SlideShare a Scribd company logo
การสร้างภาพลักษณ์ตราสินค้า (Brand Image Building)
ธุ ร กิ จ ใ น ปั จ จุ บั น นี้ ต่ า ง มี ก า ร เป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป อ ย่ า ง ร ว ด เร็ ว
ร ว ม ทั้ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง ผู้ บ ริ โภ ค ที่ เป ลี่ ย น แ ป ล ง ไป ซึ่ ง มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร
ค ว า ม ค า ด ห วั ง ต่ อ สิ น ค้ า แ ล ะ บ ริ ก า ร ที่ เป ลี่ ย น ไป อ ย่ า ง ร ว ด เร็ ว เนื่ อ ง จ า ก
ผู้ บ ริ โ ภ ค มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ต่ อ สิ น ค้ า ห รื อ บ ริ ก า ร ม า ก ขึ้ น
ต ล อด จนการใช้ ชีวิต ในยุค ปั จจุบันที่ผู้ บริโภค มี เวล าน้ อยล งแล ะใช้ ชีวิต อย่างเร่งรีบ
จึงต้องการความสะดวกสบายมากขึ้น และต้องการสินค้าหรือบริการที่มีคุณภาพดีขึ้นและตรงใจมากขึ้น
รวมทั้งมีการรับประกันคุณภาพให้สิทธิพิเศษในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสินค้าและบริการที่มีราคาถูกลง
หรือการให้ส่วนลด ของแถม เป็นต้น เพราะในปัจจุบันมีผู้บริโภคจานวนไม่น้อยที่มีความไวต่อราคา
ดั ง นั้ น
ธุรกิจจาเป็นต้องมีการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมของกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย
ก า ร มี ภ า พ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ต ร า สิ น ค้ า ห รื อ บ ริ ก า ร (brand image)
ที่แ ข็ง แก ร่ง ยัง ค ง ช่ว ยเส ริม ส ร้ าง ให้ เกิ ด ค วาม ได้ เป รีย บ ในก ารแข่ ง ใน ปั จ จุบัน ได้
ถ้าภาพ ลั กษ ณ์ ของ ต ราสิ นค้ าที่แข็ง แกร่งดัง กล่ าวได้ รับการดูแล แล ะ บ ริหารอย่าง ดี
จะสามารถช่วยให้ธุรกิจมีช่วงชีวิตและชื่อเสียงที่ยืนยาว อาทิ
 บริษัท อินเทล ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จากัด สร้างชุมชนออนไลน์
(www.intelpcclub.com) ตอกย้าภาพลักษณ์ผู้สร้างสรรค์เทคโนโลยีสาหรับอนาคต
 บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จากัด จัดโครงการ CSR “ครอบครัวพระโพธิสัตว์”
ตอกย้าภาพลักษณ์แบรนด์ซื่อสัตย์
 บริษัท ยูนิลี เวอร์ ไทย เทรด ดิ้ง จากัด ผู้ ผ ลิ ต แล ะจาหน่ายแชมพูซันซิล
ตอกย้าภาพลักษณ์ แบรนด์ซันซิล ด้วยภาพ ลักษณ์ ผู้ เชี่ยวชาญ ด้ านเส้ นผ ม
จากเดิมที่มีภาพลักษณ์เพื่อความงาม
 บริษัท ไทย เบฟเวอร์เรจ จากัด (มหาชน) ที่ปรับภาพลักษณ์ใหม่ของเบียร์ช้าง
ภายใต้คอนเซปต์ “ช้าง...คนไทยหัวใจเดียวกัน”
ความหมายของ Brand Image
Brand Image คือ ภาพลักษณ์ที่เกิดขึ้นจากการหลอมรวมกันขององค์ประกอบสาคัญ 5 ประการ
ซึ่งแสดงได้ดังแผนภาพข้างล่างนี้
แสดงองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เกิดภาพลักษณ์ตราสินค้า
จากแผนภาพ แสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบภายนอกที่ทาให้เกิดภาพลักษณ์ตราสินค้า
ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1.CountryofOrigin หมายถึง ประเทศที่เป็นผู้ผลิตสินค้า
2.Organization หมายถึง องค์กร
3.Product หมายถึง ลักษณะต่างๆ ของสินค้า
4.Brand Effect หมายถึง สิ่งต่างๆ
เกี่ยวกับตราสินค้าที่เราสร้างสรรค์ขึ้นมาเพื่อช่วยสร้างภาพลักษณ์ให้แก่ตราสินค้า
5.Brand Personality เป็นลักษณะทางกายภาพที่เด่นชัดของสินค้า
การสร้างบุคลิกภาพต้องอาศัยคาพูด รูปภาพ อารมณ์ น้าเสียง และลีลา
จะต้องสอดคล้องและกลมกลืนกันเพื่อให้กลุ่มเป้ าหมายเกิดความมั่นใจและคาดหวังว่าจะได้อะไรจากสินค้
า ทุกครั้งที่วางแผนการตลาดนั้นในเรื่องของบุคลิกภาพ ว่าเป็นสินค้าที่เปรี้ยวหรือหวาน
ทันสมัยหรือคลาสสิค เรียบง่ายหรือหรูหรา บุคลิกภาพเหล่านี้ต้องชัดเจน
เพราะคาว่าบุคลิกหมายถึงลักษณะเฉพาะตัวที่แน่นอนถาวรจนทาให้คนอื่นที่รู้จักเรานั้น
คาดคะเนหรือทานายสิ่งที่เขาจะได้รับจากผลิตภัณฑ์ สินค้าควรมีบุคลิกที่ชัดเจน
Country of Origin
Brand Image
Brand ArtifactsBrand Personality
ProductOrganization
เพราะทาให้คนซื้อสามารถคาดคะเนว่าเมื่อซื้อสินค้ามาแล้วได้อะไร การที่สินค้ามีบุคลิกภาพที่ชัดเจน
จะทาให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจในการซื้อเพราะจะคาดได้ว่าจะได้อะไรจากการซื้อสินค้า
