SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
สรุปสูตรวิชาฟิสิกส์ 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 
4.1 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 
4.1.1 สูตรการหา การกระจัดแนวดิ่ง กรณีจุดเริ่ม 
ต้นและจุดสุดท้ายไม่อยู่ในแนวเดียวกัน 
Sy = Uyt + ½ gt2 
Ex. ชายคนหนึ่ง ขว้างก้อนหินลงมาจากตึก โดยก้อน 
หินเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ว 20.0 m/s และตกถึงพื้น 
เมื่อเวลาผ่านไป 5.0 s จงหาระยะทางระหว่างตึกจนถึง 
ก้อนหิน 
วิธีทำา จากสูตร Sy = Uyt + ½ gt2 
= (0) (5) + ½ (10) (5)2 
= 125 m 
 ระยะทางมีค่าเท่ากับ 125 เมตร 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
4.1.2 สูตรการหาการกระจัดแนวระดับ กรณีจุดเริ่ม 
ต้นและจุดสุดท้ายไม่อยู่แนวเดียวกัน 
Sx = Uxt 
Ex. ชายคนหนึ่ง ขว้างก้อนหินลงมาจากตึก โดยก้อน 
หินเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ว 20.0 m/s และตกถึงพื้น 
เมื่อเวลาผ่านไป 5.0 s จงหาความสูงของตึก 
วิธีทำา จากสูตร Sx = Uxt 
= (20) (5) 
= 100 m 
 ตึกหลังนี้มีความสูง 100 เมตร 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-
4.1.3 สูตรการหาเวลา กรณีจุดเริ่มต้นและจุด 
สุดท้ายอยู่ในแนวเดียวกัน 
t = 2Usin θ 
g 
Ex. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนพื้น ขว้างลูกบอลออกไปทำา 
มุม 30 องศา กับแนวระดับ ด้วยความเร็ว 10.0 m/s จง 
หาว่า กว่าที่ลูกบอลจะตกลงมาถึงพื้น จะต้องใช้เวลาเท่า 
ไหร่ 
วิธีทำา จากสูตร t = 2Usin θ 
g 
= 2 (10) sin30 
10 
= 2 (sin30) 
= 1 s 
 ลุกบอลจะตกถึงพื้นเมื่อเวลาผ่านไป 1 วินาที 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
4.1.4 สูตรการหาความสูง กรณีจุดเริ่มต้นและจุด 
สุดท้ายอยู่ในแนวเดียวกัน 
h = U 2 sin 2 θ 
2g 
Ex. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนพื้น ขว้างลูกบอลออกไปทำา 
มุม 30 องศา กับแนวระดับ ด้วยความเร็ว 10.0 m/s จง 
หาว่า ลูกบอลจะลอยขึ้นไปได้สูงสุดเป็นความสูงเท่าใด 
วิธีทำา จากสูตร h = U 2 sin 2 θ 
2g 
= (10) 2 (sin30) 2 
(2) (10) 
= (100) ( ¼ ) 
20 
= 1.25 m 
 ลูกบอลสามารถลอยขึ้นไปได้สูงสุด 1.25 เมตร 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-
4.1.5 สูตรการหาการกระจัด กรณีจุดเริ่มต้นและจุด 
สุดท้ายอยู่ในแนวเดียวกัน 
Sx = U 2 sin2 θ 
g 
Ex. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนพื้น ขว้างลูกบอลออกไปทำา 
มุม 30 องศา กับแนวระดับ ด้วยความเร็ว 10.0 m/s จง 
หาว่า ลูกบอลจะไปได้ไกลสุดเท่าไหร่ 
วิธีทำา จากสูตร Sx = U 2 sin2 θ 
g 
= (10) 2 (sin(2)30) 
(10) 
= (100) ( sin60 ) 
20 
= 1.8 m 
 ลูกบอลมีระยะการกระจัดสูงสุดเท่ากับ 1.8 เมตร 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
4.2 การเคลื่อนที่แบบวงกลม
4.2.1 สูตรการหาอัตราเร็ว 
v = 2 π r v = 2πrf v = ωr 
T 
Ex. ลูกตุ้มที่ผูกติดกับเชือกเบาที่มีความยาว 7 m 
หมุนครบหนึ่งรอบโดยใช้เวลา 0.44 s จะมีความเร็ว 
เท่าใด 
วิธีทำา จากสูตร v = 2 π r 
T 
= 2 (22) (7) ( 1 ) 
7 0.44 
= 100 m/s 
 ลูกตุ้มมีความเร็วเท่ากับ 100 เมตรต่อวินาที 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
Ex. ลูกตุ้มที่ผูกติดกับเชือกเบาที่มีความยาว 7 m 
หมุนเป็นวงกลมด้วยความถี่ 10 Hz จะมีความเร็วเท่าใด 
วิธีทำา จากสูตร v = 2πrf 
= 2 (22) (7) (10) 
7 
= 440 m/s 
 ลูกตุ้มมีความเร็วเท่ากับ 440 เมตรต่อวินาที 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
Ex. ลูกตุ้มที่ผูกติดกับเชือกเบาที่มีความยาว 10 m 
