รวมคะแนนแล้วเทียบกับเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ ๒๐ คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม ๑๘-๑๙ คะแนน หมายถึง ดี ๑๖-๑๗ คะแนน หมายถึง พอใช้ ๐-๑๕ คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง ตอนที่ ๒ การเข้าใจความหมายของคา (ใช้เวลา ๑๕ นาที) วิธีการประเมิน ตอบถูกต้องได้ ๑ คะแนน ตอบผิด ๐ คะแนน เฉลยคาตอบ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. สงกรานต์ ธูปเทียน ตักบาตร หลวงพ่อ เชี่ยวชาญ การ บรรยาย วัน ครอบครัว อวยพร ความสุข อันตราย การแปลผล รวมคะแนน แล้วเทียบกับเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ ๑๐ คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม ๘-๙ คะแนน หมายถึง ดี ๖-๗ คะแนน หมายถึง พอใช้ ๐-๕ คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง ตอนที่ ๓ การอ่านข้อความ เรื่อง บทร้อยกรองที่มีความยากง่ายใกล้เคียงกับหนังสือเรียนด้วยความเข้าใจ (ใช้เวลา ๒๐ นาที) วิธีการประเมิน ตอบถูกต้องได้ ๑ คะแนน ตอบผิด ๐ คะแนน เฉลยคาตอบ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. การใฝ่เรียนใฝ่รู้ ฝึกอ่าน ฝึกเขียน ฝึกคิด และฝึกไตร่ตรอง หมั่นหาความรู้ อย่างสม่าเสมอ ฉลาดรอบรู้ เด็กๆ จะเก่ง ชาติจะเจริญ ทุกคนจะมีความสุข
  • 3. การแปลผล รวมคะแนน แล้วเทียบกับเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ ๕ คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม ๔ คะแนน หมายถึง ดี ๓ คะแนน หมายถึง พอใช้ ๒ คะแนนลงมา หมายถึง ควรปรับปรุง ตอนที่ ๔ การมีมารยาทในการอ่าน วิธีการประเมิน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะอ่านหนังสือในชั้นเรียนหรือในห้องสมุด ตามรายการประเมิน แล้วเทียบกับเกณฑ์เป็นระดับคะแนน ดังนี้ ระดับคะแนน ๔ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติเป็นประจา ระดับคะแนน ๓ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติเป็นบางครั้ง ระดับคะแนน ๒ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติน้อย ระดับคะแนน ๑ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติน้อยมาก/ไม่เคย รายการประเมิน รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น ๒. ไม่เล่นกันขณะที่อ่าน ๓. ไม่ฉีก พับ หรือ ขีด เขียนเล่นในหนังสือ ๔. ไม่แย่งอ่านหรือชะโงกหน้าไปอ่านขณะที่ผู้อื่นกาลังอ่านอยู่ ๕. จับหนังสือถูกต้องขณะที่อ่าน การแปลผล นาคะแนนรวมทุกรายการประเมินของนักเรียนรายบุคคลหารด้วยจานวนรายการประเมิน แล้วเทียบกับเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ คะแนน ๓.๕๑ – ๔.๐๐ หมายถึง ดีเยี่ยม คะแนน ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง ดี คะแนน ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถึง ควรปรับปรุง
  • 4. ตัวอย่างการคิดคะแนน ที่ ชื่อ – สกุล นักเรียน รายการประเมิน รวม คะแนน ที่ได้ คะแนนรวม หารด้วย รายการ ประเมิน สรุปผล การประเมิน รายการที่ ๑ รายการที่ ๒ รายการที่ ๓ รายการที่ ๔ รายการที่ ๕ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๒๐ ๔.๐๐ ๑ เด็กหญิงมารยาท เรียบร้อย ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๑๙ ๓.๘๐ ดีเยี่ยม ๒ เด็กชายลักษณะ ดีจริง ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๕ ๓.๐๐ ดี ๓ เด็กชายสุภาพ สื่อสาร ๒ ๒ ๓ ๓ ๒ ๑๒ ๒.๔๐ พอใช้ ๔ เด็กหญิงไพเราะ ใจงาม ๑ ๑ ๑ ๒ ๒ ๗ ๑.๔๗ ควรปรับปรุง ตัวอย่าง การนาผลการประเมินเข้าระบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลสถานศึกษา ๑. จานวนนักเรียนทั้งหมดในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ใส่ในช่องเป้าหมาย เท่ากับ ๔ คน ๒. จานวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน สรุปใส่ในช่องผลงานที่ได้ เท่ากับ ๓ คน สรุปผลการประเมินความสามารถและทักษะตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านอ่านออก ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ นักเรียนต้องได้ผลการประเมินในระดับพอใช้ขึ้นไปทุกตอน คือ ตอนที่ ๑ การอ่านคาพื้นฐาน ตอนที่ ๒ การเข้าใจความหมายของคา ตอนที่ ๓ การอ่านข้อความ เรื่อง บทร้อยกรองที่มีความยากง่ายใกล้เคียงกับหนังสือเรียนด้วยความเข้าใจ ตอนที่ ๔ การมีมารยาทในการอ่าน ที่ ชื่อ – สกุล นักเรียน ผลการประเมิน สรุป ตอนที่ ๑ ตอนที่ ๒ ตอนที่ ๓ ตอนที่ ๔ ๑ เด็กหญิงมารยาท เรียบร้อย ดี ดีเยี่ยม ดี ดีเยี่ยม ผ่าน ๒ เด็กชายลักษณะ ดีจริง ดี ดี ดี ดี ผ่าน ๓ เด็กชายสุภาพ สื่อสาร พอใช้ ดี พอใช้ พอใช้ ผ่าน ๔ เด็กหญิงไพเราะ ใจงาม พอใช้ พอใช้ พอใช้ ควรปรับปรุง ไม่ผ่าน