เมื่อสิ่งต่างๆเหล่านี้หลอมรวมให้เกิดภาพลักษณ์ตราสินค้าแล้ว
สิ่งที่นักการตลาดที่ดีจาเป็นต้องทาเพื่อให้ภาพลักษณ์ยังคงอยู่ในใจผู้บริโภคตลอดไปก็คือการเชื่อมโยงควา
มแข็งแกร่ง ความชื่นชอบ และเอกลักษณ์ที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ให้คงอยู่
แผนภาพแสดงการเชื่อมโยงความแข็งแกร่ง ความชื่นชอบ
และเอกลักษณ์ที่เกี่ยวพันกับแบรนด์กับภาพลักษณ์แบรนด์ (Keller, 2003: 70-73)
ภาพลักษณ์แบรนด์ (brand image)
มักจะเป็นภาพลักษณ์เชิงบวกที่ถูกสร้างขึ้นโดยโปรแกรมของนักการตลาดที่พยายามเชื่อมโยงความแข็งแก
ร่ง ความชื่นชอบ และความมีเอกลักษณ์ที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ให้อยู่ในความทรงจาของผู้บริโภค
นอกเหนือจากแห่งของข้อมูลที่ถูกควบคุมโดยนักการตลาดเองแล้ว ความเกี่ยวพันกับแบรนด์ (brand
association) อาจถูกสร้างขึ้นได้อีกหลายวิธีด้วยกัน เช่น จากประสบการณ์ตรงของผู้บริโภค
จากข้อมูลของแบรนด์ที่ถูกสื่อสารจากองค์กรหรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง จากการพูดปากต่อปาก (word
of mouth) และการอ้างอิงจากตัวของแบรนด์เอง เช่นชื่อสินค้าหรือโลโก้
รวมทั้งจากการกาหนดตัวตนของแบรนด์ผ่านบริษัท ประเทศ ช่องทางการจัดจาหน่าย หรือบุคคล สถานที่
และกิจกรรมบางอย่างโดยเฉพาะ ซึ่งภาพลักษณ์ของแบรนด์จะสมบูรณ์ได้ด้วยองค์ประกอบ ดังนี้ (Keller,
2003: 70-73)
1.ความแข็งแกร่งที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ (Strength of Brand Associations)
การทาให้มั่นใจว่าความเกี่ยวพันถูกเชื่อมโยงอย่างพอเพียงและอย่างแข็งแกร่งกับแบรนด์
ขึ้นอยู่กับว่าโปรแกรมทางการตลาดและปัจจัยอื่นๆจะส่งผลกระทบกับประสบการณ์ของผู้บริโภคที่มีต่อแบร
Brand Image
Favorability UniquenessStrength
นด์ได้อย่างไร ความแข็งแกร่งเกิดจากจานวนหรือปริมาณ
รวมทั้งคุณภาพของกระบวนการการได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสารที่ได้รับ
ยิ่งผู้บริโภคคิดลงลึกเกี่ยวกับข้อมูลสินค้าที่เชื่อมโยงมันกับความรู้เดิมเกี่ยวแบรนด์ที่มีอยู่มากขึ้นเท่าไร
ความแข็งแกร่งที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ก็จะตามมามากยิ่งขึ้นเท่านั้น
ปัจจัยสองประการที่เอื้ออานวยให้เกิดความเกี่ยวพันที่แข็งแกร่งของข้อมูลแต่ละข้อมูลก็คือ
ความเกี่ยวพันส่วนตัวของข้อมูลและการถูกนาเสนอข้อมูลอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา
ตามที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น
ความเชื่อของผู้บริโภคเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณประโยชน์ของแบรนด์ อาจก่อตัวขึ้นได้หลายวิธี
คุณลักษณะของแบรนด์ (brand attributes)
เป็นลักษณะที่สามารถอธิบายได้ถึงบุคลิกลักษณะของสินค้าหรือบริการ ส่วนคุณประโยชน์ของแบรนด์
(brand benefit)
คือคุณค่าหรือความหมายที่เป็นส่วนตัวที่ผู้บริโภคผูกติดมันเอาไว้กับคุณลักษณะของสินค้าหรือบริการ
โดยทั่วไป
แหล่งของข้อมูลข่าวสารที่ถูกสร้างขึ้นจากคุณลักษณะและคุณประโยชน์ของแบรนด์ที่แข็งแกร่งก็คือประสบ
การณ์ตรงของผู้บริโภคนั่นเอง ข้อมูลในลักษณะนี้มักจะมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภค
ตราบเท่าที่ผู้บริโภคจะยังสามารถแปลความหมายจากประสบการณ์ของพวกเขาได้อย่างแม่นยาอยู่อย่างเช่
นเคย
ทั้งนี้มีข้อมูลจากการวิจัยแสดงให้เห็นว่าผู้บริโภคจะซื้อสินค้าแบรนด์ใดแบรนด์หนึ่งโดยเฉพาะนั้น
มักจะมีเหตุผลหลักมาจากประสบการณ์ในอดีตของผู้บริโภค
ความเกี่ยวพันที่แข็งแกร่งอีกอย่างหนึ่งก็คือการพูดปากต่อปาก (word of mouth) จากเพื่อนหรือครอบครัว
หรือจากแหล่งอื่นๆที่อาจไม่เกี่ยวข้องกับองค์กรเลย เช่นสื่อหรือหนังสือพิมพ์ ก็มีส่วนเช่นกัน
คาพูดปากต่อปากน่าจะมีความสาคัญมากสาหรับธุรกิจประเภทร้านอาหาร สถานบันเทิง ธนาคาร
หรือบริการส่วนตัว แหล่งข้อมูลที่มีอิทธิพลกับบริษัท เช่นโฆษณา
บ่อยครั้งที่ถูกสร้างขึ้นจากความเกี่ยวพันที่อ่อนแอ และด้วยเหตุนี้จึงอาจถูกเปลี่ยนแปลงได้อย่างง่ายดาย
เพื่อที่จะฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆเหล่านี้
โปรแกรมการสื่อสารทางการตลาดมักจะพยายามอย่างหนักที่จะสร้างความเกี่ยวพันกับแบรนด์ที่แข็งแกร่ง