อัตราเร็วเชิงมุมของการหมุนมีค่าเท่ากับ 20 rad/s จงหา 
ว่าลุกตุ้มจะมีความเร็วเท่าใด 
วิธีทำา จากสูตร v = ωr 
= 10 (20) 
= 200 m/s 
 ลูกตุ้มมีความเร็วเท่ากับ 200 เมตรต่อวินาที 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
4.2.2 สูตรการหาอัตราเร็วเชิงมุม 
ω = 2 π ω = 2πf 
T
Ex. ลูกตุ้มที่ผูกติดกับเชือกเบา หมุนครบหนึ่งรอบโดย 
ใช้เวลา 0.44 s จะมีอันตราเร็วเชิงมุมเท่าใด 
วิธีทำา จากสูตร ω = 2 π 
T 
= 2 (22) ( 1 ) 
7 0.44 
= 100 
7 
= 14.3 rad/s 
 ลูกตุ้มมีอัตราเร็วเชิงมุมเท่ากับ 14.3 เรเดียนต่อวินาที 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
Ex. ลูกตุ้มที่ผูกติดกับเชือกเบา หมุนเป็นวงกลมด้วย 
ความถี่ 7 Hz จะมีอัตราเร็วเชิงมุมเท่าใด 
วิธีทำา จากสูตร ω = 2πf 
= 2 (22) (7) 
7 
= 44 rad/s 
 ลูกตุ้มมีอัตราเร็วเชิงมุมเท่ากับ 44 เรเดียนต่อวินาที 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
4.2.2 สูตรการหาความเร่งของวัตถุในการเคลื่อนที่ 
แบบวงกลม 
ac = v2 
r 
Ex. ลูกตุ้มที่ผูกติดกับเชือกเบาที่มีความยาว 10 m 
หมุนด้วยความเร็วเท่ากับ 50 m/s อยากทราบว่า ลูกตุ้ม 
จะมีอัตราเร่งเท่าไร
วิธีทำา จากสูตร ac = v2 
r 
= (50) 2 
10 
= 2500 
10 
= 250 m/s2 
 ลูกตุ้มมีอัตราเร่งเท่ากับ 250 เมตรต่อวินาที2 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
4.2.2 สูตรการหาแรงเข้าสู่ศูนย์กลางในการ 
เคลื่อนที่แบบวงกลม 
Fc = mv2 
r 
Ex. ลูกตุ้มมวล 2 kg ที่ผูกติดกับเชือกเบาที่มี 
ความยาว 10 m หมุนด้วยความเร็วเท่ากับ 50 m/s 
อยากทราบว่า ลูกตุ้มจะมีอัตราเร่งเท่าไร 
วิธีทำา จากสูตร Fc = mv2 
r 
= 2 (50) 2 
10 
= 5000 
10 
= 500 N 
 ลูกตุ้มมีแรงเข้าสู่ศูนย์กลางเท่ากับ 500 นิวตัน 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
4.3 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย 
4.3.1 สูตรการหาเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ครบ 1 
รอบ ในการเคลื่อนที่แบบ SHM (คาบ) 
T = 1 
f
Ex. รถลากที่ผูกติดกับสปริง และปลายอีกด้านหนึ่งติด 
กับผนัง มีการเคลื่อนที่แบบ SHM โดยมีความถี่เท่ากับ 
10.0 Hz จงหาคาบของการเคลื่อนที่ 
วิธีทำา จากสูตร T = 1 
f 
= 1 
10 
= 0.1 s 
 รถลากมีคาบของการเคลื่อนที่เท่ากับ 0.1 วินาที 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
4.3.2 สูตรการหาค่านิจสปริง ในการเคลื่อนที่แบบ 
SHM 
k = F 
x 
Ex. รถลากที่ผูกติดกับสปริง และปลายอีกด้านหนึ่งติด 
กับผนัง มีแรงกระทำาต่อรถลากด้วยแรง 10.0 N ทำาให้ 
สปริงหดลงไป 0.2 m จงหาค่านิจสปริง 
วิธีทำา จากสูตร k = F 
x 
= 10 
0.2 
= 50 N/m 
 สปริงมีค่านิจสปริงเท่ากับ 50 นิวตันต่อเมตร 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
4.3.3 สูตรการหาค่าความเร่ง ในการเคลื่อนที่แบบ 
SHM 
a = -kx 
m
Ex. รถลากที่ผูกติดกับสปริงมีมวล 20 kg และปลาย 
อีกด้านหนึ่งติดกับผนัง โดยสปริงมีค่านิจสปริงเท่ากับ 200 
N/m หลังจากที่มีแรงมากระทำา ทำาให้สปริงหดลงไป 0.5 
m จงหาค่าความเร่งของรถลาก 
วิธีทำา จากสูตร a = -kx 
m 
= - (200) (0.5) 
20 
= -5 m/s2 
 รถลากเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเท่ากับ 5 เมตรต่อวินาที2 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
4.3.4 สูตรการหาค่าคาบ ในการเคลื่อนที่แบบ SHM 
กรณีวัตถุผูกติดกับสปริง 
T = 2π m 
k 
Ex. วัตถุมวล 1 kg ผูกติดกับสปริง ที่มีค่านิจสปริง 
100 N/m เคลื่อนที่แบบซิมเปิล-ฮาร์มอนิก จงหาคาบของ 
การเคลื่อนที่ 
วิธีทำา จากสูตร T = 2π m 
k 
= 2 (22) 1 . 