  • 5. เครื่องมือวัดและประเมินผล ความสามารถและทักษะตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน “อ่านออก” ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สงวนลิขสิทธิ์ กันยายน ๒๕๕๕
  • 6. ความสามารถและทักษะตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน : ด้านอ่านออก ตอนที่ ๑ คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านคาที่กาหนดให้ ใช้เวลา ๕ นาที (ครูอ่านเฉพาะคาชี้แจงให้นักเรียนฟัง) ๑. ไกวเปล ๑๑. ญาติมิตร ๒. เมื่อยล้า ๑๒. กรรมกร ๓. ขยับเขยื้อน ๑๓. พยาธิ ๔. บวชนาค ๑๔. ผิวพรรณ ๕. ปีชวด ๑๕. แกงบวด ๖. เกียรติยศ ๑๖. กระยาสารท ๗. เอร็ดอร่อย ๑๗. เกลี้ยง ๘. ระหว่าง ๑๘. โคลนตม ๙. พระพรหม ๑๙. เหยื่อ ๑๐. ประพฤติ ๒๐. เขย่า
  • 7. ความสามารถและทักษะตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน : ด้านอ่านออก ตอนที่ ๒ คาชี้แจง ให้นักเรียนใช้คาที่กาหนดให้เติมคาในช่องว่างให้ได้ใจความ ใช้เวลา ๑๕ นาที (ครูอ่าน เฉพาะคาชี้แจงให้นักเรียนฟัง) แม่กับยายพาฉันไปทาบุญที่วัดในวัน (๑) ……………………………. มีผู้คนมาทาบุญกันมากมาย ยายไปจุด (๒) …………………..……… เพื่อบูชาพระ แม่พาฉันไป (๓) …………………..……… เสร็จแล้วมานั่งฟัง พระสวดมนต์ (๔) …………………..……… ท่าน (๕) …………………..……… เรื่องการเทศน์ และ (๖) …………………..……… ธรรมมาก ท่านเชิญชวน ให้ประชาชนมาร่วมทาบุญกันในวันรุ่งขึ้นเพราะตรงกับวันที่ ๑๔ เมษายน ซึ่งเป็น (๗) …………………..……… ทุกคนควรมาสรงน้าพระ และรดน้า ขอพรผู้สูงอายุ พร้อมทั้ง (๘) …………………..……… ให้ทุกคนมี (๙) …………………..……… และเตือนให้ระมัดระวังอย่าเล่นน้ากันจนเกิด (๑๐) …………………..……… ขึ้นได้ ธูปเทียน การบรรยาย อวยพร วันครอบครัว ตักบาตร ความสุข หลวงพ่อ สงกรานต์ อันตราย เชี่ยวชาญ
  • 8. ความสามารถและทักษะตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน : ด้านอ่านออก ตอนที่ ๓ คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านบทร้อยกรองที่กาหนดให้ แล้วเขียนตอบคาถาม ใช้เวล ๒๐ นาที (ครูอ่าน เฉพาะคาชี้แจงให้นักเรียนฟัง) ตอบคาถาม ๑. บทร้อยกรองมีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใด ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………. ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เอ๋ยใฝ่เรียน ฝึกอ่านเขียนเพียรคิดพินิจถาม เสาะหาเพิ่มเติมเต็มทุกโมงยาม ไม่รู้ตามถามไถ่ในทุกวัน หากนักเรียนเยาวชนคนในชาติ จะฉลาดเลิศล้าดังใจฝัน ฝึกใฝ่เรียนใฝ่รู้อยู่พร้อมพลัน อนาคตเด็กไทยนั้นสุขสันต์เอย ที่มา : วิบูลย์ ศรีโสภณ. บทดอกสร้อยอาขยาน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สพป.ลพบุรี เขต ๑ ที่มา : ปราณี ปราบริปู และคณะ. หนังสือเสริมการเรียนรู้ ชุด สายน้าใจ. อ่านเขียนเรียนไทย
  • 9. ๒. นักเรียนต้องฝึกฝนอย่างไรจึงจะเป็นคนใฝ่รู้ ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………. ๓. “เสาะหาเพิ่มเติมเต็มทุกโมงยาม” ข้อความนี้นักเรียนเข้าใจว่าอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………. ๔. คนที่ใฝ่เรียนรู้จะเป็นคนอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………. ๕. ถ้าทุกคนใฝ่เรียนรู้อนาคตของชาติจะเป็นอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….
  • 10. ความสามารถและทักษะตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน : ด้านอ่านออก ตอนที่ ๔ คาชี้แจง สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะอ่านหนังสือในชั้นเรียนหรือในห้องสมุด แล้วเขียนเครื่องหมาย √ ในระดับคะแนนที่ตรงกับพฤติกรรม/การปฏิบัติของนักเรียนตามความเป็นจริง ระดับคะแนน ๔ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติเป็นประจา ระดับคะแนน ๓ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติเป็นบางครั้ง ระดับคะแนน ๒ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติน้อย ระดับคะแนน ๑ หมายถึง แสดงพฤติกรรม/ปฏิบัติน้อยมาก/ไม่เคย รายการ ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น ๒. ไม่เล่นกันขณะที่อ่าน ๓. ไม่ฉีก พับ หรือ ขีด เขียนเล่นในหนังสือ ๔. ไม่แย่งอ่านหรือชะโงกหน้าไปอ่านขณะที่ผู้อื่นกาลังอ่านอยู่ ๕. จับหนังสือถูกต้องขณะที่อ่าน