ผ่านการใช้การสื่อสารที่สร้างสรรค์ ซึ่งอาจเป็นเหตุให้ผู้บริโภคค่อยๆซึมซับข้อมูลโดยละเอียด สตาร์บัคส์
(Starbucks) และอเมซอนดอทคอม (Amazon.com)
ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของบริษัทที่สร้างภาพลักษณ์แบรนด์ที่แข็งแกร่งอย่างเหลือเชื่อโดยปราศจากการใช้โป
รแกรมการโฆษณาราคาแพง
2.ความชื่นชอบที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ (Favorability of brand associations)
การที่จะเลือกว่าสิ่งใดเป็นความชื่นชอบและเอกลักษณ์ที่เกี่ยวพันกับแบรนด์เพื่อที่จะสามารถเชื่อม
โยงเข้ากับแบรนด์ให้ได้นั้น จาเป็นต้องอาศัยการวิเคราะห์ที่ต้องระมัดระวังเป็นอย่างมากจากผู้บริโภค
และจากการแข่งขันเพื่อที่จะสามารถกาหนดตาแหน่งสูงสุดของแบรนด์ได้ โดยพี้นฐานทั่วไปแล้ว
ความชื่นชอบที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ถูกสร้างขึ้นจากการทาให้ผู้บริโภคเชื่อมั่นว่ากระบวนการการสร้างแบรนด์
ที่อาศัยคุณลักษณะและคุณประโยชน์ของแบรนด์
จะสามารถทาให้ผู้บริโภคพอใจและสามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ ด้วยเหตุนี้
ความชื่นชอบที่เกี่ยวพันกับแบรนด์เป็นความเกี่ยวพันที่เป็นที่ปรารถนาของผู้บริโภค และมีอยู่ในสินค้าจริง
เช่นแบรนด์อาจถูกมองว่ามีความสะดวกสบายสูง (highly convenient) น่าเชื่อถือ (reliable)
มีประสิทธิภาพ (efficient) และอื่นๆ
ในส่วนของความปรารถนาของผู้บริโภค
ความเกี่ยวพันด้านภาพลักษณ์มีความสาคัญอย่างไรต่อทัศนคติเกี่ยวกับแบรนด์
และต่อการตัดสินใจของผู้บริโภค ความปรารถนาขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 ประการคือ 1)
ผู้บริโภคพบว่าความเกี่ยวพันกับแบรนด์สัมพันธ์กับตนเองอย่างไร 2)
ผู้บริโภคพบว่าความเกี่ยวพันกับแบรนด์แตกต่างโดดเด่นอย่างไร และ
3)ผู้บริโภคพบว่าความเกี่ยวพันกับแบรนด์เชื่อถือได้อย่างไร
3.เอกลักษณ์ที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ (Uniqueness of brand associations)
ความเกี่ยวพันกับแบรนด์อาจจะหรืออาจจะไม่ได้เป็นสิ่งที่แบ่งปันกับกับแบรนด์คู่แข่งอื่นๆ
หัวใจสาคัญของการกาหนดตาแหน่งแบรนด์ก็คือ แบรนด์มักจะมีข้อได้เปรียบจากการแข่งขันที่เหนือกว่า
หรือ ‘มีข้อเสนอการขายสินค้าที่เป็นเอกลักษณ์’ (unique selling proposition)
ซึ่งเป็นเหตุผลว่าทาไมผู้บริโภคถึงต้องซื้อสินค้านั้น
ความแตกต่างเหล่านี้อาจจะถูกสื่อสารโดยการสร้างความแตกต่างโดยตรงกับคู่แข่ง ยิ่งไปกว่านั้น
มันอาจมีพื้นฐานอยู่บนคุณลักษณะหรือคุณประโยชน์ที่เกี่ยวพันหรือไม่เกี่ยวพันกับสินค้าก็ได้
ในความเป็นจริงแล้ว คุณลักษณะที่ไม่เกี่ยวพันกับสินค้า เช่นรูปแบบของผู้ใช้หรือลักษณะในการใช้
อาจจะสร้างความเกี่ยวพันที่เป็นเอกลักษณ์ได้อย่างง่ายดาย เช่น
ภาพลักษณ์ที่สมบุกสมบันแบบตะวันตกของแบรนด์บุหรี่มาร์ลโบโล
หรือภาพลักษณ์แบบไม่ตามแบบใครของแบรนด์บุหรี่เวอร์จิเนียสลิม
ความแข็งแกร่งและความชื่นชอบที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ก็คือ
การสร้างเอกลักษณ์ที่ทาให้แบรนด์แตกต่างจากแบรนด์อื่น
เป็นสิ่งที่สาคัญอย่างยิ่งของความสาเร็จในการสร้างแบรนด์ แต่ถ้าหากว่าแบรนด์นั้นมีคู่แข่ง
ก็หมายความว่า
แบรนด์นั้นได้มีการแบ่งปันความเกี่ยวพันบางอย่างเกี่ยวกับแบรนด์ของตนให้กับแบรนด์อื่นไปบ้างแล้ว
ความเกี่ยวพันของแบรนด์ที่ถูกแบ่งปันไปนี้
สามารถช่วยในการสร้างสมาชิกและกาหนดขอบเขตของการแข่งขันกับสินค้าและการให้บริการอื่นๆ
ในกลุ่มผู้บริโภค ถึงแม้ว่าบางครั้งแบรนด์อาจจะไม่ได้มีการแข่งขันกับสินค้าประเภทเดียวกัน
แต่ว่าอาจมีการแข่งขันกับสินค้าที่อาจมีความสัมพันธ์กับแบรนด์สินค้าขององค์กรอยู่บ้าง เช่นแบรนด์รถไฟ
ซึ่งอาจไม่ได้มีบริษัทคู่แข่งที่ต้องทาการแข่งขัน เนื่องจากมีบริษัทที่ทาการอยู่บริษัทเดียว
แต่ว่ารถไฟเองก็ยังต้องทาการแข่งขันกับบริษัทขนส่งประเภทอื่นๆ เช่น สายการบิน รถยนต์
หรือรถประจาทาง เป็นต้น สินค้าประเภทการศึกษาก็เช่นเดียวกัน ที่อาจผลิตออกมาในรูปแบบของแผ่นซีดี
(CD Rom) ก็ยังจาเป็นต้องแข่งขันกับหนังสือ วีดีโอ โทรทัศน์ หรือนิตยสาร ด้วยเหตุผลนี้เอง
หลักของการสร้างแบรนด์ในลักษณะนี้
ก็ได้ถูกใช้เพื่อที่จะทาการตลาดให้กับสินค้าหลากหลายประเภทจานวนมาก เช่น ธนาคาร เฟอร์นิเจอร์ พรม
หรือ โบว์ลิ่ง เป็นต้น