7 100 
= 44 (0.1) 
7 
= 0.68 s 
 วัตถุมีคาบของการเคลื่อนที่เท่ากับ 0.68 วินาที 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
4.3.5 สูตรการหาค่าความถี่ ในการเคลื่อนที่แบบ 
SHM กรณีวัตถุผูกติดกับสปริง 
f = 1 k 
2π m
Ex. วัตถุมวล 1 kg ผูกติดกับสปริง ที่มีค่านิจสปริง 
100 N/m เคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์-มอนิก จงหาความถี่ 
ของการเคลื่อนที่ 
วิธีทำา จากสูตร f = 1 k 
2π m 
= 7 100. 
2 (22) 
= 7 (10) 
44 
= 1.6 Hz 
 วัตถุมีคาบของการเคลื่อนที่เท่ากับ 0.68 เฮิรตซ์ 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
4.3.6 สูตรการหาค่าความถี่เชิงมุม ในการเคลื่อนที่ 
แบบ SHM กรณีวัตถุผูกติดกับสปริง 
ω = k 
m 
Ex. วัตถุมวล 1 kg ผูกติดกับสปริง ที่มีค่านิจสปริง 
100 N/m เคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์-มอนิก จงหาความถี่ 
เชิงมุมของการเคลื่อนที่ 
วิธีทำา จากสูตร ω = k 
m 
= 100 . 
1 
= 100 
= 10 rad/s 
 วัตถุมีค่าความถี่เชิงมุมของการเคลื่อนที่เท่ากับ 10 
เรเดียนต่อวินาที 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
บทที่ 5 งานและพลังงาน 
5.1 สูตรการหางาน 
W = Fs
Ex. วัตถุก้อนหนึ่งวางอยู่บนพื้นเรียบ มีแรงกระทำาต่อ 
วัตถุ 50 N ทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ 20 m จงหาว่าจะมี 
งานเกิดขึ้นเท่าไร 
วิธีทำา จากสูตร W = Fs 
= (50) (20). 
= 400 J 
 จะมีงานเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ 400 จูล 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
5.2 สูตรการหากำาลัง 
P = W 
t 
Ex. วัตถุก้อนหนึ่งวางอยู่บนพื้นเรียบ มีแรงกระทำาต่อ 
วัตถุ ทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ จนเกิดงาน 400 J หากแรง 
กระทำาต่อวัตถุเป็นเวลา 4 s จงหาว่าจะเกิดกำาลังขึ้นเท่าใด 
วิธีทำา จากสูตร P = W 
t 
= 400 
4 
= 100 W 
 จะมีกำาลังเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ 100 วัตต์ 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
5.3 พลังงาน 
5.3.1 สูตรการหาพลังงานจลน์ 
Ek = 1 mv2 
2
Ex. วัตถุหนัก 20 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 10 
m/s จะเกิดพลังงานจลน์เท่าใด 
วิธีทำา จากสูตร Ek = 1 mv2 
2 
= 20 (10) 2 
2 
= 1,000 J 
 พลังงานจลน์ที่เกิดจากการเคลื่อนที่มีค่าเท่ากับ 1,000 
จูล 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
5.3.2 สูตรการหาพลังงานศักดิ์ยืดหยุ่น 
Ep = 1 kx2 
2 
Ex. ออกแรงดึงสปริงที่มีค่านิจสปริงเท่ากับ 100 
N/m ซึ่งติดกับฝาผนัง จนกระทั้งสปริงยืดออกมาจากจุด 
สมดุล 1.0 m จงหาพลังงานศักดิ์ยืดหยุ่นที่เกิดขึ้น 
วิธีทำา จากสูตร Ep = 1 kx2 
2 
= 100 (1) 2 
2 
= 50 J 
 พลังงานศักดิ์ยืดหยุ่นที่เกิดจากการเคลื่อนที่มีค่าเท่ากับ 
50 จูล 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
5.3.3 สูตรการหาพลังงานศักดิ์โน้มถ่วง 
Ep = mgh
Ex. วัตถุมวล 20 kg วางอยู่บนพื้น ถ้ายกกล่องนี้ไป 
วางไว้บนระเบียง ที่มีความสูงจากพื้น 3 m จงหาว่าจะเกิด 
พลังงานศักดิ์โน้มถ่วงขึ้นเท่าไร 
วิธีทำา จากสูตร Ep = mgh 
= (20) (10) (3) 
= 600 J 
 พลังงานศักดิ์โน้มถ่วงที่เกิดจากการเคลื่อนที่มีค่า 
เท่ากับ 600 จูล 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
5.5 สูตรการหาประสิทธิภาพของเครื่องกล 
F = W1 (100) 
W2 
Ex. เครื่องกลรับพลังงานเข้าไป 1,000 J หลังจาก 
นั้น เครื่องกลก็ได้สร้างพลังงานออกมา 750 J จงหา 
ประสิทธิภาพของเครื่องกล 
วิธีทำา จากสูตร F = W1 (100) 
W2 
= 750 (100 ) 
1000 
= 75% 
 ประสิทธิภาพของเครื่องกลมีค่าเท่ากับ 75 เปอร์เซ็น 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการดล 
6.1 สูตรการหาค่าการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม 