More Related Content

What's hot

ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
ประพันธ์ เวารัมย์
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
Siriya Khaosri
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
Iam Champooh
 
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  editอจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 edit
สุขใจ สุขกาย
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
Tatsawan Khejonrak
 
กิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่ายกิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่าย
Tanakorn Pansupa
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
โหลดฟรี ข้อสอบเก่าครูธุรการโรงเรียน สพฐ
โหลดฟรี ข้อสอบเก่าครูธุรการโรงเรียน สพฐโหลดฟรี ข้อสอบเก่าครูธุรการโรงเรียน สพฐ
โหลดฟรี ข้อสอบเก่าครูธุรการโรงเรียน สพฐveerachai1
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555Kroo Mngschool
 
การผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนการผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนPalasut
 
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.peter dontoom
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
Thamonwan Theerabunchorn
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
Thanyamon Chat.
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
Teetut Tresirichod
 
รากศัพท์Bio
รากศัพท์Bioรากศัพท์Bio
รากศัพท์Bio
Kittepot
 

What's hot (20)

ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  editอจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 edit
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
กิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่ายกิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่าย
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โหลดฟรี ข้อสอบเก่าครูธุรการโรงเรียน สพฐ
โหลดฟรี ข้อสอบเก่าครูธุรการโรงเรียน สพฐโหลดฟรี ข้อสอบเก่าครูธุรการโรงเรียน สพฐ
โหลดฟรี ข้อสอบเก่าครูธุรการโรงเรียน สพฐ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
จิตวิทยา 6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรมจิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา 6 เฟรม
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
 
แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555
 
การผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนการผูกเงื่อน
การผูกเงื่อน
 
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
 
รากศัพท์Bio
รากศัพท์Bioรากศัพท์Bio
รากศัพท์Bio
 

Similar to ภาพลักษณ์ตราสินค้า

คู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบคู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบtelecentreacademy
 
Digital brand experience people, content and technology
Digital brand experience people, content and technologyDigital brand experience people, content and technology
Digital brand experience people, content and technology
marsloner
 
ได้เวลาแสดงแล้ว It’s showtime!
 ได้เวลาแสดงแล้ว It’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้ว It’s showtime!
ได้เวลาแสดงแล้ว It’s showtime!
maruay songtanin
 
การตลาดออนไลน์ - online marketing thailand
การตลาดออนไลน์ - online marketing thailandการตลาดออนไลน์ - online marketing thailand
การตลาดออนไลน์ - online marketing thailand
Chalad Marketing
 
Augmented reality
Augmented reality Augmented reality
Augmented reality
Ferin Bell
 
การโฆษณาผ่าน Online Rich Media
การโฆษณาผ่าน Online Rich Mediaการโฆษณาผ่าน Online Rich Media
การโฆษณาผ่าน Online Rich Media
nattatira
 
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลงการตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
Kai Janghoo
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community societySirirat Yimthanom
 
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1 BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
ttfintl
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ DrDanai Thienphut
 
งานแบรนด์โลกน่ะจ๊ะที่รัก
งานแบรนด์โลกน่ะจ๊ะที่รักงานแบรนด์โลกน่ะจ๊ะที่รัก
งานแบรนด์โลกน่ะจ๊ะที่รัก
Siripong Teeyapreechaya
 
ความสามารถในการแข่งขัน ในโลกดิจิตอล ทีปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว
ความสามารถในการแข่งขัน ในโลกดิจิตอล ทีปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็วความสามารถในการแข่งขัน ในโลกดิจิตอล ทีปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว
ความสามารถในการแข่งขัน ในโลกดิจิตอล ทีปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว
KASETSART UNIVERSITY
 
Clouds, big data, and smart assets
Clouds, big data, and smart assetsClouds, big data, and smart assets
Clouds, big data, and smart assets
Banyong Jandragholica
 
MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023
pantapong
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2Kriangx Ch
 
Th Developing communication online onground
Th Developing communication online ongroundTh Developing communication online onground
Th Developing communication online onground
Massimiliano La Franca
 

Similar to ภาพลักษณ์ตราสินค้า (20)

คู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบคู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบ
 
Digital brand experience people, content and technology
Digital brand experience people, content and technologyDigital brand experience people, content and technology
Digital brand experience people, content and technology
 
ได้เวลาแสดงแล้ว It’s showtime!
 ได้เวลาแสดงแล้ว It’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้ว It’s showtime!
ได้เวลาแสดงแล้ว It’s showtime!
 
การตลาดออนไลน์ - online marketing thailand
การตลาดออนไลน์ - online marketing thailandการตลาดออนไลน์ - online marketing thailand
การตลาดออนไลน์ - online marketing thailand
 
Augmented reality
Augmented reality Augmented reality
Augmented reality
 
การโฆษณาผ่าน Online Rich Media
การโฆษณาผ่าน Online Rich Mediaการโฆษณาผ่าน Online Rich Media
การโฆษณาผ่าน Online Rich Media
 
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลงการตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community society
 
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1 BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
 
Vol01
Vol01Vol01
Vol01
 
Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5
 
Smm travel
Smm travelSmm travel
Smm travel
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
 
งานแบรนด์โลกน่ะจ๊ะที่รัก
งานแบรนด์โลกน่ะจ๊ะที่รักงานแบรนด์โลกน่ะจ๊ะที่รัก
งานแบรนด์โลกน่ะจ๊ะที่รัก
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
ความสามารถในการแข่งขัน ในโลกดิจิตอล ทีปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว
ความสามารถในการแข่งขัน ในโลกดิจิตอล ทีปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็วความสามารถในการแข่งขัน ในโลกดิจิตอล ทีปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว
ความสามารถในการแข่งขัน ในโลกดิจิตอล ทีปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว
 
Clouds, big data, and smart assets
Clouds, big data, and smart assetsClouds, big data, and smart assets
Clouds, big data, and smart assets
 
MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
 
Th Developing communication online onground
Th Developing communication online ongroundTh Developing communication online onground
Th Developing communication online onground
 

More from isamare-hesheit

สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจ
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจสร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจ
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจisamare-hesheit
 
Ejbss 12-1174-effectsofbrandingonrestaurants
Ejbss 12-1174-effectsofbrandingonrestaurantsEjbss 12-1174-effectsofbrandingonrestaurants
Ejbss 12-1174-effectsofbrandingonrestaurantsisamare-hesheit
 

More from isamare-hesheit (7)

สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจ
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจสร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจ
สร้างแบรนด์ให้เกิด บริหารแบรนด์ให้โดนใจ
 
Quality and image_jbr
Quality and image_jbrQuality and image_jbr
Quality and image_jbr
 
Personality r1
Personality r1Personality r1
Personality r1
 
Mk ceressec
Mk ceressecMk ceressec
Mk ceressec
 
Ejbss 12-1174-effectsofbrandingonrestaurants
Ejbss 12-1174-effectsofbrandingonrestaurantsEjbss 12-1174-effectsofbrandingonrestaurants
Ejbss 12-1174-effectsofbrandingonrestaurants
 