F = mv – mu 
Δt
Ex. ใช้ค้อนมวล 5.0 kg ตอกกับตะปู ในขณะที่ค้อน 
กระทบกับตะปู ค้อนมีความเร็วเท่ากับ 10.0 m/s และตะปู 
ก็ส่งแรงสะท้อนเท่าเดิมกลับออกมา หากช่วงเวลาที่ค้อนกับ 
หัวตะปูกระทบกันมีค่าเท่ากับ 0.1 s จงหาแรงของการ 
เปลี่ยนแปลงโมเมนตัมที่ค้อนกระทำาต่อตะปู 
วิธีทำา จากสูตร F = mv - mu 
Δt 
= [5 (10)] - [5 (-10)] 
0.1 
= (50) - (-50) 
0.1 
= 10 N 
 แรงของการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมมีค่าเท่ากับ 10 นิว 
ตัน 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
6.2. สูตรหาค่าการดล 
FΔt = mv - mu 
Ex. ใช้ค้อนมวล 5.0 kg ตอกกับตะปู ในขณะที่ค้อน 
กระทบกับตะปู ค้อนมีความเร็วเท่ากับ 10.0 m/s และตะปู 
ก็ส่งแรงสะท้อนเท่าเดิมกลับออกมา จงหาแรงดลที่ค้อน 
กระทำาต่อตะปู 
วิธีทำา จากสูตร FΔt = mv - mu 
= [5 (10)] - [5 (-10)] 
= (50) - (-50) 
= 100 Ns 
 แรงดลมีค่าเท่ากับ 100 นิวตันวินาที 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
6.3 สูตรการหาค่าตัวแปร ในกรณีที่วัตถุชนกัน 
โดยไม่มีแรงเสียดทานเข้ามาเกี่ยวข้อง 
m1u1 - m2u2 = m1v1 – m2v2 
Ex. ลูกแก้ว A มวล 10 kg กลิ้งด้วยความเร็ว 10 
m/s เข้าชนกับลูกแก้ว B มวล 5 kg ซึ่งกำาลังลังกลิ้งไปใน
ทิศทางเดียวกัน ด้วยความเร็ว 5 m/s หลังชน ลูกแก้ว A 
เหลือความเร็วเพียง 2 m/s อยากทราบว่า ลูกแก้ว B จะมี 
ความเร็วเท่าใด 
วิธีทำา จากสูตร m1u1 - m2u2 = m1v1 - m2v2 
(10) (10) - (5) (5) = (10) (2) - 5v 
100-25 = 20-5v 
75-20 = -5v 
5v = 55 
v = 11 m/s 
 ความเร็วของลูกแก้ว B มีค่าเท่ากับ 11 เมตรต่อวินาที 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
6.4 สูตรการหาค่าตัวแปรความเร็ว กรณีวัตถุชนกัน 
โดยไม่มีแรงเสียดทานเกี่ยวข้อง และมวลทั้งสองมี 
มวลเท่ากัน 
u1+ v1 = u2+ v2 
Ex. ลูกแก้ว A กลิ้งด้วยความเร็ว 10 m/s เข้าชนกับ 
ลูกแก้ว B ที่มีมวลเท่ากัน ซึ่งกำาลังลังกลิ้งไปในทิศทาง 
เดียวกัน ด้วยความเร็ว 5 m/s หลังชน ลูกแก้ว A เหลือ 
ความเร็วเพียง 2 m/s อยากทราบว่า ลูกแก้ว B จะมี 
ความเร็วเท่าใด 
วิธีทำา จากสูตร u1+ v1 = u2+ v2 
10 + 2 = 5+ v2 
v2 = 12-5 
= 7 m/s 
 ความเร็วของลูกแก้ว B มีค่าเท่ากับ 7 เมตรต่อวินาที 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 
6.5 สูตรการหา v2 ในกรณี ที่วัตถุชนกัน ไม่มีแรง 
เสียดทาน และ u2 = 0 
v2 = 2 m 1u1 
m1+ m2
Ex. ลูกแก้ว A มวล 10 kg กลิ้งด้วยความเร็ว 15 
m/s เข้าชนกับลูกแก้ว B ที่มีมวล 5 kg ซึ่งอยู่นิ่ง หลังชน 
ลูกแก้ว B จะมีความเร็วเท่าใด 
วิธีทำา จากสูตร v2 = 2 m 1u1 
m1+ m2 
= 2 (15) (10) 
15+5 
= 300 
20 
= 60 m/s 
 ความเร็วของลูกแก้ว B มีค่าเท่ากับ 60 เมตรต่อวินาที 
-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ใบความรู้jirupi
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานApinya Phuadsing
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมDr.Woravith Chansuvarn
 
สื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulse
สื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulseสื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulse
สื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulseNalai Rinrith
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6Mu PPu
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนChakkrawut Mueangkhon
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายSunanthaIamprasert
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ใบความรู้
 
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงาน
 
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
การเคลื่อนที่แบบวงกลมการเคลื่อนที่แบบวงกลม
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
 
Ex2
Ex2Ex2
Ex2
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
สมดุลกล1
สมดุลกล1สมดุลกล1
สมดุลกล1
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียม
 
สื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulse
สื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulseสื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulse
สื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulse
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 

Similar to สรุปสูตรแรง

1203261010453239 12032711110726
1203261010453239 120327111107261203261010453239 12032711110726
1203261010453239 12032711110726pumarin20012
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่Tutor Ferry
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วLai Pong
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนpumarin20012
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133ckamonwan66_
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานthanakit553
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 

Similar to สรุปสูตรแรง (13)

1203261010453239 12032711110726
1203261010453239 120327111107261203261010453239 12032711110726
1203261010453239 12032711110726
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
Ch9 wave exercises
Ch9 wave exercisesCh9 wave exercises
Ch9 wave exercises
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54
 
โหลดPdf
โหลดPdfโหลดPdf
โหลดPdf
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
 
P05
P05P05
P05
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 

สรุปสูตรแรง

  • 1. สรุปสูตรวิชาฟิสิกส์ บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 4.1 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 4.1.1 สูตรการหา การกระจัดแนวดิ่ง กรณีจุดเริ่ม ต้นและจุดสุดท้ายไม่อยู่ในแนวเดียวกัน Sy = Uyt + ½ gt2 Ex. ชายคนหนึ่ง ขว้างก้อนหินลงมาจากตึก โดยก้อน หินเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ว 20.0 m/s และตกถึงพื้น เมื่อเวลาผ่านไป 5.0 s จงหาระยะทางระหว่างตึกจนถึง ก้อนหิน วิธีทำา จากสูตร Sy = Uyt + ½ gt2 = (0) (5) + ½ (10) (5)2 = 125 m  ระยะทางมีค่าเท่ากับ 125 เมตร -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 4.1.2 สูตรการหาการกระจัดแนวระดับ กรณีจุดเริ่ม ต้นและจุดสุดท้ายไม่อยู่แนวเดียวกัน Sx = Uxt Ex. ชายคนหนึ่ง ขว้างก้อนหินลงมาจากตึก โดยก้อน หินเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ว 20.0 m/s และตกถึงพื้น เมื่อเวลาผ่านไป 5.0 s จงหาความสูงของตึก วิธีทำา จากสูตร Sx = Uxt = (20) (5) = 100 m  ตึกหลังนี้มีความสูง 100 เมตร -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-
  • 2. 4.1.3 สูตรการหาเวลา กรณีจุดเริ่มต้นและจุด สุดท้ายอยู่ในแนวเดียวกัน t = 2Usin θ g Ex. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนพื้น ขว้างลูกบอลออกไปทำา มุม 30 องศา กับแนวระดับ ด้วยความเร็ว 10.0 m/s จง หาว่า กว่าที่ลูกบอลจะตกลงมาถึงพื้น จะต้องใช้เวลาเท่า ไหร่ วิธีทำา จากสูตร t = 2Usin θ g = 2 (10) sin30 10 = 2 (sin30) = 1 s  ลุกบอลจะตกถึงพื้นเมื่อเวลาผ่านไป 1 วินาที -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 4.1.4 สูตรการหาความสูง กรณีจุดเริ่มต้นและจุด สุดท้ายอยู่ในแนวเดียวกัน h = U 2 sin 2 θ 2g Ex. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนพื้น ขว้างลูกบอลออกไปทำา มุม 30 องศา กับแนวระดับ ด้วยความเร็ว 10.0 m/s จง หาว่า ลูกบอลจะลอยขึ้นไปได้สูงสุดเป็นความสูงเท่าใด วิธีทำา จากสูตร h = U 2 sin 2 θ 2g = (10) 2 (sin30) 2 (2) (10) = (100) ( ¼ ) 20 = 1.25 m  ลูกบอลสามารถลอยขึ้นไปได้สูงสุด 1.25 เมตร -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-