05 ch2
05 ch205 ch2
05 ch2
 
Brand management1
Brand management1Brand management1
Brand management1
 

ภาพลักษณ์ตราสินค้า

  • 1. การสร้างภาพลักษณ์ตราสินค้า (Brand Image Building) ธุ ร กิ จ ใ น ปั จ จุ บั น นี้ ต่ า ง มี ก า ร เป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป อ ย่ า ง ร ว ด เร็ ว ร ว ม ทั้ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง ผู้ บ ริ โภ ค ที่ เป ลี่ ย น แ ป ล ง ไป ซึ่ ง มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ค ว า ม ค า ด ห วั ง ต่ อ สิ น ค้ า แ ล ะ บ ริ ก า ร ที่ เป ลี่ ย น ไป อ ย่ า ง ร ว ด เร็ ว เนื่ อ ง จ า ก ผู้ บ ริ โ ภ ค มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ต่ อ สิ น ค้ า ห รื อ บ ริ ก า ร ม า ก ขึ้ น ต ล อด จนการใช้ ชีวิต ในยุค ปั จจุบันที่ผู้ บริโภค มี เวล าน้ อยล งแล ะใช้ ชีวิต อย่างเร่งรีบ จึงต้องการความสะดวกสบายมากขึ้น และต้องการสินค้าหรือบริการที่มีคุณภาพดีขึ้นและตรงใจมากขึ้น รวมทั้งมีการรับประกันคุณภาพให้สิทธิพิเศษในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสินค้าและบริการที่มีราคาถูกลง หรือการให้ส่วนลด ของแถม เป็นต้น เพราะในปัจจุบันมีผู้บริโภคจานวนไม่น้อยที่มีความไวต่อราคา ดั ง นั้ น ธุรกิจจาเป็นต้องมีการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมของกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย ก า ร มี ภ า พ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ต ร า สิ น ค้ า ห รื อ บ ริ ก า ร (brand image) ที่แ ข็ง แก ร่ง ยัง ค ง ช่ว ยเส ริม ส ร้ าง ให้ เกิ ด ค วาม ได้ เป รีย บ ในก ารแข่ ง ใน ปั จ จุบัน ได้ ถ้าภาพ ลั กษ ณ์ ของ ต ราสิ นค้ าที่แข็ง แกร่งดัง กล่ าวได้ รับการดูแล แล ะ บ ริหารอย่าง ดี จะสามารถช่วยให้ธุรกิจมีช่วงชีวิตและชื่อเสียงที่ยืนยาว อาทิ  บริษัท อินเทล ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จากัด สร้างชุมชนออนไลน์ (www.intelpcclub.com) ตอกย้าภาพลักษณ์ผู้สร้างสรรค์เทคโนโลยีสาหรับอนาคต  บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จากัด จัดโครงการ CSR “ครอบครัวพระโพธิสัตว์” ตอกย้าภาพลักษณ์แบรนด์ซื่อสัตย์  บริษัท ยูนิลี เวอร์ ไทย เทรด ดิ้ง จากัด ผู้ ผ ลิ ต แล ะจาหน่ายแชมพูซันซิล ตอกย้าภาพลักษณ์ แบรนด์ซันซิล ด้วยภาพ ลักษณ์ ผู้ เชี่ยวชาญ ด้ านเส้ นผ ม จากเดิมที่มีภาพลักษณ์เพื่อความงาม  บริษัท ไทย เบฟเวอร์เรจ จากัด (มหาชน) ที่ปรับภาพลักษณ์ใหม่ของเบียร์ช้าง ภายใต้คอนเซปต์ “ช้าง...คนไทยหัวใจเดียวกัน” ความหมายของ Brand Image Brand Image คือ ภาพลักษณ์ที่เกิดขึ้นจากการหลอมรวมกันขององค์ประกอบสาคัญ 5 ประการ ซึ่งแสดงได้ดังแผนภาพข้างล่างนี้
  • 2. แสดงองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เกิดภาพลักษณ์ตราสินค้า จากแผนภาพ แสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบภายนอกที่ทาให้เกิดภาพลักษณ์ตราสินค้า ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1.CountryofOrigin หมายถึง ประเทศที่เป็นผู้ผลิตสินค้า 2.Organization หมายถึง องค์กร 3.Product หมายถึง ลักษณะต่างๆ ของสินค้า 4.Brand Effect หมายถึง สิ่งต่างๆ เกี่ยวกับตราสินค้าที่เราสร้างสรรค์ขึ้นมาเพื่อช่วยสร้างภาพลักษณ์ให้แก่ตราสินค้า 5.Brand Personality เป็นลักษณะทางกายภาพที่เด่นชัดของสินค้า การสร้างบุคลิกภาพต้องอาศัยคาพูด รูปภาพ อารมณ์ น้าเสียง และลีลา จะต้องสอดคล้องและกลมกลืนกันเพื่อให้กลุ่มเป้ าหมายเกิดความมั่นใจและคาดหวังว่าจะได้อะไรจากสินค้ า ทุกครั้งที่วางแผนการตลาดนั้นในเรื่องของบุคลิกภาพ ว่าเป็นสินค้าที่เปรี้ยวหรือหวาน ทันสมัยหรือคลาสสิค เรียบง่ายหรือหรูหรา บุคลิกภาพเหล่านี้ต้องชัดเจน เพราะคาว่าบุคลิกหมายถึงลักษณะเฉพาะตัวที่แน่นอนถาวรจนทาให้คนอื่นที่รู้จักเรานั้น คาดคะเนหรือทานายสิ่งที่เขาจะได้รับจากผลิตภัณฑ์ สินค้าควรมีบุคลิกที่ชัดเจน Country of Origin Brand Image Brand ArtifactsBrand Personality ProductOrganization
  • 3. เพราะทาให้คนซื้อสามารถคาดคะเนว่าเมื่อซื้อสินค้ามาแล้วได้อะไร การที่สินค้ามีบุคลิกภาพที่ชัดเจน จะทาให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจในการซื้อเพราะจะคาดได้ว่าจะได้อะไรจากการซื้อสินค้า เมื่อสิ่งต่างๆเหล่านี้หลอมรวมให้เกิดภาพลักษณ์ตราสินค้าแล้ว สิ่งที่นักการตลาดที่ดีจาเป็นต้องทาเพื่อให้ภาพลักษณ์ยังคงอยู่ในใจผู้บริโภคตลอดไปก็คือการเชื่อมโยงควา มแข็งแกร่ง ความชื่นชอบ และเอกลักษณ์ที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ให้คงอยู่ แผนภาพแสดงการเชื่อมโยงความแข็งแกร่ง ความชื่นชอบ และเอกลักษณ์ที่เกี่ยวพันกับแบรนด์กับภาพลักษณ์แบรนด์ (Keller, 2003: 70-73) ภาพลักษณ์แบรนด์ (brand image) มักจะเป็นภาพลักษณ์เชิงบวกที่ถูกสร้างขึ้นโดยโปรแกรมของนักการตลาดที่พยายามเชื่อมโยงความแข็งแก ร่ง ความชื่นชอบ และความมีเอกลักษณ์ที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ให้อยู่ในความทรงจาของผู้บริโภค นอกเหนือจากแห่งของข้อมูลที่ถูกควบคุมโดยนักการตลาดเองแล้ว ความเกี่ยวพันกับแบรนด์ (brand association) อาจถูกสร้างขึ้นได้อีกหลายวิธีด้วยกัน เช่น จากประสบการณ์ตรงของผู้บริโภค จากข้อมูลของแบรนด์ที่ถูกสื่อสารจากองค์กรหรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง จากการพูดปากต่อปาก (word of mouth) และการอ้างอิงจากตัวของแบรนด์เอง เช่นชื่อสินค้าหรือโลโก้ รวมทั้งจากการกาหนดตัวตนของแบรนด์ผ่านบริษัท ประเทศ ช่องทางการจัดจาหน่าย หรือบุคคล สถานที่ และกิจกรรมบางอย่างโดยเฉพาะ ซึ่งภาพลักษณ์ของแบรนด์จะสมบูรณ์ได้ด้วยองค์ประกอบ ดังนี้ (Keller, 2003: 70-73) 1.ความแข็งแกร่งที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ (Strength of Brand Associations) การทาให้มั่นใจว่าความเกี่ยวพันถูกเชื่อมโยงอย่างพอเพียงและอย่างแข็งแกร่งกับแบรนด์ ขึ้นอยู่กับว่าโปรแกรมทางการตลาดและปัจจัยอื่นๆจะส่งผลกระทบกับประสบการณ์ของผู้บริโภคที่มีต่อแบร Brand Image Favorability UniquenessStrength
  • 4. นด์ได้อย่างไร ความแข็งแกร่งเกิดจากจานวนหรือปริมาณ รวมทั้งคุณภาพของกระบวนการการได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสารที่ได้รับ ยิ่งผู้บริโภคคิดลงลึกเกี่ยวกับข้อมูลสินค้าที่เชื่อมโยงมันกับความรู้เดิมเกี่ยวแบรนด์ที่มีอยู่มากขึ้นเท่าไร ความแข็งแกร่งที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ก็จะตามมามากยิ่งขึ้นเท่านั้น ปัจจัยสองประการที่เอื้ออานวยให้เกิดความเกี่ยวพันที่แข็งแกร่งของข้อมูลแต่ละข้อมูลก็คือ ความเกี่ยวพันส่วนตัวของข้อมูลและการถูกนาเสนอข้อมูลอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ตามที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ความเชื่อของผู้บริโภคเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณประโยชน์ของแบรนด์ อาจก่อตัวขึ้นได้หลายวิธี คุณลักษณะของแบรนด์ (brand attributes) เป็นลักษณะที่สามารถอธิบายได้ถึงบุคลิกลักษณะของสินค้าหรือบริการ ส่วนคุณประโยชน์ของแบรนด์ (brand benefit) คือคุณค่าหรือความหมายที่เป็นส่วนตัวที่ผู้บริโภคผูกติดมันเอาไว้กับคุณลักษณะของสินค้าหรือบริการ โดยทั่วไป แหล่งของข้อมูลข่าวสารที่ถูกสร้างขึ้นจากคุณลักษณะและคุณประโยชน์ของแบรนด์ที่แข็งแกร่งก็คือประสบ การณ์ตรงของผู้บริโภคนั่นเอง ข้อมูลในลักษณะนี้มักจะมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภค ตราบเท่าที่ผู้บริโภคจะยังสามารถแปลความหมายจากประสบการณ์ของพวกเขาได้อย่างแม่นยาอยู่อย่างเช่ นเคย ทั้งนี้มีข้อมูลจากการวิจัยแสดงให้เห็นว่าผู้บริโภคจะซื้อสินค้าแบรนด์ใดแบรนด์หนึ่งโดยเฉพาะนั้น มักจะมีเหตุผลหลักมาจากประสบการณ์ในอดีตของผู้บริโภค ความเกี่ยวพันที่แข็งแกร่งอีกอย่างหนึ่งก็คือการพูดปากต่อปาก (word of mouth) จากเพื่อนหรือครอบครัว หรือจากแหล่งอื่นๆที่อาจไม่เกี่ยวข้องกับองค์กรเลย เช่นสื่อหรือหนังสือพิมพ์ ก็มีส่วนเช่นกัน คาพูดปากต่อปากน่าจะมีความสาคัญมากสาหรับธุรกิจประเภทร้านอาหาร สถานบันเทิง ธนาคาร หรือบริการส่วนตัว แหล่งข้อมูลที่มีอิทธิพลกับบริษัท เช่นโฆษณา บ่อยครั้งที่ถูกสร้างขึ้นจากความเกี่ยวพันที่อ่อนแอ และด้วยเหตุนี้จึงอาจถูกเปลี่ยนแปลงได้อย่างง่ายดาย เพื่อที่จะฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆเหล่านี้ โปรแกรมการสื่อสารทางการตลาดมักจะพยายามอย่างหนักที่จะสร้างความเกี่ยวพันกับแบรนด์ที่แข็งแกร่ง ผ่านการใช้การสื่อสารที่สร้างสรรค์ ซึ่งอาจเป็นเหตุให้ผู้บริโภคค่อยๆซึมซับข้อมูลโดยละเอียด สตาร์บัคส์ (Starbucks) และอเมซอนดอทคอม (Amazon.com) ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของบริษัทที่สร้างภาพลักษณ์แบรนด์ที่แข็งแกร่งอย่างเหลือเชื่อโดยปราศจากการใช้โป รแกรมการโฆษณาราคาแพง