  • 3. 4.1.5 สูตรการหาการกระจัด กรณีจุดเริ่มต้นและจุด สุดท้ายอยู่ในแนวเดียวกัน Sx = U 2 sin2 θ g Ex. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนพื้น ขว้างลูกบอลออกไปทำา มุม 30 องศา กับแนวระดับ ด้วยความเร็ว 10.0 m/s จง หาว่า ลูกบอลจะไปได้ไกลสุดเท่าไหร่ วิธีทำา จากสูตร Sx = U 2 sin2 θ g = (10) 2 (sin(2)30) (10) = (100) ( sin60 ) 20 = 1.8 m  ลูกบอลมีระยะการกระจัดสูงสุดเท่ากับ 1.8 เมตร -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 4.2 การเคลื่อนที่แบบวงกลม
  • 4. 4.2.1 สูตรการหาอัตราเร็ว v = 2 π r v = 2πrf v = ωr T Ex. ลูกตุ้มที่ผูกติดกับเชือกเบาที่มีความยาว 7 m หมุนครบหนึ่งรอบโดยใช้เวลา 0.44 s จะมีความเร็ว เท่าใด วิธีทำา จากสูตร v = 2 π r T = 2 (22) (7) ( 1 ) 7 0.44 = 100 m/s  ลูกตุ้มมีความเร็วเท่ากับ 100 เมตรต่อวินาที -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- Ex. ลูกตุ้มที่ผูกติดกับเชือกเบาที่มีความยาว 7 m หมุนเป็นวงกลมด้วยความถี่ 10 Hz จะมีความเร็วเท่าใด วิธีทำา จากสูตร v = 2πrf = 2 (22) (7) (10) 7 = 440 m/s  ลูกตุ้มมีความเร็วเท่ากับ 440 เมตรต่อวินาที -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- Ex. ลูกตุ้มที่ผูกติดกับเชือกเบาที่มีความยาว 10 m อัตราเร็วเชิงมุมของการหมุนมีค่าเท่ากับ 20 rad/s จงหา ว่าลุกตุ้มจะมีความเร็วเท่าใด วิธีทำา จากสูตร v = ωr = 10 (20) = 200 m/s  ลูกตุ้มมีความเร็วเท่ากับ 200 เมตรต่อวินาที -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 4.2.2 สูตรการหาอัตราเร็วเชิงมุม ω = 2 π ω = 2πf T
  • 5. Ex. ลูกตุ้มที่ผูกติดกับเชือกเบา หมุนครบหนึ่งรอบโดย ใช้เวลา 0.44 s จะมีอันตราเร็วเชิงมุมเท่าใด วิธีทำา จากสูตร ω = 2 π T = 2 (22) ( 1 ) 7 0.44 = 100 7 = 14.3 rad/s  ลูกตุ้มมีอัตราเร็วเชิงมุมเท่ากับ 14.3 เรเดียนต่อวินาที -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- Ex. ลูกตุ้มที่ผูกติดกับเชือกเบา หมุนเป็นวงกลมด้วย ความถี่ 7 Hz จะมีอัตราเร็วเชิงมุมเท่าใด วิธีทำา จากสูตร ω = 2πf = 2 (22) (7) 7 = 44 rad/s  ลูกตุ้มมีอัตราเร็วเชิงมุมเท่ากับ 44 เรเดียนต่อวินาที -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 4.2.2 สูตรการหาความเร่งของวัตถุในการเคลื่อนที่ แบบวงกลม ac = v2 r Ex. ลูกตุ้มที่ผูกติดกับเชือกเบาที่มีความยาว 10 m หมุนด้วยความเร็วเท่ากับ 50 m/s อยากทราบว่า ลูกตุ้ม จะมีอัตราเร่งเท่าไร
  • 6. วิธีทำา จากสูตร ac = v2 r = (50) 2 10 = 2500 10 = 250 m/s2  ลูกตุ้มมีอัตราเร่งเท่ากับ 250 เมตรต่อวินาที2 -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 4.2.2 สูตรการหาแรงเข้าสู่ศูนย์กลางในการ เคลื่อนที่แบบวงกลม Fc = mv2 r Ex. ลูกตุ้มมวล 2 kg ที่ผูกติดกับเชือกเบาที่มี ความยาว 10 m หมุนด้วยความเร็วเท่ากับ 50 m/s อยากทราบว่า ลูกตุ้มจะมีอัตราเร่งเท่าไร วิธีทำา จากสูตร Fc = mv2 r = 2 (50) 2 10 = 5000 10 = 500 N  ลูกตุ้มมีแรงเข้าสู่ศูนย์กลางเท่ากับ 500 นิวตัน -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 4.3 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย 4.3.1 สูตรการหาเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ ในการเคลื่อนที่แบบ SHM (คาบ) T = 1 f