  • 5. 2.ความชื่นชอบที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ (Favorability of brand associations) การที่จะเลือกว่าสิ่งใดเป็นความชื่นชอบและเอกลักษณ์ที่เกี่ยวพันกับแบรนด์เพื่อที่จะสามารถเชื่อม โยงเข้ากับแบรนด์ให้ได้นั้น จาเป็นต้องอาศัยการวิเคราะห์ที่ต้องระมัดระวังเป็นอย่างมากจากผู้บริโภค และจากการแข่งขันเพื่อที่จะสามารถกาหนดตาแหน่งสูงสุดของแบรนด์ได้ โดยพี้นฐานทั่วไปแล้ว ความชื่นชอบที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ถูกสร้างขึ้นจากการทาให้ผู้บริโภคเชื่อมั่นว่ากระบวนการการสร้างแบรนด์ ที่อาศัยคุณลักษณะและคุณประโยชน์ของแบรนด์ จะสามารถทาให้ผู้บริโภคพอใจและสามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ ด้วยเหตุนี้ ความชื่นชอบที่เกี่ยวพันกับแบรนด์เป็นความเกี่ยวพันที่เป็นที่ปรารถนาของผู้บริโภค และมีอยู่ในสินค้าจริง เช่นแบรนด์อาจถูกมองว่ามีความสะดวกสบายสูง (highly convenient) น่าเชื่อถือ (reliable) มีประสิทธิภาพ (efficient) และอื่นๆ ในส่วนของความปรารถนาของผู้บริโภค ความเกี่ยวพันด้านภาพลักษณ์มีความสาคัญอย่างไรต่อทัศนคติเกี่ยวกับแบรนด์ และต่อการตัดสินใจของผู้บริโภค ความปรารถนาขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 ประการคือ 1) ผู้บริโภคพบว่าความเกี่ยวพันกับแบรนด์สัมพันธ์กับตนเองอย่างไร 2) ผู้บริโภคพบว่าความเกี่ยวพันกับแบรนด์แตกต่างโดดเด่นอย่างไร และ 3)ผู้บริโภคพบว่าความเกี่ยวพันกับแบรนด์เชื่อถือได้อย่างไร 3.เอกลักษณ์ที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ (Uniqueness of brand associations) ความเกี่ยวพันกับแบรนด์อาจจะหรืออาจจะไม่ได้เป็นสิ่งที่แบ่งปันกับกับแบรนด์คู่แข่งอื่นๆ หัวใจสาคัญของการกาหนดตาแหน่งแบรนด์ก็คือ แบรนด์มักจะมีข้อได้เปรียบจากการแข่งขันที่เหนือกว่า หรือ ‘มีข้อเสนอการขายสินค้าที่เป็นเอกลักษณ์’ (unique selling proposition) ซึ่งเป็นเหตุผลว่าทาไมผู้บริโภคถึงต้องซื้อสินค้านั้น ความแตกต่างเหล่านี้อาจจะถูกสื่อสารโดยการสร้างความแตกต่างโดยตรงกับคู่แข่ง ยิ่งไปกว่านั้น มันอาจมีพื้นฐานอยู่บนคุณลักษณะหรือคุณประโยชน์ที่เกี่ยวพันหรือไม่เกี่ยวพันกับสินค้าก็ได้ ในความเป็นจริงแล้ว คุณลักษณะที่ไม่เกี่ยวพันกับสินค้า เช่นรูปแบบของผู้ใช้หรือลักษณะในการใช้ อาจจะสร้างความเกี่ยวพันที่เป็นเอกลักษณ์ได้อย่างง่ายดาย เช่น ภาพลักษณ์ที่สมบุกสมบันแบบตะวันตกของแบรนด์บุหรี่มาร์ลโบโล หรือภาพลักษณ์แบบไม่ตามแบบใครของแบรนด์บุหรี่เวอร์จิเนียสลิม ความแข็งแกร่งและความชื่นชอบที่เกี่ยวพันกับแบรนด์ก็คือ การสร้างเอกลักษณ์ที่ทาให้แบรนด์แตกต่างจากแบรนด์อื่น
  • 6. เป็นสิ่งที่สาคัญอย่างยิ่งของความสาเร็จในการสร้างแบรนด์ แต่ถ้าหากว่าแบรนด์นั้นมีคู่แข่ง ก็หมายความว่า แบรนด์นั้นได้มีการแบ่งปันความเกี่ยวพันบางอย่างเกี่ยวกับแบรนด์ของตนให้กับแบรนด์อื่นไปบ้างแล้ว ความเกี่ยวพันของแบรนด์ที่ถูกแบ่งปันไปนี้ สามารถช่วยในการสร้างสมาชิกและกาหนดขอบเขตของการแข่งขันกับสินค้าและการให้บริการอื่นๆ ในกลุ่มผู้บริโภค ถึงแม้ว่าบางครั้งแบรนด์อาจจะไม่ได้มีการแข่งขันกับสินค้าประเภทเดียวกัน แต่ว่าอาจมีการแข่งขันกับสินค้าที่อาจมีความสัมพันธ์กับแบรนด์สินค้าขององค์กรอยู่บ้าง เช่นแบรนด์รถไฟ ซึ่งอาจไม่ได้มีบริษัทคู่แข่งที่ต้องทาการแข่งขัน เนื่องจากมีบริษัทที่ทาการอยู่บริษัทเดียว แต่ว่ารถไฟเองก็ยังต้องทาการแข่งขันกับบริษัทขนส่งประเภทอื่นๆ เช่น สายการบิน รถยนต์ หรือรถประจาทาง เป็นต้น สินค้าประเภทการศึกษาก็เช่นเดียวกัน ที่อาจผลิตออกมาในรูปแบบของแผ่นซีดี (CD Rom) ก็ยังจาเป็นต้องแข่งขันกับหนังสือ วีดีโอ โทรทัศน์ หรือนิตยสาร ด้วยเหตุผลนี้เอง หลักของการสร้างแบรนด์ในลักษณะนี้ ก็ได้ถูกใช้เพื่อที่จะทาการตลาดให้กับสินค้าหลากหลายประเภทจานวนมาก เช่น ธนาคาร เฟอร์นิเจอร์ พรม หรือ โบว์ลิ่ง เป็นต้น