  • 7. Ex. รถลากที่ผูกติดกับสปริง และปลายอีกด้านหนึ่งติด กับผนัง มีการเคลื่อนที่แบบ SHM โดยมีความถี่เท่ากับ 10.0 Hz จงหาคาบของการเคลื่อนที่ วิธีทำา จากสูตร T = 1 f = 1 10 = 0.1 s  รถลากมีคาบของการเคลื่อนที่เท่ากับ 0.1 วินาที -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 4.3.2 สูตรการหาค่านิจสปริง ในการเคลื่อนที่แบบ SHM k = F x Ex. รถลากที่ผูกติดกับสปริง และปลายอีกด้านหนึ่งติด กับผนัง มีแรงกระทำาต่อรถลากด้วยแรง 10.0 N ทำาให้ สปริงหดลงไป 0.2 m จงหาค่านิจสปริง วิธีทำา จากสูตร k = F x = 10 0.2 = 50 N/m  สปริงมีค่านิจสปริงเท่ากับ 50 นิวตันต่อเมตร -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 4.3.3 สูตรการหาค่าความเร่ง ในการเคลื่อนที่แบบ SHM a = -kx m
  • 8. Ex. รถลากที่ผูกติดกับสปริงมีมวล 20 kg และปลาย อีกด้านหนึ่งติดกับผนัง โดยสปริงมีค่านิจสปริงเท่ากับ 200 N/m หลังจากที่มีแรงมากระทำา ทำาให้สปริงหดลงไป 0.5 m จงหาค่าความเร่งของรถลาก วิธีทำา จากสูตร a = -kx m = - (200) (0.5) 20 = -5 m/s2  รถลากเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเท่ากับ 5 เมตรต่อวินาที2 -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 4.3.4 สูตรการหาค่าคาบ ในการเคลื่อนที่แบบ SHM กรณีวัตถุผูกติดกับสปริง T = 2π m k Ex. วัตถุมวล 1 kg ผูกติดกับสปริง ที่มีค่านิจสปริง 100 N/m เคลื่อนที่แบบซิมเปิล-ฮาร์มอนิก จงหาคาบของ การเคลื่อนที่ วิธีทำา จากสูตร T = 2π m k = 2 (22) 1 . 7 100 = 44 (0.1) 7 = 0.68 s  วัตถุมีคาบของการเคลื่อนที่เท่ากับ 0.68 วินาที -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 4.3.5 สูตรการหาค่าความถี่ ในการเคลื่อนที่แบบ SHM กรณีวัตถุผูกติดกับสปริง f = 1 k 2π m
  • 9. Ex. วัตถุมวล 1 kg ผูกติดกับสปริง ที่มีค่านิจสปริง 100 N/m เคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์-มอนิก จงหาความถี่ ของการเคลื่อนที่ วิธีทำา จากสูตร f = 1 k 2π m = 7 100. 2 (22) = 7 (10) 44 = 1.6 Hz  วัตถุมีคาบของการเคลื่อนที่เท่ากับ 0.68 เฮิรตซ์ -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 4.3.6 สูตรการหาค่าความถี่เชิงมุม ในการเคลื่อนที่ แบบ SHM กรณีวัตถุผูกติดกับสปริง ω = k m Ex. วัตถุมวล 1 kg ผูกติดกับสปริง ที่มีค่านิจสปริง 100 N/m เคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์-มอนิก จงหาความถี่ เชิงมุมของการเคลื่อนที่ วิธีทำา จากสูตร ω = k m = 100 . 1 = 100 = 10 rad/s  วัตถุมีค่าความถี่เชิงมุมของการเคลื่อนที่เท่ากับ 10 เรเดียนต่อวินาที -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- บทที่ 5 งานและพลังงาน 5.1 สูตรการหางาน W = Fs
  • 10. Ex. วัตถุก้อนหนึ่งวางอยู่บนพื้นเรียบ มีแรงกระทำาต่อ วัตถุ 50 N ทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ 20 m จงหาว่าจะมี งานเกิดขึ้นเท่าไร วิธีทำา จากสูตร W = Fs = (50) (20). = 400 J  จะมีงานเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ 400 จูล -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 5.2 สูตรการหากำาลัง P = W t Ex. วัตถุก้อนหนึ่งวางอยู่บนพื้นเรียบ มีแรงกระทำาต่อ วัตถุ ทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ จนเกิดงาน 400 J หากแรง กระทำาต่อวัตถุเป็นเวลา 4 s จงหาว่าจะเกิดกำาลังขึ้นเท่าใด วิธีทำา จากสูตร P = W t = 400 4 = 100 W  จะมีกำาลังเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ 100 วัตต์ -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 5.3 พลังงาน 5.3.1 สูตรการหาพลังงานจลน์ Ek = 1 mv2 2
  • 11. Ex. วัตถุหนัก 20 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 10 m/s จะเกิดพลังงานจลน์เท่าใด วิธีทำา จากสูตร Ek = 1 mv2 2 = 20 (10) 2 2 = 1,000 J  พลังงานจลน์ที่เกิดจากการเคลื่อนที่มีค่าเท่ากับ 1,000 จูล -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 5.3.2 สูตรการหาพลังงานศักดิ์ยืดหยุ่น Ep = 1 kx2 2 Ex. ออกแรงดึงสปริงที่มีค่านิจสปริงเท่ากับ 100 N/m ซึ่งติดกับฝาผนัง จนกระทั้งสปริงยืดออกมาจากจุด สมดุล 1.0 m จงหาพลังงานศักดิ์ยืดหยุ่นที่เกิดขึ้น วิธีทำา จากสูตร Ep = 1 kx2 2 = 100 (1) 2 2 = 50 J  พลังงานศักดิ์ยืดหยุ่นที่เกิดจากการเคลื่อนที่มีค่าเท่ากับ 50 จูล -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 5.3.3 สูตรการหาพลังงานศักดิ์โน้มถ่วง Ep = mgh
  • 12. Ex. วัตถุมวล 20 kg วางอยู่บนพื้น ถ้ายกกล่องนี้ไป วางไว้บนระเบียง ที่มีความสูงจากพื้น 3 m จงหาว่าจะเกิด พลังงานศักดิ์โน้มถ่วงขึ้นเท่าไร วิธีทำา จากสูตร Ep = mgh = (20) (10) (3) = 600 J  พลังงานศักดิ์โน้มถ่วงที่เกิดจากการเคลื่อนที่มีค่า เท่ากับ 600 จูล -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 5.5 สูตรการหาประสิทธิภาพของเครื่องกล F = W1 (100) W2 Ex. เครื่องกลรับพลังงานเข้าไป 1,000 J หลังจาก นั้น เครื่องกลก็ได้สร้างพลังงานออกมา 750 J จงหา ประสิทธิภาพของเครื่องกล วิธีทำา จากสูตร F = W1 (100) W2 = 750 (100 ) 1000 = 75%  ประสิทธิภาพของเครื่องกลมีค่าเท่ากับ 75 เปอร์เซ็น -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- บทที่ 6 โมเมนตัมและการดล 6.1 สูตรการหาค่าการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม F = mv – mu Δt
  • 13. Ex. ใช้ค้อนมวล 5.0 kg ตอกกับตะปู ในขณะที่ค้อน กระทบกับตะปู ค้อนมีความเร็วเท่ากับ 10.0 m/s และตะปู ก็ส่งแรงสะท้อนเท่าเดิมกลับออกมา หากช่วงเวลาที่ค้อนกับ หัวตะปูกระทบกันมีค่าเท่ากับ 0.1 s จงหาแรงของการ เปลี่ยนแปลงโมเมนตัมที่ค้อนกระทำาต่อตะปู วิธีทำา จากสูตร F = mv - mu Δt = [5 (10)] - [5 (-10)] 0.1 = (50) - (-50) 0.1 = 10 N  แรงของการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมมีค่าเท่ากับ 10 นิว ตัน -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 6.2. สูตรหาค่าการดล FΔt = mv - mu Ex. ใช้ค้อนมวล 5.0 kg ตอกกับตะปู ในขณะที่ค้อน กระทบกับตะปู ค้อนมีความเร็วเท่ากับ 10.0 m/s และตะปู ก็ส่งแรงสะท้อนเท่าเดิมกลับออกมา จงหาแรงดลที่ค้อน กระทำาต่อตะปู วิธีทำา จากสูตร FΔt = mv - mu = [5 (10)] - [5 (-10)] = (50) - (-50) = 100 Ns  แรงดลมีค่าเท่ากับ 100 นิวตันวินาที -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 6.3 สูตรการหาค่าตัวแปร ในกรณีที่วัตถุชนกัน โดยไม่มีแรงเสียดทานเข้ามาเกี่ยวข้อง m1u1 - m2u2 = m1v1 – m2v2 Ex. ลูกแก้ว A มวล 10 kg กลิ้งด้วยความเร็ว 10 m/s เข้าชนกับลูกแก้ว B มวล 5 kg ซึ่งกำาลังลังกลิ้งไปใน
  • 14. ทิศทางเดียวกัน ด้วยความเร็ว 5 m/s หลังชน ลูกแก้ว A เหลือความเร็วเพียง 2 m/s อยากทราบว่า ลูกแก้ว B จะมี ความเร็วเท่าใด วิธีทำา จากสูตร m1u1 - m2u2 = m1v1 - m2v2 (10) (10) - (5) (5) = (10) (2) - 5v 100-25 = 20-5v 75-20 = -5v 5v = 55 v = 11 m/s  ความเร็วของลูกแก้ว B มีค่าเท่ากับ 11 เมตรต่อวินาที -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 6.4 สูตรการหาค่าตัวแปรความเร็ว กรณีวัตถุชนกัน โดยไม่มีแรงเสียดทานเกี่ยวข้อง และมวลทั้งสองมี มวลเท่ากัน u1+ v1 = u2+ v2 Ex. ลูกแก้ว A กลิ้งด้วยความเร็ว 10 m/s เข้าชนกับ ลูกแก้ว B ที่มีมวลเท่ากัน ซึ่งกำาลังลังกลิ้งไปในทิศทาง เดียวกัน ด้วยความเร็ว 5 m/s หลังชน ลูกแก้ว A เหลือ ความเร็วเพียง 2 m/s อยากทราบว่า ลูกแก้ว B จะมี ความเร็วเท่าใด วิธีทำา จากสูตร u1+ v1 = u2+ v2 10 + 2 = 5+ v2 v2 = 12-5 = 7 m/s  ความเร็วของลูกแก้ว B มีค่าเท่ากับ 7 เมตรต่อวินาที -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*- 6.5 สูตรการหา v2 ในกรณี ที่วัตถุชนกัน ไม่มีแรง เสียดทาน และ u2 = 0 v2 = 2 m 1u1 m1+ m2
  • 15. Ex. ลูกแก้ว A มวล 10 kg กลิ้งด้วยความเร็ว 15 m/s เข้าชนกับลูกแก้ว B ที่มีมวล 5 kg ซึ่งอยู่นิ่ง หลังชน ลูกแก้ว B จะมีความเร็วเท่าใด วิธีทำา จากสูตร v2 = 2 m 1u1 m1+ m2 = 2 (15) (10) 15+5 = 300 20 = 60 m/s  ความเร็วของลูกแก้ว B มีค่าเท่ากับ 60 เมตรต่อวินาที -*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-